Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book2

E-book2

Published by Naowarat_2514, 2020-05-17 11:52:39

Description: E-book2

Search

Read the Text Version

ประวตั สิ งั คมและศลิ ปวฒั นธรรมไทย

ความรทู้ ่ัวไปเกยี่ วกับศลิ ปวฒั นธรรมไทย ความหมายของศลิ ปวฒั นธรรม วิถีการดาเนินชีวิต ท่ีมนุษย์สร้างขึ้นมาน่ันเอง ไม่ว่าจะเป็นการละเล่น การแสดง การร้องเพลง พฤตกิ รรม และบรรดาผลงานทัง้ มวลทมี่ นษุ ย์ได้สร้างสรรค์ขึ้นมา ไม่วา่ จะเปน็ งานด้านจิตกรรม สถาปตั ยกรรม ตลอดจนความคิด ความเชื่อ ความรู้ ลักษณะที่แสดงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบความรู้สึก ความ ประพฤติและกิริยาอาการ หรือการกระทาใด ๆ ของมนุษย์ในส่วนรวม ลงรูปเป็นพิมพ์เดียวกันและสาแดง ออกมาให้ปรากฏเป็นภาษา ศิลปะ ความเชื่อถือ ระเบียบ ประเพณี ความกลมเกลียว ความก้าวหน้าของชาติ และศีลธรรมอันดีงามของประชาชน ซึ่งวัฒนธรรมของคนแต่ละภาคในประเทศไทยก็มีความเหมือนและ แตกต่างกันบ้างตามแต่ละพื้นที่ของประเทศไทย รวมท้ังการสืบทอดหรอื อาจมีการดัดแปลงบา้ งเพ่อื ให้มีความ เป็นสมยั นยิ มมากขน้ึ รวมทั้งสามารถประพฤตปิ ฏบิ ัตกิ ันไดอ้ ยา่ งท่ัวถึงดว้ ยนั้นเอง พระราชบัญญตั ิวฒั นธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2485 (2553, หน้าที่ 30) ได้ให้ความหมายของ วัฒนธรรม หมายถึง วัฒนธรรมทางวัตถุ ท่ีสามารถจับต้องได้สัมผัสได้ เช่น บ้านเรือน อาหาร เครื่องแต่งกาย เครื่องมือ เครือ่ งใช้ และเคร่ืองอานวยความสะดวก บทความออนไลน์, http://www.openbase.in.th/node/5954 ศาสตราจารย์ประเวศ วะสี ได้ให้ ความหมายของ วัฒนธรรม คือ พลังของสังคมทางภูมิปัญญา เพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจ จิตใจ การเมือง สังคม สงิ่ แวดล้อมพรอ้ มกันไป บทความออนไลน์, http://www.openbase.in.th/node/5954 นิคม มุสิกะคามะ ได้ให้ความหมาย ของ วัฒนธรรม คือวิถีชีวิตของคน เกิดจากกระบวนการอันซับซ้อนทางสังคมหรือกลุ่มชน โดยรวมเอามิติ ทางด้านจติ ใจ วัตถุ ภูมปิ ญั ญาและอารมณ์เข้าไว้ด้วยกนั จนเป็นรปู แบบเอกลักษณ์ของสงั คมนนั้ มใิ ช่เพยี งเรื่อง ของศลิ ปะและวรรณกรรม หากหมายรวมถงึ สิทธิมนุษยชนขน้ั พนื้ ฐาน ระบบคา่ นยิ ม ตลอดจนขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี และความเชอ่ื ต่างๆ บทความออนไลน์, http://www.openbase.in.th/node/5954 จอมพลป. พิบูลสงคราม ได้ให้ ความหมายของ วัฒนธรรม คอื เป็นเครือ่ งแสดงใหเ้ หน็ ความเจริญงอกงามใหญห่ ลวงของชาติ วฒั นธรรมเป็นส่ิง สาคญั มาก วฒั นธรรมไมเ่ ปน็ แค่เคร่ืองหมายภายนอก ไม่เป็นแคเ่ พียงสิง่ ซงึ่ อวดโลกว่าเปน็ ชนชาตเิ จริญเท่านั้น วัฒนธรรมมีผลลึกซึ้งเข้าไปถึงชีวิตจิตใจคน วัฒนธรรมเป็นเคร่ืองผดุงศีลธรรม เป็นปัจจัยแห่งความเจริญงอก งาม และความแข็งแรงมน่ั คงของชาติบ้านเมือง บทความออนไลน์, http://www.openbase.in.th/node/5954 พระยาอนุมานราชธน ได้ให้ ความหมายของ วัฒนธรรม คอื สิ่งที่มนุษย์เปล่ียนแปลงปรับปรุงหรือผลิตข้ึน สรา้ งข้นึ เพ่อื ความเจริญงอกงาม ในวิถีของส่วนรวม ถ่ายทอดกันไว้ เอาอย่างกันไว้ รวมทั้งผลิตผลของส่วนรวมท่ีมนุษย์ได้เรียนรู้มาจากคนแต่ ก่อนสืบต่อเป็นประเพณีกันมา ตลอดจนความรู้สึก ความคิดเห็น และกิริยาอาการ หรือการกระทาใดๆของ มนุษย์ในส่วนรวมลงรูปเป็นพิมพ์เดียวกัน และสาแดงออกมาได้ปรากฏเป็นภาษา ศิลปะ ความเชื่อ ระเบียบ ประเพณี ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่า ศิลปวัฒนธรรมไทย หมายถึง สิ่งท่ีมนุษย์สร้างขึ้นมาน่ันเอง ไม่ว่าจะเป็น การละเลน่ การแสดง การรอ้ งเพลง พฤติกรรม และบรรดาผลงานทัง้ มวลทมี่ นษุ ย์ได้สรา้ งสรรคข์ ึ้น ไม่ว่าจะเป็น งานดา้ นจติ กรรม สถาปัตยกรรม ตลอดจนความคดิ ความเช่ือ ความรู้ ลกั ษณะท่แี สดงความเจรญิ งอกงาม ความ ประพฤติและกิริยาอาการวัฒนธรรมท่มี นษุ ย์ปรับปรุงเปลีย่ นแปลงหรือผลิตขน้ึ

ลักษณะของวฒั นธรรมไทย ความหมายของวัฒนธรรมมีหลายอย่าง เช่น หมายถึง ขนบธรรมเนียมประเพณี สง่ิ ท่ดี ีงาม ส่ิงท่ไี ด้รับการปรุงแต่งให้ดีแล้ว หรือส่ิงท่ีได้รบั การยอมรบั และยกย่องมาเป็นระยะเวลายาวนานแล้ว เช่น ค่านิยม ความคดิ เหน็ วิทยาการตา่ ง ๆ วัฒนธรรมไทยในแต่ละท้องถ่ิน จะมีความคล้ายคลึงและ แตกต่างกันไปข้ึนอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ และยังมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา ท้ังน้ีเป็นเพราะมีการเปล่ียนแปลงทางด้านสังคม ภาพท่ี 2.1 : วฒั นธรรมไทย เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง และการดาเนนิ ชีวิตของคนไทยอยู่ ทมี่ า : http://www.asean-info.com ตลอดเวลา วนั ท่ีสบื ค้น : 1 ธ.ค. 59 ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีมีวัฒนธรรมเก่าแก่สืบสานต่อ กันมาเป็นเวลายาวนาน มีวัฒนธรรมหลักท่ีถือว่าเป็นวัฒนธรรมประจาชาติไทย และแสดงให้เห็นถึงความเป็น ไทย ไดแ้ ก่ 1. ศาสนา คนไทยสว่ นใหญ่นับถือพระพุทธศาสนา แตก่ ม็ ไิ ด้กดี กันผทู้ ี่นับถือศาสนาอนื่ แตอ่ ย่างใด 2. ภาษา คนไทยมีภาษาและตัวอักษรไทย ซ่ึงพ่อขุนรามคาแหงได้ประดิษฐ์ขึ้น ในสมัยสุโขทัยเมื่อ พ.ศ. 1826 3. ประเพณไี ทย เป็นส่ิงท่แี สดงถึงวิถชี ีวิตของคนไทยทเ่ี คยปฏิบัติสืบเน่ืองกนั มาต้งั แตบ่ รรพบรุ ุษ และ ได้สืบทอดกันมาจนถึงลูกหลาน ที่เรียกกันวา่ ขนบธรรมเนียมประเพณีน่ันเอง เช่น การไหว้ การเซ่นไหวบ้ รรพ บุรุษ เปน็ ต้น สงั คมไทยประกอบดว้ ยผู้คนหลายเช้อื ชาติ ศาสนา และสภาพแวดลอ้ มทางภูมิศาสตร์ในแต่ละท้องถ่ิน กม็ ีความแตกตา่ งกนั ออกไป วัฒนธรรมของผู้คนจึงมคี วามแตกตา่ งกันออกไปในระดบั ตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1. วัฒนธรรมในระดับภูมิภาคของสังคมไทย แบ่งตามลักษณะทางภูมิศาสตร์ เป็น 4 ภาคใหญ่ ๆ ได้ ดังน้ี วัฒนธรรมท้องถ่ินภาคเหนือ เป็นภูมิภาคท่ีมีเอกลักษณ์ที่มคี วามโดดเด่นในด้านวัฒนธรรมท้องถ่ินของตน เช่น ประเพณีตานกว๋ ยสลาก ประเพณปี อยหลวง การกนิ ขนั โตก พิธสี บื ชะตาเมือง เป็นตน้ วัฒนธรรมทอ้ งถิน่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน) เปน็ ศนู ย์รวมวฒั นธรรมทเ่ี กา่ แก่ มีวฒั นธรรม ประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์สาคัญ เช่น ประเพณีบุญบั้งไฟ ประเพณีไหลเรือไฟ ประเพณีผีตาโขน ประเพณีแห่ ปราสาทผงึ้ และหมอลา เปน็ ตน้ วัฒนธรรมท้องถ่ินภาคกลาง เน่ืองจากอยู่บริเวณท่ีราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา จึงมีชีวิตผูกพันอยู่กับ การเกษตรเป็นสว่ นใหญ่ และมีวฒั นธรรมทอ้ งถ่ินท่ีสาคัญ เช่น ประเพณที าขวัญข้าว การบชู าแมโ่ พสพ การลง แขกเก่ยี วข้าวและลาตดั เปน็ ตน้

วัฒนธรรมท้องถ่ินภาคใต้ ประชากรมีความแตกต่างกันทางด้านศาสนาเป็นกลุ่ม ๆ มีการผสมผสาน ทางวัฒนธรรมประเพณี จงึ มวี ฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ ท่ีเปน็ เอกลักษณเ์ ฉพาะภาค เชน่ ประเพณกี ารชกั พระ ประเพณี แหผ่ ้าข้นึ ธาตุ การเตน้ รองเง็ง หนงั ตะลุง และรามโนราห์ เปน็ ต้น 2. วฒั นธรรมพื้นบา้ นของสงั คมไทย วฒั นธรรมพืน้ บา้ นเปน็ วถิ ีชีวิตการดาเนนิ ชีวติ ของชาวบ้าน ซ่ึงในแต่ละท้องถนิ่ จะสบื ทอดกันมาดว้ ยการพูดจา บอกเล่า สง่ั สอน หรือทาให้ดูเป็นตัวอย่างเป็นเร่ือง ท่ีเก่ียวกั บการ ดาเ นิน ชีวิตประจาวันและการรวมกลุ่ม รวมพลังกันทากิจกรรมต่าง ๆ ท่เี ก่ียวกบั ชวี ิตประจาวันตามความเช่ือนัน้ ๆ สามารถอธบิ ายได้ดงั น้ี มุขปาฐะต่าง ๆ เช่น ตานานหรือนิทานพ้ืนบ้าน สุภาษิต ภาพท่ี 2.2 : วัฒนธรรมพืน้ บา้ นของสังคมไทย ที่ถอื เป็นคติสอนใจการดาเนนิ ชวี ิต คาพงั เพย ปรศิ นาคาทาย เพลง พื้นบ้านและการละเล่นพ้ืนบ้านต่าง ๆ ซ่ึงมักจะเป็นเอกลักษณ์ ทีม่ า : http://storysomething14.blogspot.com ของภูมปิ ญั ญาชาวบ้านในแต่ละท้องถนิ่ วนั ท่สี ืบคน้ : 1 ธ.ค. 59 ความเช่ือ ประเพณี และพิธีกรรม ความเช่ือมีทั้งความเช่ือ ดั้งเดิมที่ถ่ายทอดสืบต่อกันมา เช่น การนับถือผี เป็นต้น และความ เช่ือท่ีมีเหตุผลตามหลักคาสอนของพระพุทธศาสนา ปัจจุบันมัก เป็นแบบผสมผสานร่วมกัน หัตถกรรมพื้นบ้าน เป็นงานท่ีเกิดจากการสร้างสรรค์หรือ ประดิษฐ์สิ่งของเคร่ืองใช้ในชีวติ ประจาวนั จากวัสดุที่มอี ยู่ในท้องถิ่น ภาพที่ 2.3 : หตั ถกรรมพื้นบ้าน ของตน ในแต่ละท้องถ่ินย่อมแตกต่างกันไป ท้ังด้านการใช้วัสดุ ที่มา : http://www.aseanesc.deqp.go.th/ เทคนิคและการถ่ายทอดสืบต่อกัน เช่น งานจักสาน งานถักทอ วันทีส่ บื คน้ : 1 ธ.ค. 59 งานปน้ั งานแกะสลัก และงานวาดภาพ เป็นต้น ภาษาไทยพ้ืนบ้าน คนไทยทุกภาคส่วนใหญ่ใช้ภาษาไทยเป็นปกติแต่มีสาเนียง และการใช้คาแตกต่าง กันมากนอ้ ยแต่ละท้องถิน่ ซึง่ อาจได้รบั อิทธพิ ลจากวัฒนธรรมใกล้เคียงด้วยภาษาไทยพน้ื บ้านท่ีใชก้ ันอยู่ในกลุ่ม ท้องถน่ิ ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ภาษาล้านนา ภาษาไทยใหญ่ ภาษาไทยอีสาน ภาษาไทยภูเขา วั ฒ น ธ ร รมในระ ดั บภูมิภาคและ พื้นบ้านขอ งไทย มีคว ามสาคั ญ ที่ ชาวไทย ทุ ก คนคว รช่ วย กั น ฟ้ืนฟู ปรบั ปรงุ ใหเ้ หมาะสมและสอดคลอ้ งกบั การพัฒนาของประเทศชาตเิ พ่อื เป็นเอกลกั ษณ์คูก่ บั ชาตไิ ทยสืบไป วัฒนธรรมมาจากการสร้างสรรค์ของมนุษยชาติ ซ่ึงในแต่ละท้องถ่ินย่อมมีความแตกต่างกันไปตาม ปจั จยั ตา่ ง ๆ ดังน้นั เราจงึ ไมค่ วรดูถูกวัฒนธรรมของชาติอืน่ ประเภทของศิลปวัฒนธรรมไทย โดยท่วั ไปแล้วมกั จะแบง่ วัฒนธรรมออกเปน็ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คอื 1. วัฒนธรรมที่เป็นวัตถุ ซึ่งได้แก่สิ่งประดิษฐ์และเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่มนุษย์คิดค้นผลิตขึ้นมา เช่น ส่งิ กอ่ สร้าง อาคารบา้ นเรือน อาวุธยุทโธปกรณ์ เครือ่ งอานวยความสะดวกตา่ ง ๆ เป็นตน้ 2. วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ หมายถึง อุดมการณ์ ค่านิยม แนวคิด ภาษา ความเชื่อทางศาสนา ขนบธรรมเนยี มประเพณี ลัทธิการเมอื ง กฎหมาย วิธกี ารกระทา และแบบแผนในการดาเนนิ ชีวิต ซงึ่ มลี กั ษณะ เปน็ นามธรรมทม่ี องเหน็ ไม่ได้

การแบ่งประเภทของวัฒนธรรมออกเป็น 2 ประเภท ดังกล่าวข้างต้น นักสังคมวิทยาบางท่านเห็นว่า แนวคิดที่เกี่ยวกบั วัฒนธรรมทไี่ ม่ใชว่ ัตถนุ ้ันคลมุ เครอื จึงได้แบ่งวัฒนธรรมออกเปน็ 3 ประเภท ดังนี้ คือ วฒั นธรรมทางวตั ถุ ได้แก่ วตั ถสุ ิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ ทีม่ นษุ ยส์ รา้ งข้ึนเพ่ือนามาใช้ในสงั คม เช่น ทีอ่ ยู่ อาศยั อาหาร เสอื้ ผา้ ยารักษาโรค วัฒนธรรมความคิด หมายถึง วัฒนธรรมที่เก่ียวกับความรู้สึกนึกคิด ทัศนคติ ความเชื่อต่าง ๆ เช่น ความเช่ือในเรื่องตายแล้วเกิดใหม่ ความเชื่อในเรื่องกฎแห่งกรรม การเชื่อถือโชคลาง ตลอดจนเร่ืองลึกลับ นยิ ายปรัมปรา วรรณคดี สุภาษิต และอดุ มการณต์ า่ ง ๆ เป็นต้น วัฒนธรรมด้านบรรทัดฐาน เป็นเร่ืองของการประพฤติปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนที่สังคมกาหนด เอาไว้ ไมว่ า่ จะเปน็ ลายลักษณอ์ กั ษรหรือไมเ่ ป็นลายลกั ษณ์อักษรกต็ าม ซึง่ แบง่ ออกเป็นประเภทยอ่ ย ๆ ดงั นี้ วฒั นธรรมทางสงั คม เป็นวัฒนธรรมท่ีเก่ียวกับความประพฤติ หรือมารยาททางสงั คม เชน่ การไหว้ กา จบั มือทักทาย การเข้าแถว การแตง่ ชุดดาไปงานศพ เปน็ ต้น วัฒนธรรมท่ีเกี่ยวข้องกับกฎหมาย เป็นวัฒนธรรมที่ก่อให้เกิดความเป็นระเบียบและกฎเกณฑ์เพ่ือให้ คนในสงั คมอยูด่ ้วยกนั อยา่ งมคี วามสุข วัฒนธรรมท่เี ก่ียวกบั จติ ใจและศลี ธรรม วฒั นธรรมประเภทนใ้ี ชเ้ ปน็ แนวทางในการดาเนินชีวติ ในสังคม เช่น ความซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ ความเมตตากรุณา ความเอื้อเฟอ้ื เผ่ือแผ่ เปน็ ต้น ตามพระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ ปีพุทธศักราช 2485 ได้แบ่งประเภทวัฒนธรรมออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ คติธรรม คือวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับหลักในการดารงชีวิตส่วนใหญ่เป็นเร่ืองของจิตใจ และได้มาจาก ศาสนา ใชเ้ ปน็ แนวทางในการดาเนนิ ชีวิตของสังคม เช่น ความเสียสละ ความขยัน หมนั่ เพยี ร การประหยดั อด ออม ความกตญั ญู ความอดทน ทาดีไดด้ ี เปน็ ตน้ เนติธรรม คอื วัฒนธรรมทางกฎหมาย รวมทั้งระเบียบประเพณีทย่ี อมรับนับถอื กันว่ามีความสาคัญพอ ๆ กบั กฎหมาย เพ่อื ให้คนในสงั คมอยรู่ ่วมกันอย่างมีความสุข สหธรรม คือ วัฒนธรรมทางสงั คม รวมทงั้ มารยาทต่าง ๆ ทจ่ี ะตดิ ตอ่ เก่ียวข้องกับสังคม เช่น มารยาท ในการรับประทานอาหาร มารยาทในการตดิ ตอ่ กับบคุ คลตา่ ง ๆ ในสงั คม วัตถุธรรม คอื วัฒนธรรมทางงวตั ถุ เช่น เคร่ืองนงุ่ หม่ ยารักษาโรค บา้ นเรือน อาคารส่ิงกอ่ สรา้ งต่าง ๆ สะพาน ถนน รถยนต์ เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ เปน็ ตน้ ปัจจุบันเพ่ือสะดวกแก่การศึกษาและส่งเสริมวัฒนธรรม สานักงานคณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาติ ได้แบง่ ออกเปน็ 5 สาขา คือ สาขามนุษย์ศาสตร์ ได้แก่ ขนบธรรมประเพณี คุณธรรม ศีลธรรม ศาสนา ปรัชญา ประวัติศาสตร์ โบราณคดี มารยาทในสังคม การปกครอง กฎหมาย เป็นต้น

สาขาศิลปะ ได้แก่ ภาษา วรรณคดี ดนตรี นาฏศิลป์ วิจิตร ภาพท่ี 2.4 : ภาพจิตรกรรม ศิลป์ สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จติ รกรรม เปน็ ต้น ที่มา : https://sites.google.com/site/ploymoay/ สาขาช่างฝีมือ ได้แก่ การเย็บปักถักร้อย การแกะสลัก การทอผ้า การจักสาน การทาเครื่องเขนิ การทาเครื่องเงนิ เครอ่ื งทอง วันทีส่ บื ค้น : 1 ธ.ค. 59 การจดั ดอกไม้ การประดษิ ฐ์ การทาเครอื่ งป้ันดนิ เผา เป็นตน้ สาขาคหกรรมศิลป์ ได้แก่ ความรู้เร่ืองอาหาร การประกอบ อาหาร ความรู้เรื่องการแต่งกาย การอบรมเลี้ยงดูเด็ก การดูแล บ้านเรือนที่อยู่อาศัย ความรู้เรื่องยา การรู้จักใช้ยา ความรู้ในการอยู่ รวมกนั เป็นครอบครัว เป็นต้น สาขากีฬาและนันทนาการ ได้แก่ การละเล่น มวยไทย ฟัน ดาบสอบมือ กระบก่ี ระบอง การเลย้ี งนกเขา ไมด้ ัดตา่ ง ๆ เป็นตน้ พัฒนาการของศลิ ปวัฒนธรรมไทย พฒั นาการของศิลปวฒั นธรรมไทย อาณาจกั รทวารวดี เป็นอาณาจกั รท่ีตั้งอยู่ในบริเวณท่รี าบลุ่มแมน่ ้าเจ้าพระยา ต้งั ข้ึนราวพุทธศตวรรษ ท่ี 12-16 มีศูนย์กลางอยู่บริเวณนครปฐม สุพรรณบุรี ราชบุรี มีความเจริญ ทางการค้า ศิลปวัฒนธรรม และ พุทธศาสนา เช่น วงลอ้ พระธรรมจักร และกวางหมอบท่ีพระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม อาณาจักรโคตรบูร เป็นอาณาจักรอยู่ที่บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งข้ึนราวพุทธศตวรรษ ที่ 11-15 มีศูนย์กลางอยู่ที่นครพนมมีวฒั นธรรมประเพณีแบบอนิ เดีย นับถือพระพทุ ธศาสนานิกายหินยาน (เถร วาท) โบราณสถานทางพระพทุ ธศาสนา คือ พระธาตุพนม อาณาจักรศรีวิชัย เป็นอาณาจักรอยู่ในภาคใต้ ตั้งข้ึนราวพุทธศตวรรษท่ี 12-17 มีศูนย์กลางอยู่ที่ อาเภอไชยา จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ลงไปจนจดแหลมมลายู เปน็ อาณาจกั รทเ่ี ปน็ ศนู ย์กลาง การค้าขายทางทะเล มคี วามเจรญิ ร่งุ เรืองทั้งทางพระพุทธศาสนา เป็นอาณาจักรอยู่ในภาคเหนือ ต้ังขึ้นในราวพุทธศตวรรษท่ี 18 มีความเจริญทางศิลปวิทยาการ มีตวั หนังสือของตนเองใช้เรียกว่า \"อักษรไทยยวน (ไทยโยนก)\" เป็นศนู ย์กลางพระพทุ ธศาสนา อาณาจักรละโว้หรืออาณาจักรลพบุรี เป็นอาณาจักร ทต่ี ัง้ อยูบ่ รเิ วณลุ่มแม่น้าเจา้ พระยาตัง้ ขนึ้ ราวพุทธศตวรรษท่ี 13 มี ความเจริญรุ่งเรืองด้านพระพุทธศาสนา ได้รับเอาศิลปวัฒนธรรม ภาพท่ี 2.5 : พระปรางค์สามยอด แบบขอมเข้ามาผสมผสานเปน็ ลักษณะเฉพาะของลพบุรี เช่น พระ ท่มี า : เนาวรัตน์ ทองโสภา ปรางค์สามยอด ลพบุรี วันที่ : 11 ธ.ค. 59 อาณาจักรตามพรลิงค์หรือนครศรีธรรมราช เป็น อาณาจักรที่ต้ังอยู่ทางภาคใต้ของประเทศไทย ต้ังขึ้นในราวพุทธ ศตวรรษที่ 13-14 เป็นศูนย์กลางการค้า และการปกครองแล้ว ยัง มีความเจรญิ รุ่งเรืองทางด้านพระพทุ ธศาสนา อาณาจกั รหริภญุ ชยั เป็นอาณาจกั รอยู่ทางภาคเหนอื ของ ประเทศไทย ตั้งข้ึนในราวพุทธศตวรรษท่ี 13-14 เป็นศูนย์กลาง พระพุทธศาสนาทางภาคเหนือ

อาณาจกั รสุโขทยั การกอ่ ตั้งกรุงสโุ ขทัย อาณาจักรสุโขทัยกอ่ ต้ังข้ึนประมาณ พ.ศ. 1780 พ่อขุนศรอี ินทราทติ ย์ ทรงพระ นามเดมิ วา่ พ่อขนุ บางกลางหาว ทรงสถาปนาสุโขทัยขนึ้ มา สรา้ งความเปน็ ปึกแผ่นให้กบั ชนชาติไทย โดยขยาย เขตการปกครองออกไปอย่างกว้างขวาง สุโขทัยเป็นราชอาณาจักรของชาติไทย อยู่ประมาณ 200 ปี จึงถูก รวมเข้าเป็นสว่ นหนึ่งของอาณาจกั รอยุธยา เม่อื พ.ศ. 1981 กษัตริย์ของกรงุ สโุ ขทัย 1. พ่อขนุ ศรีอนิ ทราทิตย์ 2. พ่อขนุ บานเมอื ง 3. พ่อขนุ รามคาแหง 4. พระยาเลอไทย 5. พระยาง่ัวนาถม 6. พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลไิ ทย) 7. พระมหาธรรมราชาที่ 2 ภาพท่ี 2.6 : อาณาจกั รสโุ ขทัย 8. พระมหาธรรมราชาท่ี 3 (ไสยลือไทย) ทีม่ า : https://pantip.com 9. พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล) วันทสี่ ืบคน้ : 3 ธ.ค. 59 การปกครองกรงุ สโุ ขทัย 1. แบบพ่อปกครองลูก พระมหากษัตริย์กับประชาชนมีความใกล้ชิดแบบเครือญาติ เรียก พระมหากษัตริยว์ ่า พอ่ ขนุ 2. แบบธรรมราชา พระมหากษัตริย์ เป็นแบบอย่างของธรรมราชา เรียกพระมหากษัตริย์ว่าพระมหาธรรม ราชา การจดั รูปแบบการปกครอง 1. การปกครองราชธานี กรุงสโุ ขทัยเปน็ ศูนยก์ ลางการปกครองในอาณาจกั ร 2. การปกครองสว่ นภูมิภาค เป็นการปกครองเมืองต่าง ๆ ท่ีอยนู่ อกเมืองหลวงออกไปแบ่งออกเปน็ 3 ประเภท 2.1 หัวเมอื งชั้นใน (เมอื งลูกหลวงหรอื เมอื งหนา้ ดา่ น) เป็นเมอื งทต่ี งั้ อยู่รอบราชธานีทงั้ 4 ทิศ 2.2 หัวเมืองชั้นนอก (เมืองพระยามหานคร) อยู่ไกลจากราชธานีมากกว่าเมืองลูกหลวง กษัตรยิ ์ทรงแต่งต้งั พระราชวงศห์ รอื ขุนนางชัน้ สงู ไปปกครองดูแลดนิ แดน 2.3 หัวเมืองประเทศราช เป็นเมืองที่อยู่ไกลราชธานีออกไปมาก เป็นเมืองของคนต่างชาติ ต่างภาษา ทอ่ี ยใู่ ต้การปกครองของสุโขทยั เศรษฐกจิ สมัยสโุ ขทยั 1. เกษตรกรรม การเพาะปลูกเป็นอาชีพหลักของประชาชน ประชาชนท่ีดินทากินเป็นของตนเอง มรี ะบบชลประทานเขา้ ช่วยในการทาการเกษตร

2. หัตถกรรม เครอ่ื งสังคโลก เปน็ สนิ คา้ สง่ ออกไปขายยัง ตา่ งประเทศ 3. พาณิชยกรรม ระบบการค้าแบบเสรีไม่เก็บภาษี เงินตรา คอื เงนิ พดด้วง แบ่งออกเปน็ สลึง บาท และตาลงึ ความเจริญทางศลิ ปวัฒนธรรม 1. ขนบประเพณี เป็นประเพณีที่เกี่ยวกับพุทธศาสนา เช่น ประเพณีการบวช ทอดกฐินการสร้างวดั เป็นต้น ภาพท่ี 2.7 : เครอ่ื งสงั คโลก 2. ศาสนา พระพทุ ธศาสนานิกายเถรวาท (หินยาน) ลัทธิ ที่มา : https://www.sanook.com/travel ลงั กาวงศ์ เปน็ ศาสนาประจาชาติ วันทส่ี ืบค้น : 3 ธ.ค. 59 3. ศิลปกรรม ส่วนใหญ่สร้างขึ้นด้วยความศรัทธาใน พระพทุ ธศาสนา สถาปัตยกรรมท่สี าคัญ คอื เจดยี ท์ รงกลมตามแบบอยา่ งลงั กา เจดยี ท์ รงพุ่มขา้ วบิณฑ์ หรอื ดอกบวั ตูม 4. ภาษา และวรรณคดี พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ได้ประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นเป็นคร้ังแรก ใน พ.ศ. 1826 ความสมั พนั ธก์ ับต่างประเทศ 1. ความสัมพันธก์ ับลา้ นนา และอาณาจักรพะเยา เปน็ ไมตรีกนั ตลอดมา 2. ความสัมพันธ์กับอาณาจักรมอญ มอญสวามิภักดิ์ต่อสุโขทัย ในสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช เพราะทรงสนับสนุนมะกะโทราชบุตรเขยเปน็ กษัตรยิ ์ 3. ความสัมพันธ์กับอาณาจักรนครศรีธรรมราช สุโขทัยรับเอาพุทธศาสนา นิกายเถรวาท ลัทธิ ลังกาวงศ์ มาจากลังกา โดยผ่านเมอื งนครศรธี รรมราช 4. ความสัมพันธ์กับลังกา สุโขทัยมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับลังกา ลังกาได้ถวายพระพทุ ธ สิหงิ คแ์ กส่ โุ ขทยั 5. ความสัมพันธ์กับจีน สุโขทัยทาการค้ากับจีนมาเป็นเวลานาน จีนได้ส่งคณะทูต เข้ามาเจริญ สมั พนั ธไมตรกี ับไทย ซ่งึ เป็นประโยชน์กับไทยทั้งการเมือง และการค้า ความเส่ือมของกรุงสโุ ขทัย 1. การแยง่ ชงิ ราชสมบัตริ ะหว่างเชือ้ พระวงศข์ องสุโขทยั ทาใหอ้ านาจการปกครองออ่ นแอลง 2. พระมหากษัตริย์ของสุโขทัยสมัยต่อมา ทรงสนพระทัยทางด้านศาสนามากกว่าการป้องกัน ประเทศ

3. อาณาจักรอยุธยา สถาปนาข้ึนทางตอนใต้ มีความ ภาพท่ี 2.8 : อาณาจักรกรงุ ศรอี ยุธยา เข้มแข็งมากข้ึน จงึ ผนวกอาณาจกั รสโุ ขทยั เป็นอาณาเขตเดียวกนั ทมี่ า : https://www.dotproperty.co.th อาณาจักรกรุงศรีอยธุ ยา วันทสี่ บื คน้ : 3 ธ.ค. 59 อาณาจักรสุโขทัยเส่ือมอานาจลงน้ัน พระเจ้าอู่ทองผู้นา คนไทยท่ีอยู่บริเวณตอนล่างของแม่น้าเจ้าพระยา พระองค์ได รวบรวมผคู้ นก่อตัง้ ราชธานขี น้ึ ที่บรเิ วณหนองโสน หรือบงึ พระราม ปัจจุบันอยูใ่ นเขตอาเภอเมอื ง จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา การปกครองในสมยั อยุธยา ภายหลังจากที่พระเจ้าอู่ทอง (พระรามาธิบดีท่ี 1) สถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีแล้วระหว่างปี พ.ศ. 1983 จนถึง พ.ศ. 2310 เป็นเวลา 417 ปี มีพระมหากษัตริย์ท้ังส้ิน 34 พระองค์ มี 5 ราชวงศ์คือ 1. ราชวงศอ์ ทู่ อง (พ.ศ. 1893 ถงึ พ.ศ. 1952) 2. ราชวงศส์ พุ รรณภมู ิ (พ.ศ. 1952 ถงึ พ.ศ. 2112) 3. ราชวงศ์สโุ ขทัย (พ.ศ. 2112 ถึง พ.ศ. 2172) 4. ราชวงศ์ปราสาททอง (พ.ศ. 2172 ถงึ พ.ศ. 2231) 5. ราชวงศบ์ ้านพลูหลวง (พ.ศ. 2231 ถงึ พ.ศ. 2310) รูปแบบการปกครองในสมัยพระเจ้าอู่ทอง ถึง พระเจ้า ภาพท่ี 2.9 : พระราชวงั นารายณ์ราชนิเวศน์ สามพระยา ทม่ี า : เนาวรัตน์ ทองโสภา วนั ทส่ี บื ค้น : 13 ธ.ค. 59 1. การปกครองสว่ นกลาง (ภายในราชธานี) เป็น แบบจตสุ ดมภ์ คือ เวียง วงั คลงั นา 2. การปกครองส่วนภูมิภาค แบง่ ออกเปน็ 4 สว่ น คอื เมืองหนา้ ด่าน หวั เมืองชั้นใน หัวเมอื งชั้นนอก หัวเมอื งประเทศราช การปกครองสมัยพระบรมไตรโลกนาถ 1. การปกครองส่วนกลาง แบง่ ออกเป็น สมหุ กลาโหม และสมุหนายก 2. การปกครองส่วนภูมิภาค แบง่ ออกเป็นหัวเมอื งชน้ั ใน หวั เมอื งชั้นนอก เมอื งประเทศราช ลกั ษณะสงั คมสมัยอยุธยา 1. พระมหากษัตริย์ ทรงดารงตาแหน่งสูงสุดในสังคม ทรงมีพระราชอานาจเดด็ ขาด 2. เจ้านาย เปน็ ชนชนั้ สูงถัดจากพระมหากษตั ริยล์ งมา 3. ขุนนางหรือข้าราชการ จะมีศักดินาตามตาแหน่ง และความรบั ผดิ ชอบของตนลดหลั่นลงไป 4. ไพร่ คือ ประชาชนส่วนใหญข่ องประเทศ ตามกฎหมายนน้ั ชายฉกรรจ์ทกุ คน ที่อยใู่ นฐานะ ไพร่ จะตอ้ งไปขึ้นทะเบยี นสงั กัดมูลนาย 5. พระสงฆ์ มีความสาคัญต่อสังคมมาก พระสงฆ์ยังเป็นตัวกลางเช่ือมโยงชนชั้นปกครองกบั ชนช้ันใต้การปกครองให้เขา้ กันได้โดยอาศัยวัดเป็นศนู ย์กลาง 6. ทาส เป็นบุคคลระดับต่าในสังคมอยธุ ยา ไมม่ ีอิสระตกเปน็ สมบัติของนายเงิน

สภาพทางเศรษฐกิจสมัยอยธุ ยา เศรษฐกจิ สมัยอยุธยาขน้ึ อย่กู ับการเกษตรกรรม คือ การทานา และพชื ผลอืน่ ๆ รายได้ของแผ่นดิน 1. จงั กอบ คือ ภาษีผา่ นด่านทง้ั ทางบก และทางน้า 2. อากร คือ การเก็บผลประโยชน์จากการประกอบอาชพี ของราษฎร 3. ฤชา คือ ค่าธรรมเนียม ซงึ่ เรียกเก็บจากราษฎร ทม่ี าใช้บรกิ ารของรัฐ เช่นคา่ ธรรมเนียมใน การออกโฉนดตราสาร หรือค่าปรบั ท่เี รยี กเก็บจากฝ่ายแพค้ ดคี วาม 4. ส่วย คอื สง่ิ ของหรือเงินทดแทนแรงงานจากไพรท่ ่ไี ม่ไดม้ าเข้าเวรรับราชการ 5. การคา้ กับตา่ งประเทศ นอกจากการเก็บภาษีอากรภายในประเทศแลว้ กรมพระคลัง ยังมี รายไดจ้ ากการเกบ็ ภาษกี ารคา้ กับต่างประเทศอกี ได้แก่ - ภาษสี ินคา้ ขาเข้า - ภาษสี ินค้าขาออก - กาไรทไี่ ดจ้ ากการผูกขาดสินค้าของกรมพระคลงั สินคา้ - การแตง่ เรอื สาเภาหลวงไปคา้ ขาย ศลิ ปวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา วัฒนธรรมไทยในสมัยอยุธยา ได้รับอิทธิพลจากอินเดียเป็นส่วน ใหญ่ โดยอินเดีย ถ่ายทอดมายังขอม แล้วไทยรับมาอีกต่อหน่ึง โดย ผสมผสานกบั วฒั นธรรมเดมิ ในสมยั สโุ ขทยั ศลิ ปะในสมยั อยุธยา ภาพที่ 2.10 : พระพทุ ธรูป 1. ในระยะแรกอิทธิพลของศิลปะแบบเขมรปรากฏชัดมาก สมัยอทู่ อง ได้แก่ การสร้างพระปรางค์ และพระพุทธรปู ท่ีเรียกกว่าพระพุทธรูปสมัย ท่มี า : http://outong.blogspot.com อูท่ อง 2. ศลิ ปะแบบสุโขทัยไดร้ บั การฟืน้ ฟใู นสมยั พระบรมไตรโลกนาถ วนั ทีส่ ืบคน้ : 3 ธ.ค. 59 เช่น การสร้างเจดีย์รูปดอกบัวตูม การสร้างพระพุทธรูปท่ีเรียกว่า พระพทุ ธรปู สมยั อยุธยา 3. ศิลปะแบบจีน และแบบตะวันตกได้เผยแพร่เข้ามาในระยะ หลัง สาหรับศิลปะแบบตะวันตกน้ัน ปรากฏชัดมาก ในสมัยสมเด็จพระ นารายณ์มหาราช เช่น พระราชวงั นารายณร์ าชนิเวศน์ ดา้ นศิลปกรรม 1. สถาปัตยกรรม - ศิลปะการกอ่ สรา้ งส่วนใหญเ่ ปน็ แบบขอม - วัสดุท่ีนามาใช้คล้ายคลึงกบั ในสมัยสุโขทยั - การก่อสร้าง ในระยะเลียนแบบสมัยสุโขทัย แต่ต่อมาได้พัฒนาขึ้น เป็นแบบฉบับของสมัย อยุธยาโดยเฉพาะ - ในระยะที่มกี ารติดตอ่ กับชาวต่างประเทศ ได้เปล่ียนเป็นการรับเอาศิลปะแบบตะวันตกเข้า มาบางอย่าง เช่น การสรา้ งพระราชวงั นารายณร์ าชนเิ วศนท์ ลี่ พบุรี

2. จติ รกรรม - ภาพจิตรกรรมฝาผนงั - ภาพเขียนบุคคล ภาพบา้ นเรอื นตามแบบจีน แตด่ ดั แปลงใหเ้ ปน็ ศิลปะแบบไทย 3. ประติมากรรม - การหลอ่ พระพุทธรูปสัมฤทธิ์ - การสร้างพระพิมพ์ 5. ประณตี ศลิ ป์ - เคร่ืองจาหลักไม้ ได้แก่ ประตูจาหลกั ธรรมาสน์ ตใู้ สห่ นงั สือลายรดน้า - เคร่อื งมุก ไดแ้ ก่ บานประตอู โุ บสถวดั พระศรมี หาธาตุ จังหวดั พษิ ณโุ ลก - เครื่องถม ไดแ้ ก่ เครือ่ งถมเมืองนครศรีธรรมราช - การรอ้ ยกรอง ไดแ้ ก่ การร้อยดอกไมเ้ พื่อประดษิ ฐ์เป็นรูปต่าง ๆ เช่น รปู สัตว์ รปู โคม เป็นตน้ 6. วรรณคดี วรรณคดีที่สาคัญ ในระยะแรกมีหลายเร่ือง คือ ลิลิตโองการแช่งน้า ลิลิตยวนพ่าย มหาชาติคาหลวง ลิลิต พระลอ สมยั สมเด็จพระนารายณม์ หาราช กวีที่สาคัญ คือ พระโหราธิบดี พระศรีมโหสถ ศรีปราชญ์ วรรณคดีท่ีสาคัญ ได้แก่ จินดามณี สมุทรโฆษคา ฉนั ท์ อนริ ทุ ธ์คาฉันท์ กาสรวลศรปี ราชญ์ สมัยสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวบรมโกศ กวีท่ีสาคัญ คือ เจ้าฟ้าธรรมนิเบศรฯ (เจ้าฟ้ากุ้ง) วรรณคดีที่สาคัญได้แก่ นันโทปนันทสูตร คาหลวง พระมาลัยคาหลวง กาพยห์ อ่ โคลงประพาสธารทองแดง กาพย์แห่เรือ ดาหลงั อิเหนา ความสมั พนั ธ์ระหว่างอาณาจักรอยุธยากบั ต่างประเทศ พม่า : ส่วนใหญ่เป็นการทาสงครามกนั ส่วนมากลักษณะของสงคราม คือ พม่าเป็นฝ่ายยกทัพเข้ามา รุกรานไทย และไทยเปน็ ฝ่ายต้ังรบั ล้านนา : ส่วนใหญ่เป็นการทาสงครามกันโดยไทยต้องการขยายอาณาเขตไทยเคยรวบรวมอาณาจักร ล้านนา มาไว้ในอาณาจักรหลายครัง้ แต่ในบางครัง้ ลา้ นนากต็ กเป็นเมอื งขึ้นของพม่า กัมพชู า สว่ นใหญเ่ ป็นการ ทาสงครามระหวา่ งกนั เพราะไทยมีนโยบายครอบครอง กมั พชู า : กมั พชู าพยายามตง้ั ตวั เป็นอสิ ระ ไทยจงึ ตอ้ งยกกองทพั ไปปราบปรามอยู่บอ่ ยครงั้ ลาว : ความสัมพันธร์ ะหวา่ งไทยกบั ลาว เป็นไปในลกั ษณะของ \"บา้ นพเี่ มอื งนอ้ ง\" จุดมุง่ หมายทไ่ี ทยกับ ลาวมีความสมั พนั ธท์ ่ดี ตี ่อกนั คอื เพื่อต่อตา้ นอานาจของพมา่ ญวน : ไทยกับญวนมักจะมเี รือ่ งขดั แยง้ กนั เพราะต่างมีอานาจเท่าเทยี มกัน และมักจะขยายอานาจเข้า มาในดนิ แดนลาวกับกมั พชู า มลายู : ไทยได้ขยายอานาจไปยังเมืองมลายู หลังจากได้เมืองนครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นหัวเมืองมลายู ส่วนที่ตกเป็นเมืองข้ึนของไทย ได้แก่ ไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู การปกครองหัวเมืองมลายูไทย ให้เจ้านาย พน้ื เมืองปกครอง ความสัมพันธก์ บั ประเทศตะวนั ตก โปรตุเกส : โปรตเุ กสเป็นชาตติ ะวนั ตกชาติแรก ที่เขา้ มาติดต่อค้าขายกับอยุธยา และทาสญั ญาการค้า อย่างเป็นทางการ ในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 2 ชาวโปรตุเกส เคยอาสาสมัครเข้าช่วยรบในกองทัพไทย

สว่ นทางด้านศลิ ปะวิทยาการตา่ ง ๆ ไทยยงั ไดเ้ รียนรศู้ ลิ ปะ และวิทยาการท่ีชาวโปรตเุ กสนามาเผยแพร่เชน่ การ ทาปนื ไฟ การสรา้ งปอ้ มปราการ การฝกึ ทหารแบบตะวนั ตก การทาขนมฝรัง่ ฝอยทอง สเปน : ความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทยกับสเปน เร่ิมขึ้นตอนปลายรัชกาลสมเด็จพระนเรศวร มหาราช โดยมีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อส่งเสริมการค้าระหว่าง กรุงศรีอยุธยา กับฟิลิปปินส์ ซึ่งเป็นเมืองข้ึนของ สเปน ฮอลันดา : ฮอลันดา ติดต่อกับประเทศทางตะวันออกก็เพื่อผลประโยชน์ทางการค้าเป็นหลักไทยกับ ฮอลันดามีการทาสัญญาการค้าฉบับแรก ในสมัยพระเจ้าทรงธรรม ความสัมพันธ์ ระหว่างไทยกับฮอลันดาไม่ ค่อยราบรื่นนักในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง เพราะฮอลันดาพยายามเรียกร้องผลประโยชน์ทางการค้า จากไทยมากเกนิ ไป ความขัดแย้งกับฮอลันดาเป็นเหตใุ ห้ไทยเริม่ ผูกมิตรกบั ฝร่ังเศสแน่นแฟ้นขึน้ เพื่อถ่วงดุลกับ ฮอลนั ดา อังกฤษ : อังกฤษเข้ามาในสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม เพื่อเปิดสัมพันธ์ด้านการค้า และพยายาม เรียกร้องสทิ ธิพเิ ศษทางการคา้ ต่าง ๆ แตไ่ มป่ ระสบผลสาเรจ็ เพราะถูกฮอลนั ดา คอยขดั ขวางจงึ ไดย้ กเลิกสถานี การค้าในเวลาต่อมา ในสมัยพระนารายณ์มหาราชไทยได้ ทาสงครามกบั องั กฤษที่มะรดิ เพราะองั กฤษเรยี กร้อง ใหไ้ ทยรับผิดชอบเรอื สินค้าอังกฤษ ถูกโจรสลดั ปลน้ แต่ไทยปฏิเสธการรับผิดชอบ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งไทยกับ องั กฤษ จึงเสอ่ื มลง ฝร่ังเศส : ฝรั่งเศส เป็นชาวตะวนั ตกชาติหลังสุดที่เข้ามาติดต่อกบั อยุธยา ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ ฝรั่งเศสมุ่งเผยแผ่คริสต์ศาสนา และฝ่ายไทยก็หวังให้ฝรั่งเศสเป็นตัวถ่วงดุลอานาจกับฮอลันดาฝร่ังเศสได้ตั้ง สถานีการค้าในอยุธยา ต่อมาฝรั่งเศสได้เปลี่ยนโยบายเป็นการแสดงหาผลประโยชนท์ างการค้า และการเมือง ควบค่กู นั ทาใหเ้ กิดความขัดแยง้ จนกลายเปน็ การจลาจลระหว่างคนไทยกบั กองทหารฝรั่งเศส ตอ่ มามีการขบั ไล่ กองทหารฝรัง่ เศสออกจากเมืองไทยได้สาเรจ็ สมยั อยธุ ยาถงึ รัตนโกสนิ ทร์ตอนตน้ กรุงรัตนโกสินทร์มีการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ โดยกษตั ริย์มอี านาจสงู สุดเพียงผูเ้ ดียวในแผน่ ดนิ แตพ่ ระองคก์ ็ มิได้ทรงใช้อานาจอย่างไม่ชอบธรรม เพราะทรงไว้ ซึ่ง ทศพิธราชธรรม ในรัชกาลท่ี 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ได้เร่ิม แนวคิดระบบประชาธิปไตยขึ้นแล้ว คือ พระองค์ไม่ตั้งรัช ทายาท แต่ให้ขุนนางข้าราชการเลือกผู้สมควรสืบราชสมบัติ กันเอง ในรัชกาลท่ี 4 ได้ริเร่ิมยอมรับอารยะธรรมตะวันตก มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง เพื่อความอยู่รอดของบ้านเมืองใน ภาพท่ี 2.11 : กรุงรตั นโกสนิ ทร์ อนาคต ทีม่ า : http://www.urbanbox.in.th/ สมยั การปฏริ ูปการปกครอง วันทีส่ บื คน้ : 3 ธ.ค. 59 ในสมัย รัชกาลที่ 5 ได้ปฏิรูปการปกครองบ้านเมืองหลายด้าน เช่น การให้ความเสมอภาค ด้าน การศกึ ษา การเลิกทาส เลกิ ระบบไพร่ ตง้ั สภาทป่ี รึกษาราชการแผน่ ดนิ และสภาทป่ี รกึ ษาในพระองค์ ตลอดจน มกี ารเปลี่ยนแปลงระบบบริหารบ้านเมืองทง้ั สว่ นกลาง และสว่ นทอ้ งถ่นิ ในสมัย รัชกาลท่ี 6 ได้สานต่อพระบรมราโชบายของรัชกาลท่ี 5 ในการที่จะให้ ประเทศไทย ได้มีการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยการจัดต้ัง \"ดุสิตธานี\" ข้ึน เพื่อทดลองจัดการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตย

สมยั ประชาธปิ ไตย ในสมัย รัชกาลที่ 7 ได้มีการเปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็น ระบอบประชาธิปไตย เม่ือ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 โดยคณะราษฎร และความยินยอมพร้อมใจของ พระมหากษัตริย์ และไดม้ ีรัฐธรรมนญู ฉบับแรก ใชบ้ ังคบั เมือ่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 ปัจจุบันน้ีประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขภายใต้ รฐั ธรรมนูญ แต่ประชาชนส่วนใหญย่ ังไม่คอ่ ยเข้าใจ ระบอบประชาธปิ ไตยมากนกั จงึ เป็นอุปสรรคสาคัญในการ พัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทย ใหเ้ ป็นไปอยา่ งเชอ่ื งชา้ สิทธิ และเสรภี าพ สิทธิ หมายถึง อานาจหรือประโยชน์อนั ชอบธรรมของบุคคล ซึ่งกฎหมายรบั รอง และคุ้มครองให้ผู้ใด จะมาขดั ขวางมไิ ด้ เสรีภาพ หมายถึง ความเป็นอิสระที่จะทาอะไรก็ได้ตามสิทธิท่ีมีอยู่ แต่การกระทานั้นจะต้อง ไม่ ก่อให้เกิดความเดอื ดร้อนแก่ผ้อู ืน่ สิทธเิ สรภี าพของชนชาวไทยในระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์เป็นประมุข 1. เสรภี าพในร่างกาย บุคคลยอ่ มมีเสรภี าพในร่างกายของเราจะกระทาอยา่ งไร กับรา่ งกายของเราก็ได้ 2. เสรีภาพในการนับถือศาสนา บุคคลย่อมมเี สรภี าพบรบิ ูรณ์ในการนบั ถือศาสนา 3. เสรีภาพในเคหสถาน บคุ คลย่อมมเี สรีภาพในเคหสถานเราสามารถจะทาอะไรกไ็ ด้ตามความพอใจของเรา 4. สิทธใิ นทรัพย์สนิ รัฐธรรมนญู ได้กาหนดคุ้มครองสิทธิในทรพั ย์สนิ ของบุคคลไดว้ ่าบุคคลจะมีสิทธิใน ทรพั ยส์ นิ ของเขา โดยจะมกี ฎหมายกาหนดขอบเขตของสิทธิในทรัพยส์ นิ เอาไว้ต้งั แต่เรื่องการไดม้ า ซ่ึงสิทธิ 5. เสรีภาพในการศึกษาอบรม คนไทยทุกคนมีเสรีภาพในการท่ีจะเลือกรับ หรือให้การศึกษาอบรม ไดต้ ามทต่ี อ้ งการ 6. เสรภี าพในการส่อื สาร พลเมอื งไทยมเี สรีภาพท่จี ะติดตอ่ ส่อื สารถงึ กนั ได้ 7. เสรภี าพในการเดนิ ทาง ทกุ คนมเี สรีภาพที่จะเดนิ ทางไปไหนมาไหน เมอ่ื ไรก็ได้ 8. เสรีภาพในการเลอื กถนิ่ ท่ีอยใู่ นราชอาณาจักร นอกจากจะมีเสรภี าพในการเดินทางแล้วพลเมืองไทย ยงั มเี สรีภาพท่จี ะเลือก เอาจังหวัด อาเภอ ตาบล หมูบ่ า้ นใดเป็นทอี่ ยอู่ าศัยก็ได้ 9. สิทธิในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง และความเป็นอยู่ ส่วนตัวทุกคนจะได้รับการคุ้มครองโดย กฎหมาย 10. สิทธิของบุคคลในการประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพ และการแข่งขัน โดยเสรอี ยา่ งเป็นธรรม 11. สทิ ธทิ ี่จะไดร้ ับการคมุ้ ครองในทางอาญา สิทธินี้เป็นสิทธทิ ่เี กย่ี วกับคดีอาญา 12. เสรภี าพในการพดู การเขยี น การพิมพ์ การโฆษณา การสื่อความหมายโดยวธิ ีอน่ื 13. เสรภี าพในการรวมกันเป็นสมาคม สหภาพ สหพันธ์ สหกรณ์ หรือหม่คู ณะอ่นื 14. สทิ ธิเสรภี าพในทางการเมอื ง มีสิทธเิ สรีภาพอยา่ งเตม็ ท่ีในการที่จะมสี ่วนร่วมในทางการเมือง 15. เสรีภาพในการชุมนมุ โดยสงบ และปราศจากอาวุธพลเมืองไทยทุกหมู่เหล่าย่อมมีสิทธิที่จะมาร่วม ชมุ นุมกนั โดยสงบ 16. สทิ ธใิ นการร้องทกุ ข์บคุ คลใดก็ตามที่ได้รับความไม่เปน็ ธรรม 17. สทิ ธิฟอ้ งหน่วยราชการ หมายถงึ การฟ้องรอ้ งหนว่ ยราชการ ซ่งึ เป็นองคก์ รของรัฐ

การใชส้ ทิ ธติ ามกฎหมายรฐั ธรรมนูญ 1. ต้องเคารพตอ่ กฎหมาย และหลักแหง่ ความสงบเรยี บรอ้ ย 2. ต้องใชส้ ิทธใิ นทางท่ีจะไมก่ ่อความเสียหายแกบ่ ุคคลอืน่ 3. ต้องใช้สิทธิโดยสุจริต หน้าท่ขี องพลเมืองในระบอบการปกครองแบบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์เป็นประมุข 1. หน้าที่รักษาชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษตั ริย์เป็นประมุข 2. หน้าทจ่ี ะใชส้ ทิ ธิในการเลือกตงั้ โดยสจุ รติ 3. หนา้ ที่ในการป้องกนั ประเทศ 4. หนา้ ท่ีในการรับราชการทหาร 5. หนา้ ท่ีปฏิบัตติ ามกฎหมาย 6. หนา้ ที่เสยี ภาษีอากร 7. หน้าท่ีช่วยเหลอื ราชการ 8. หนา้ ทใ่ี นการรับการศึกษาอบรม 9. หน้าทร่ี กั ษาทรัพยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ ม สังคมประชาธิปไตย ความเป็นมาของการปกครองระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย ได้เปล่ียนแปลงการปกครองจาก ระบอบสมบูรณาสิทธิราชย์ มาเป็นระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขรัฐธรรมนูญเป็น กฎหมายสูงสุด ในการปกครองประเทศ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของประเทศ ทรงใช้พระราชอานาจ ตามท่ีกาหนดไวใ้ นรัฐธรรมนญู หลักสาคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตย 1. อานาจอธิปไตยเปน็ ของปวงชน 2. ยึดหลกั เสรภี าพ 3. ยึดความเสมอภาค 4. ยดึ หลักกฎหมาย 5. ผปู้ กครองประเทศหรือรฐั บาลต้องมาจากการเลอื กตั้ง ลักษณะของสงั คมประชาธิปไตย 1. เคารพในสิทธิเสรภี าพ 2. เคารพในศักดิศ์ รี และความเท่าเทยี มกันของมนุษย์ 3. รกั ความยุตธิ รรมในสังคม 4. การใชห้ ลักเหตุผลตดั สนิ ปัญหาข้อขดั แยง้ 5. การยดึ ม่ันในหลักการมากกวา่ ตวั บคุ คล คุณสมบตั ิทีส่ าคญั ของสมาชกิ ในสงั คมประชาธิปไตย 1. การยึดมน่ั ในอุดมการณ์ประชาธปิ ไตย 2. การรูจ้ ักใชเ้ หตผุ ล และรบั ฟงั ความคดิ เห็นของผ้อู ่ืน

3. การกล้าแสดงความคิดเห็น 4. การเคารพในสทิ ธขิ องผู้อ่ืน 5. การเหน็ แกป่ ระโยชนส์ ว่ นรวม การปกครองในสมยั ปจั จุบนั (รัตนโกสนิ ทรต์ อนปลาย-ปจั จุบัน) การเมืองการปกครองของไทยระหวา่ ง พ.ศ. 2475 ถงึ สงครามโลกคร้งั ที่ 2 พระยามโนปกรณน์ ิติธาดา นายกรัฐมนตรี บริหารประเทศตามรัฐธรรมนูญฉบับถาวร พ.ศ. 2475 ไปได้เพียง 2-3 เดือน ก็ได้เกิดความ ขัดแย้ง ในหมู่คณะรัฐมนตรี และคณะราษฎรด้วยเร่ืองการกาหนดนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งมี ความคิดเห็นแตกต่างกัน ความขัดแย้งถึงขั้นรุนแรงจะนาไปสู่การประกาศพระพระราชกฤษฎีกาปิดสภา ผู้แทนราษฎร การปลุกความคิดชาตินิยม พันเอกหลวงพิบูลสงคราม ซ่ึงเป็นผู้ท่ีมีความคิดชาตินยิ มอยู่แล้ว จึง ดาเนินนโยบายสร้างชาติไทยให้เข้มแขง็ ก่อนเกิดสงครามโลกครง้ั ที่ 2 รัฐบาลของพนั เอกหลวงพิบูลสงคราม ได้ ประกาศนโยบายดังน้ี คอื - ส่งเสริมการทาสวนครวั เลยี้ งสัตว์ ผลติ เครือ่ งใช้ดว้ ยตนเอง - ชักจูงโฆษณาให้คนไทย ใช้สินค้าที่ผลิตในประเทศ รัฐบาลประกาศคาขวัญว่า ไทยทา ไทยใช้ ไทย เจริญ - สง่ เสริมใหค้ นไทยประกอบอาชพี ค้าขาย และสงวนอาชีพบางอย่างห้ามคนตา่ งดา้ วทา - ต้งั กรมโฆษณาการ เพอ่ื ทาหนา้ ทีป่ ลกุ ใจประชาชน โฆษณาถึงความรักชาติ ใหเ้ ชือ่ ฟงั ผู้นา โดยใชค้ าขวญั \"เชอื่ ผนู้ าชาติพน้ ภัย\" การเมืองการปกครองของไทยช่วงระหว่างสงครามโลกครัง้ ท่ี 2 1. การประกาศสถานการณ์ความเป็นกลางของไทยในช่วงแรกของสงครามโลกคร้ังท่ี 2 รัฐบาลไทย ประกาศยนื ยันนโยบายเป็นกลางอย่างเครง่ ครดั 2. การประกาศสงครามกับฝ่ายพันธมิตร นายปรีดี พนมยงค์ หรือหลวงประดิษฐ์มนูธรรม ดารง ตาแหนง่ ผสู้ าเร็จราชการแทนพระองค์ ไม่เห็นดว้ ยกับการประกาศสงครามกับฝ่ายพนั ธมิตรจึงมไิ ด้ลงนามในคา ประกาศสงคราม 3. บทบาทของขบวนการเสรีไทย นายปรดี ี พนมยงค์ จัดต้ังขบวนการเสรไี ทย ใชร้ หสั ยอ่ วา่ x.o Group รวบรวมคนไทย ซ่งึ มอี ดุ มการณต์ รงกนั คอื ความมงุ่ หมายในการขบั ไล่ญป่ี ุ่นให้ออกไปจากผืนแผน่ ดนิ ไทย การเมอื งการปกครองของไทยหลงั สงครามโลกครั้งที่ 2 – พ.ศ. 2500 1. การแก้ปัญหาเน่ืองจากไทยอยู่ในฐานะผู้แพ้สงคราม ผู้สาเร็จราชการแผ่นดินของไทยประกาศ สันติภาพ โดยถือว่าการประกาศสงครามของไทยต่อพันธมิตร ในระหว่างสงครามน้ันเป็นโมฆะ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช เจรจากับสหรัฐอเมรกิ า และองั กฤษ เพอ่ื ความเปน็ เอกราชของชาติโชคดีท่ีสหรัฐอเมริกา และอังกฤษ ไมต่ ดิ ใจไทย รัฐบาลไทยก็ได้ประกาศคนื ดนิ แดนให้แก่องั กฤษ และฝรั่งเศส 2. การเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัวรชั กาลท่ี 8 รฐั บาลไม่สามารถอธิบายสาเหตุ ท่ี แท้จริงได้ นายปรีดี พนมยงค์ จึงแสดงความรับผิดชอบโดยการกราบถวายบังคมลาออกจากตาแหน่ง นายกรัฐมนตรี 3. การแย่งชิงอานาจระหว่างนักการเมือง และระหว่างทหารบกกับทหารเรือ ความขัดแย้งทาง การเมือง มกี ารแย่งชิงอานาจระหว่างฝ่ายจอมพลแปลกพิบูลสงคราม กบั ฝ่ายของนายปรดี ี พนมยงค์ เกดิ กบฏ ขน้ึ หลายครงั้ เพอ่ื ตอ่ ตา้ นรัฐบาลจอมพลแปลก

4. การก้าวข้ึนสู่อานาจของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ การรับประหารจอมพลสฤษดิ์ ก็ได้ยื่นคาขาดต่อ จอมพลแปลก นายกรฐั มนตรี ใหแ้ กไ้ ขสถานการณ์ทางการเมืองโดยด่วน เมอ่ื ไมไ่ ด้ผลฝา่ ยทหารจงึ ถอนตัวออก จากการสนบั สนุนรัฐบาล ในไม่ช้า จอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต์ ก็ได้เป็นผู้ทาการรัฐประหาร การเมืองการปกครองของไทยชว่ ง พ.ศ. 2501 ถงึ ปัจจุบนั 1. การปกครองแบบเผดจ็ การ แตม่ งุ่ พฒั นาประเทศของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ 2. การต่นื ตวั ในระบอบประชาธปิ ไตย และบทบาทของขบวนประชาธิปไตย 3. ความขัดแยง้ ระหวา่ งขบวนการเผดจ็ การ และขบวนการประชาธิปไตย 4. การฟน้ื ฟูประชาธิปไตย และการแก้ไขปัญหาคอมมิวนิสต์ 5. การรัฐประหารของสภารกั ษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) การพัฒนาเศรษฐกิจไทยต้ังแต่ พ.ศ. 2475 ถงึ ปจั จุบัน เศรษฐกิจไทยในช่วงระยะ พ.ศ. 2475 ถึง พ.ศ. 2484 ภายหลังจากการปฏิวัติ พ.ศ. 2475 การเมือง การปกครองของไทยได้เปล่ียนแปลงมาสูร่ ะบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ผ้นู าร่นุ ใหมท่ ง้ั ฝ่ายทหาร และ พลเรือน ส่วนใหญ่มาจากชนชั้นกลาง และได้รับการศึกษาแบบตะวันตก มีความคิดว่าเศรษฐกิจของประเทศ ไทยในขณะน้นั ตกอยู่ในกามือของต่างชาติ ซงึ่ เป็นท้งั ชาวจีน และชาวตะวนั ตก ทางดา้ นอุตสาหกรรม รัฐบาลส่งเสรมิ ใชช้ าวไทยรจู้ กั ทาอุตสาหกรรม ประกาศคาขวญั ว่า \"ไทยทา ไทย ใช้ ไทยเจริญ\" รฐั บาลเรม่ิ ดาเนินนโยบายลงทนุ ด้านอุตสาหกรรม และธุรกจิ ทางด้านการบริหาร ซ่ึงเราเรียกว่า \"รฐั วิสาหกิจ\" เศรษฐกิจไทยในระหวา่ งสงครามโลกครั้งที่ 2 เศรษฐกิจของไทย การค้าขายกบั ตา่ งประเทศเริ่มประสบ ความยากลาบาก สินค้าออกของไทยเร่ิมลดลง สินค้าจากต่างประเทศมีราคาสูงข้ึน ในปี พ.ศ. 2483 รัฐบาล ไทยเรมิ่ ทาสงครามกบั ฝรั่งเศสด้วยเรื่องปญั หาอนิ โดจีน เศรษฐกิจไทยภายหลังสงครามโลกครั้งท่ี 2 ถึง พ.ศ. 2502 รัฐบาลไทยยังใช้นโยบายแก้ไขปัญหา เศรษฐกิจแบบเดิม คือ ส่งเสริมให้ชาวไร่ชาวนาไทยผลิตสินค้าเกษตรเพ่ือนาส่งไปขายต่างประเทศ สินค้าหลัก ของไทยท่สี ง่ ไปขายนารายได้เขา้ ประเทศมาก เศรษฐกจิ ไทยภายใตร้ ะบบการลงทนุ แบบเสรี (ในชว่ ง พ.ศ. 2501 ถึงปัจจุบนั ) จอมพลสฤษด์ิ ธนะรชั ต์ ประกาศนโยบายส่งเสรมิ การลงทุนของเอกชน มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจ มีการวางแผนพัฒนาประเทศ ในระยะยาว การใชง้ บประมาณอยูใ่ นช่วงระยะเวลา 5 ปี เรียกวา่ แผนพฒั นาเศรษฐกิจ และสังคมแหง่ ชาติ มีการประกาศใช้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติในปี พ.ศ. 2504 เป็นแผนแรก จากนั้นรัฐบาลต่อ ๆ มาก็ได้ประกาศแผนพฒั นา อยา่ งตอ่ เนอื่ งจนถึงปัจจบุ ัน คอื ฉบับท่ี 8 พ.ศ. 2540-2545 หลังจากไทยประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติแล้วสภาวะทางเศรษฐกิจได้เปลี่ยนแปลง ดังต่อไปน้ี - มูลค่าส่งออก เพมิ่ ขน้ึ 15 เทา่ ตัว - ส่งิ ทดแทนเปน็ สินค้าใหมท่ ารายได้สูงเป็นอันดับ 2 รองจากข้าว และมนั สาปะหลังนอกจากนั้น ได้แก่ อัญมณี แผงวงจรไฟฟ้า - ธุรกิจการทองเท่ียว เจริญรุดหน้าจนมีรายได้สูงเป็นอันดับ 1 ในปีพ.ศ. 2532 โครงการพัฒนา เศรษฐกิจ ที่สาคัญของไทยในช่วงท่มี แี ผนพัฒนาเศรษฐกจิ แห่งชาตทิ ่สี าคัญได้แก่

- โครงการพัฒนาชายฝ่ังตะวันออก (Eastern Seaboard) กาหนดขอบเขตมาบตาพุด จังหวัดระยอง เป็น เมืองอุตสาหกรรมทันสมัย และเขตแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี เป็นท่ีต้ังท่าเรือพาณิชย์ และอุตสาหกรรมขนาด กลางขนาดย่อม เพ่อื สง่ ออก -โครงการพัฒนาชายฝั่งทะเลภาคใต้ (Southern Seaboard) กาหนดให้เป็นแหลง่ อุตสาหกรรมประเภทซ่อม เรือ ต่อเรอื อุตสาหกรรม ประมง พาณิชย์นาวี การเปลย่ี นแปลงทางสังคม หลงั จากการเปล่ยี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 สังคมไทยมกี ารเปลย่ี นแปลง ดังน้ี 1. ชนชน้ั ในสังคมแบ่งได้เปน็ 3 ชนชน้ั คือ ขา้ ราชการ ปัญญาชน และกรรมกร 2. การเปล่ียนแปลงวิถีชีวิต ที่ผู้คนมีการแข่งขันกันมากข้ึนต้องปรบั ตัวมากขึ้น ซ่ึงให้คุณธรรมท่ีดี ใน สังคมไทยแตเ่ ดิมมาลดลง 3. คา่ นยิ มในสงั คมได้เปลีย่ นแปลงไป ผหู้ ญิงกต็ อ้ งออกทางานนอกบา้ นมากขึน้ เพื่อใหม้ รี ายได้เพยี งพอ เลย้ี งดคู รอบครวั สถานภาพของผูห้ ญิงในปจั จบุ นั จงึ เทา่ เทยี มกับผู้ชายท้ังสทิ ธิ และโอกาสในการทางาน การเปลย่ี นแปลงทางการศึกษา หลังจากการเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 การศึกษาของไทยมีความก้าวหน้ามากขึ้น ใน ปัจจุบันเรามีการศึกษาภาคบังคับ 6 ปี และปัจจุบันขยายโอกาสทางการศึกษาเป็น 9 ปี ซึ่งทาให้เยาวชนได้มี โอกาสหาความรูใ้ สต่ วั มากขึ้น ก่อนจะออกไปทางานเลย้ี งชพี สาหรับผู้ไม่เรียนต่อ การเปลี่ยนแปลงทางศลิ ปวฒั นธรรม 1. การเปล่ยี นช่อื ประเทศสยาม เปน็ ประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. 2482 2. การกาหนดวันขึ้นปีใหม่ โดยเปลี่ยนเป็นวันที่ 1 มกราคม ตามสากลนิยม แทนวันที่ 1 เมษายน เริม่ ต้งั แต่ พ.ศ. 2484 3. มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2483 ให้คนไทยแต่งกายให้เหมาะสม คือ นุ่งกางเกงแทนผ้าม่วงหรือโจงกระเบน สาหรับชาย ส่วนสตรีให้สวมกระโปรง และยังต้องสวมเส้ือ รองเท้า หมวก

ดา้ นศิลปกรรม 1. สถาปัตยกรรม รับอิทธิพลของชาติตะวันตก เช่น การสร้าง อนุสาวรยี ์ อาคารต่าง ๆ 2. วรรณกรรมตะวันตกที่เคยมีการแปล ก็ถูกดัดแปลงหรือแต่ง ขึ้นมาโดยคนไทยมากข้ึน 3. นาฏกรรม เช่น โขน ละคร เสื่อมความนิยมลง เน่ืองจากมี ความบันเทิงหลายหลากมากข้ึน ท้ังภาพยนตร์ โทรทัศน์ พัฒนาการของศิลปวัฒนธรรมไทยศิลปวัฒนธรรมของสมัย สุโขทยั ในสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช ถือเป็นยุคทองของสมัยกรุง สุโขทัย เน่ืองจากได้เกิดแบบแผนความเจริญทางวัฒนธรรมที่เป็น ของ ไทย ซึ่งความเจริญทางวัฒนธรรมดังกล่าว มีความเก่ียวข้องกับ 3 รูปแบบ คือ พทุ ธศาสนา ภาษาไทย และศิลปะ ภาพท่ี 2.12 : พระพทุ ธรูปปางลีลา พระพุทธศาสนามีความสัมพันธอ์ ย่างใกล้ชดิ กับพระพุทธศาสนา ท่ีมา : http://topicstock.pantip.com วันท่ีสบื ค้น : 4 ธ.ค. 59 ลทั ธลิ ังกาวงศ์ จนกลายเปน็ วิถชี วี ิตของประชาชน โดยมวี ัดเปน็ ศูนย์กลาง ทางด้านการวัฒนธรรมของชุมชน มีบทบาทสาคัญในการเผยแผ่และสั่งสอนคุณธรรมจริยธรรมแก่ประชาชน และมีอทิ ธพิ ลต่อคตกิ ารปกครอง ประเพณี วฒั นธรรมต่าง ๆ ท่เี กย่ี วกับชวี ิต ระเบยี บทางสงั คมและศิลปะ งานสร้างสรรค์ทางศิลปะของกรุงสุโขทัย เช่น พระพุทธรูป เจดีย์จิตรกรรม มีความเกี่ยวข้องกับ พระพุทธศาสนาเป็นสาคัญโดยดัดแปลง รูปแบบศิลปกรรมจากขอม ให้มีลีลาอ่อนช้อยงดงาม ตัวอย่าง เช่น พระพุทธรปู ปางลีลา ย่ิงกว่านน้ั แลว้ พทุ ธศาสนายังมีบทบาทสาคัญต่องานสร้างสรรค์ ทางวรรณกรรมด้วย ดงั ตวั อยา่ ง บทพระราชนิพนธ์ของพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไท) คอื ไตรภมู พิ ระร่วง นอกจากนั้นแล้วเอกลักษณ์ อย่างหน่ึงท่ีสาคัญของสมัยสุโขทัย คือ ภาษาไทย โดยในสมัยพ่อขุน รามคาแหง มกี ารประดษิ ฐอ์ ักษรไทย ขึ้นจากเดมิ ที่เคยใช้ภาษาสนั สกฤตหรือภาษาขอม อักษรไทยดงั กลา่ วนยิ ม ใช้กนั สืบตอ่ มาจนปัจจุบนั ศลิ ปวัฒนธรรมสมยั กรุงศรอี ยุธยา 1. ศาสนาและศลิ ปะ ชาวกรุงศรีอยุธยานับถือพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ แต่ได้รับอิทธิพลขอม ศาสนาพราหมณ์ ท่ี แพร่หลายอยู่ก่อนหน้าการเข้ามาของ พุทธศาสนาอยู่มาก การผสมผสานกันของพุทธศาสนาและศาสนา พราหมณ์จึงเป็นลักษณะสาคัญของศาสนาในสมัยกรงุ ศรีอยุธยา ซึ่งสะท้อนให้เห็นใน ศิลปกรรมต่าง ๆ ได้แก่ งานสถาปัตยกรรม ประตมิ ากรรม จติ รกรรม ภาษาและวรรณคดี และวฒั นธรรมประเพณี 2. สถาปตั ยกรรม สถาปัตยกรรมของสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น ได้รับอิทธิพลจากขอมและสุโขทัย เช่น พระปรางค์ วัดพุทไธสวรรย์ วัดราชบูรณะ เป็นต้น ส่วนสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายเป็นเจดีย์แบบเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสอง เช่น เจดียว์ ดั ภเู ขาทอง วัดชุมพลนิกายาราม เปน็ ตน้

3. ประติมากรรม พระพุทธรูปได้รับอิทธิพลจากศิลปะขอมเรียกว่า พระพุทธรูปสมัยอู่ทองและตอนปลายสมัยกรุงศรี อยุธยานิยมสร้างพระพุทธรูป แบบทรงเครื่อง อย่างไรก็ตามสมัยกรุงศรีอยุธยาพระพุทธรูปมีลักษณะน่าเกรง ขาม และ ไมง่ ดงามเทา่ สมยั สโุ ขทัย 4. จิตรกรรม จิตรกรรมสมัยกรุงศรีอยุธยา เป็นภาพพุทธประวัติใช้สี 3 สี ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น คือ สีขาว และ สีแดง และตอน ปลาย เพ่ิม สีเขียว สีฟา้ และสมี ่วง ภาพทว่ี าดเป็นภาพธรรมชาติ 5. ภาษาและวรรณคดี ภาษาได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมขอม เป็นคาราชาศัพท์ วรรณคดสี ว่ นใหญ่เกย่ี วกับพุทธศาสนาท่ีสาคัญ เช่น ลิลิตโองการแช่ง ภาพที่ 2.13 : พระราชพธิ ีถอื นา้ พิพฒั นส์ ัตยา น้า มหาชาติคาหลวง ลิลิตยวนพ่าย ลิลิตพระลอ และกาพย์เห่เรือ ท่มี า : http://pomraksiam.blogspot.com เปน็ ตน้ วันที่สืบค้น : 3 ธ.ค. 59 6. วัฒนธรรมประเพณี วัฒนธรรมกรงุ ศรีอยธุ ยา เปน็ ลกั ษณะวัฒนธรรมผสม ระหวา่ งวัฒนธรรมไทยแทก้ บั วัฒนธรรมต่างชาติ ท่ีสาคัญท่สี ดุ คือ วฒั นธรรมอนิ เดียซง่ึ รบั มาจากพวกพราหมณ์ วัฒนธรรมและประเพณสี าคญั เชน่ พระราชพธิ ี ถือน้าพิพฒั นส์ ัตยา พธิ พี ชื มงคล พธิ จี รดพระนงั คัลแรกนาขวัญ พิธกี ารบวช และการทาบุญ ศลิ ปวฒั นธรรมสมัยกรงุ รัตนโกสินทร์ ศลิ ปวัฒนธรรมทสี่ าคญั ในสมัยกรงุ รตั นโกสินทร์ตอนต้น มีดงั น้ี 1. ศาสนา ในสมัยรัชกาลที่ 1 มีการสงั คายนาพระไตรปิฎกทีเ่ รยี กวา่ ฉบบั หลวงหรือฉบับทองใหญ่ และมีการตรา กฎหมายปกครองคณะสงฆ์ ขน้ึ เป็นครั้งแรกดว้ ย นอกจากน้ียังมกี ารสร้างและปฏสิ ังขรณ์วัดวาอารามต่างๆ 2. ประเพณีและวัฒนธรรม พระราชประเพณีท่สี าคัญ เชน่ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราชพธิ ถี อื น้าพิพฒั น์สตั ยาพระราชพิธี จรดพระนังคลั แรกนาขวัญ และราชพธิ ีพชื มงคล เป็นต้น ส่วนประเพณีท้องถ่ินท่ีเก่ียวข้องกับคนไทยโดยทั่วไป เช่น การลอยกระทงการเล่นสักวา การเล่น เพลงเรือ พิธตี รุษ สารท เป็นตน้ 3. สถาปัตยธรรม สถาปตั ยกรรมที่มีช่ือเสยี งในสมัยน้ี คอื การสรา้ งพระบรมมหาราชวัง 4. ประติมากรรม ประติมากรรมช้ินเอก คือ การแกะสลักประตูกลางด้านหน้าพระวิหารวัดสุทัศน์ และงานตกแต่งหนา้ บรรณพระอโุ บาสถ วัดพระศรรี ตั นศาสดาราม 5. จิตรกรรม จิตรกรรมส่วนใหญ่เป็นเรื่องเกี่ยวกับพระพุทธศาสนางาน จิตรกรรมท่ีสาคัญ เช่น ภาพเขียนในพระ อุโบสถวดั พระเชตุพนวมิ ลมงั คลาราม เปน็ ต้น

6. วรรณกรรม สมัยรัชกาลที่ 1 วรรณกรรมที่สาคัญ เช่น นิราศท่าดินแดง โครงพยุหยาตรา และมหาชาติคาหลวง เปน็ ตน้ สมัยรัชกาลที่ 2 เป็นยุคทองของวรรณกรรม วรรณกรรมที่สาคัญ เช่น ละคร เรื่องขุนช้างขุนแผน อเิ หนา รามเกียรต์ิ และเพลงพากย์โขน เป็นต้น กวีสาคญั ในสมยั นี้ เช่น พระสนุ ทรโวหาร (ภ่)ู พระยาตรงั และสมเดจ็ พระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมา นชุ ติ ชิโนรส เป็นตน้ 7. ดนตรีและนาฏศลิ ป์ การละเล่นที่สาคญั คอื โขน ซง่ึ พัฒนามาจากการเลน่ ชกั นาคดึกดาบรรพ์ นยิ มเล่นในพระราชพิธีบรม ราชาภิเษก ส่วนละคร มีท้ังละครนอกและละครใน พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้านภาลัย ทรงมีซอสายฟา้ ฟาดคพู่ ระหตั ถ์ และทรงพระราชนพิ นธ์ เพลงบุหลนั ลอยเลือ่ น ซ่งึ ต่อมา ทรงเรยี กวา่ เพลงพระสุบิน การปรับปรุงประเทศในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยการปรับปรุงประเทศตาม แบบตะวนั ตก แทนท่ีจะปรบั ปรุงประเทศตามแบบอยธุ ยาอย่างเชน่ ท่ีเคยเป็นมา การปรบั ดงั กล่าวไดแ้ ก่ การปรับปรงุ ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย 1. การประกาศให้ข้าราชการสวมเสอ้ื เข้าเฝา้ ตามแบบตะวันตก 2. การปฏิบัติต่อต่างชาติ โดยการให้เข้าเฝ้าโดยการยืน และถวายคานับ แทนการหมอบคลาน และ ทรงใหช้ าวตา่ งชาติ รว่ มโตะ๊ เสวยในวนั สาคญั ต่าง ๆ ซึง่ ทาใหต้ า่ งชาติยอมรับประเทศไทยมากขนึ้ 3. ให้มีประเพณีตีกลองฎีกา เพื่อให้ประชาชนสามารถร้องทุกข์ได้ และทรงสร้างเครื่องราชอิสริยาภรณ์ พระราชทานแก่ขนุ นาง และเจ้านาย การสง่ เสริมดา้ นศลิ ปวัฒนธรรม 1. สถาปตั ยกรรม ทรงโปรดศิลปกรรมตะวนั ตกมากจึงสร้างขึ้นหลายแหล่ง เช่น พระราชวังสราญรมย์ 2. ประติมากรรม ศลิ ปกรรมตะวันตก แสดงออกมาในแบบรปู ปั้นตา่ งๆ เชน่ พระพุทธพรรณี 3. จิตรกรรม เรม่ิ นาเอาเทคนิคการเขียนภาพแบบตะวันตกมาใช้ ผทู้ นี่ ามา คือ พระอาจารยข์ รัวอนิ โข่ง 4. วรรณกรรม พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์ไวห้ ลายเรอ่ื ง เชน่ บทละครเร่ืองรามเกียรต์ิ มหาเวสสันดร ชาดก เปน็ ต้น กวีมชี อ่ื เสยี ง เชน่ ม.ร.ว.กระต่าย อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา การปรับปรุงประเทศของพระองค์ เป็นการปรับปรุงเพื่อเตรียมรับอารยธรรมตะวันตก ซึ่งกาลังแผ่ อิทธิพลอย่ใู นขณะนน้ั และการปรับปรงุ ของพระองค์มผี ลกระทบโดยตรงต่อพระราชโอรสของพระองค์ เมอื่ ข้ึน ครองราชย์ คอื รชั กาลท่ี 5 ต่อมาในรชั กาลท่ี 5 ได้ทาการปรับปรุงขนบธรรมเนียมประเพณีและสง่ เสรมิ วรรณกรรมและศลิ ปกรรม การปรับปรงุ ขนบธรรมเนยี มประเพณี 1. เปลยี่ นแปลงการแตง่ กาย เชน่ เครือ่ งแบบทหารให้ใช้แบบตะวนั ตกและผู้ชายใหใ้ ส่เสื้อราชปะแตน ผูห้ ญงิ ให้ไวผ้ มทรงดอกกระทุม่ เปน็ ตน้ 2. ยกเลิกประเพณีหมอบคลาน ยกเลิกการสืบพยานแบบจารีตนครบาลและประกาศใช้การนับ ร.ศ. โดยยดึ พ.ศ. 2325 เป็น ร.ศ. 1 3. แกไ้ ขประเพณีการสืบสันตตวิ งศใ์ หม่ โดยการตงั้ ตาแหน่งสยามมงกฎุ ราชกุมาร แทนตาแหน่งวงั หนา้

การส่งเสริมวรรณกรรมและศลิ ปกรรม ภาพท่ี 2.14 : พระบรมรูปทรงม้า 1. วรรณกรรม ท่ีสาคัญ เช่น บทละครเร่ืองเงาะป่าไกลบ้าน ทีม่ า : https://www.bloggang.com และของพระยาศรีสุนทรโวหาร เชน่ มลู บทบรรพกิจ อักษรประโยค วนั ท่สี ืบค้น : 3 ธ.ค. 59 2. ศิลปกรรม ศิลปกรรมมักจะเป็นของไทยผสมกับยุโรป เช่น วดั เบญจมบพติ ร พระท่นี ง่ั อนันตสมาคม 3. ประติมากรรม เช่น พระบรมรูปทรงม้า พระพุทธชินราช จาลอง 4. จิตรกรรม มภี าพเขียนแบบตะวันตกที่เรยี กว่า ภาพเขียน ปูนเปยี ก และมภี าพจิตกรรมฝาผนงั 5. นาฏกรรม ละครแบบใหม่ในสมัยน้ี เช่น ละครพันทาง ละครดกึ ดาบรรพ์ เปน็ ตน้ รัชกาลต่อมาในรัชกาลท่ี 6 ก็ได้พัฒนาประเทศด้วยการ ปรับปรุงขนบธรรมเนียมประเพณี และ ความเจริญด้านศิลปะ และ วัฒนธรรม ดงั นี้ การปรบั ปรงุ ขนบธรรมเนยี มประเพณี 1. การออกพระราชบัญญตั นิ ามสกุล เพ่ือประโยชน์ในการปกครองของประเทศ 2. เปล่ียนธงชาติจากธงช้าเผอื กเปน็ ธงไตรรงค์ 3. ใช้ พ.ศ. ตามการนบั ถอื พระพทุ ธศาสนา และเปลีย่ นการนบั เวลาเปน็ 1 นาฬิกา ถ้าหลังจากเทีย่ งคนื ไป แลว้ 4. กาหนดคานาหนา้ เด็กและสตรี ศิลปวัฒนธรรม 1. สถาปตั ยกรรม ศลิ ปะแบบไทยแห่งแรกท่ที รงสรา้ ง คือ พระราชวงั สนามจนั ทน์ จังหวดั นครปฐม 2. ประติมากรรม ประติมากรรมแบบไทยแท้ เช่น รปู หลอ่ สัมฤทธพ์ิ ระนางธรณบี บี มวยผม 3. จติ รกรรม เปน็ ภาพเขียนเรอ่ื งราวเก่ียวกับชาดก และพระมหากษัตรยิ ์ไทย เช่น ภาพเขยี น ทโ่ี ดมพระท่ี นั่งอนันตสมาคม 4. วรรณกรรม อิทธิพลของตะวันตกมีมากขึ้น การเขียนร้อยกรองเปลี่ยนเป็นการเขียนร้อยแก้ว รปู แบบคาประพนั ธก์ เ็ ปน็ แบบ ตะวันตกมากขนึ้ 5. ศิลปกรรม พระองค์สนใจงานศิลปกรรมมากจึงได้จัดต้ังโรงเรียนเพาะช่างข้ึน เพ่ือให้มีการสอน ศิลปะไทยและศิลปะ ตะวันตก จิตรกรที่มีชื่อเสียงในสมัยน้ีคือ พระยาอนุศาสน์ เป็นผู้เขียนภาพสมเด็จพระ นเรศวรมหาราชในฝาผนังวดั สวุ รรณดาราราม จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา 6. นาฏกรรม โขน ละคร และดนตรี เจริญสูงสุดในสมัยน้ี เพราะพระองค์เช่ือว่านอกจากจะให้ความ บันเทงิ ใจแลว้ ยังสามารถ ยกระดบั จิตใจของมนษุ ยใ์ ห้สงู ข้ึน

การเปลยี่ นแปลงทางศิลปวัฒนธรรมไทย สงั คมและวัฒนธรรมยอ่ มมีการเปลยี่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา เพราะความตอ้ งการของมนุษยไ์ มม่ ที ี่สิ้นสุด แต่การเปลี่ยนแปลงจะเร็วหรือช้าน้ันข้ึนอยู่กับปัจจัยที่มาเก่ียวข้อง เช่น ระดับการศึกษาของคนในสังคม การส่อื สารคมนาคม ความคดิ ริเรมิ่ สร้างสรรค์ การนามาเปล่ียนแปลง วัฒนธรรมกับสังคมเป็นของคู่กัน ต้องไปด้วยกันเสมอ ถ้าสังคมเปลี่ยนวัฒนธรรมก็เปลี่ยนสังคม ก็ เปลี่ยนมีผลเกี่ยวเนื่องกัน ปัจจัยที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง เช่นการค้นพบ การประดิษฐ์ การขัดแย้ง การแขง่ ขนั การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรมมีผลทาให้ระบบ รูปแบบทางสังคมและวิถีชีวิตของมนุษย์ ท้ังท่เี ป็นวตั ถแุ ละไม่ใช้วัตถุเปล่ียนแปลง ผลกระทบต่อการดาเนินชีวติ วัฒนธรรมย่อมมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอไม่ว่าจะเป็นชนชาติใด เนื่องจากปัญหาท่ีมนุษย์ประสบอยู่ ในสังคมเป็นประจา ประกอบกับมีความต้องการจะปรับปรุงวิถีชีวิตของตนเองและครอบครัวให้มีสภาพดีขึ้น กวา่ เดิม จะเหน็ ว่าวัฒนธรรมกับสงั คมต้องไปดว้ ยกนั เสมอ มผี ลเก่ยี วเนื่องกนั โดยเฉพาะในระบบความสัมพันธ์ของมนุษย์ท่ีอยู่ร่วมกันในสังคม ซึ่งส่ิงเหล่าน้ีก็มีความสัมพันธ์กัน โครงสร้างของสังคมด้วย เช่น การรับเอาแบบอย่างความเป็นอยู่ในเร่ืองอาหารการกิน การแต่งกาย การ พักผ่อนหย่อนใจ โดยส่งิ เหลา่ นไี้ ม่ถือเป็นการเปล่ยี นแปลงทางสงั คมเวน้ เสียแตก่ ารเปลีย่ นแปลงทางวัฒนธรรม มีผลสะท้อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบความสัมพันธ์ของบุคคลแตกต่างไป จากที่เคยเป็นอยู่มาแต่ เดิม เ ช่ น 1. แต่เดิมความสัมพันธ์เป็นแบบใกล้ชิด เช่น การลงแขกทางการเกษตรแต่เมื่อมีเทคโนโลยีเข้ามา ความสัมพันธ์ของคนในสังคมกน็ ้อยลง 2. ในอดีตสร้างบ้านเหมาะกับธรรมชาติต่อมาเลียนแบบตะวันตกเม่ืออากาศร้อนก็ต้องพ่ึง แอร์ คอนดชิ น่ั สงิ่ แวดล้อมกเ็ ปลีย่ นไป 3. การละเลน่ ในอดีต เช่น ราวง คนมีความสมั พันธก์ นั ซ่งึ แตกต่างจาการดคู อนเสริ ต์ ในปจั จุบันท่ีมีสว่ น รว่ มแตข่ าดความสัมพันธ์ วเิ คราะหส์ าเหตทุ ท่ี าให้เกดิ การเปลีย่ นแปลง การเปลี่ยนแปลงทางสงั คมส่วนใหญ่มสี าเหตุมาจากการ ตอบสนองความต้องการของมนุษย์เพื่อให้มีชีวิตความเปน็ อยู่ท่ีดี ข้นึ แตผ่ ลที่ตามมาจะทาใหส้ งั คมเปล่ยี นแปลงไป พอสรุปไดด้ งั น้ี สาเหตกุ ารเปลยี่ นแปลง 1. ความต้องการปรุงแต่งวัฒนธรรม สังคมของตนให้ ภาพท่ี 2.15 : การแตง่ กายสมยั ปัจจบุ ัน เจริญงอกงามขึ้น มีการคิดค้นวัฒนธรรมใหม่ ดัดแปลงให้ ที่มา : https://lifestyle.campus-star.com เหมาะสมกับสังคมปัจจุบัน จึงทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงทาง วนั ที่สืบคน้ : 3 ธ.ค. 59 วฒั นธรรม เชน่ การแต่งกาย 2. การเปล่ียนแปลงของธรรมชาติ เช่น สภาพดินฟ้าอากาศ ความแห้งแล้ง น้าท่วม อากาศร้อนจัด หนาวจัดการเสื่อมสภาพของดิน การเปล่ียนแปลงดังกล่าวทาให้มนุษย์คิดค้นส่ิงประดิษฐ์ใหม่ ๆ เพื่อควบคุม การเปล่ียนแปลงไป เช่น การสร้างเขื่อนเพ่ือป้องกันน้าท่วมแต่เป็นการทาลายป่าไม้และสัตว์ป่าการดัดแปลง

ธรรมชาติ เช่น ตู้เย็น แอร์คอนดิช่ัน ปล่อยสาร CFC ทาให้โลกร้อนเกิดสภาวะเรือนกระจกทาให้โลก เปลย่ี นแปลงไป สภาพสังคมวฒั นธรรมกเ็ ปล่ียนแปลงไป 3. การเปลี่ยนแปลงตามความต้องการของมนุษย์ โดยมนุษย์มีเชาว์ปัญญาสูง ทาให้เกิดการนึกคิด น า ไ ป สู่ การเปลย่ี นแปลง มนุษยจ์ าเปน็ ต้องแสวงหาสง่ิ ตอบแทนสนองความต้องการของงานที่เพมิ่ ขึน้ การคดิ ค้นสิ่งใหม่ ๆ และวิธีการใหม่ ๆ เป็นผลทาให้วัฒนธรรมเปลี่ยนแปลงไปทางเทคโนโลยีการสื่อสาร ทาให้เด็กไทยปัจจุบัน เขียนหนังสือไมถ่ กู ลายมือ ไม่สวยเพราะได้รับอิทธพิ ลมาจากหนงั สือการ์ตูน ตัวอกั ษรไทยผิดเพี้ยนไปรักความสบาย มากขนึ้ เดก็ ปจั จุบนั ใชโ้ ทรศพั ทน์ านมากมีปัญหาตอ่ การได้ยนิ มีปัญหาต่อทางสมอง 4. การเปล่ียนแปลงสิ่งแวดล้อมทางสังคม เช่น ประชากรมีจานวนมากขึ้น ทาให้มีการแข่งขันกันสูง เกิดความขัดแย้ง (Class Conflict) เพิ่มมากข้ึน อันเป็นปัญหาท่ีมนุษย์ต้องหาวิธีการสร้างระเบียบ เพื่อแก้ไข ความย่งุ ยากดังกลา่ ว ดังนั้น วัฒนธรรมของมนุษย์ย่อมเปล่ียนแปลงไปด้วยเมื่อเกิดความขัดแย้งทางความคิดตามหลั ก ประชาธิปไตยคนในสงั คมมีสทิ ธิชุมนุม แต่ต้องโดยสงบแตถ่ า้ เกดิ ความวุ่นวายกต็ อ้ งออกกฎหมายเพ่อื ควบคุมให้ เกิดความสงบซึ่งสงั คมในอดีตมกั ใชส้ นั ติวธิ ีการประนีประนอมแตกตา่ งจากปัจจุบนั 5. การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมจากสังคมอื่น ซ่ึงเกิดจากความเจริญในด้านการส่ือสารการคมนาคม ตดิ ตอ่ ถงึ กันเปน็ อยา่ งสะดวกรวดเร็วการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมจากสังคมอน่ื จงึ เป็นไปอย่างกว้างขวางจะเห็นได้ ว่าปัจจุบัน แฟชั่น การแต่งกาย เปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็วมาก เพราะความเจริญก้าวหน้า ของการสื่อสาร น่นั เอง 6. การพัฒนาการความรแู้ ละเทคโนโลยใี หมๆ่ ทาให้เกดิ การเปล่ียนแปลงทางทัศนคตคิ วามเช่ือแบบเดิม หันไปนิยมแบบใหม่ เพ่ือต้องการให้เป็นผู้ที่เรียกว่า ทันสมัยไม่ล้าหลัง มีการปรับปรุงแนวคิดใหม่ ๆ อยู่เสมอ 7. วัฒนธรรมอาจเปล่ียนแปลงได้เน่ืองจากความประสงค์ของผู้มีอานาจ เช่น คาพูดท่ีว่า \"เช่ือผู้นา\" ในสมยั จอมพล ป. พบิ ูลสงคราม อดีตนายยกรฐั มนตรีของไทย ปี พ.ศ. 2481 - 2487วฒั นธรรมสมัยจอมพล ป. พบิ ลู สงคราม มีอานาจในช่วงสงครามโลกคร้ังท่ี 2 จอมพล ป. พบิ ลู สงครามมีอานาจในช่วงสงครามโลกคร้ังท่ี 2 จอมพล ป. พบิ ลู สงคราม นายกรัฐมนตรีสมัยนัน้ ห้ามคนไทยกินหมาย หา้ มหญงิ นุ่งโจงกระเบน และชายหญิง ออกจากบา้ นตอ้ งสวมหมวกจึงมีเพลงเชญิ ชวนเกดิ ขึ้นโดยกรมโฆษณาการ(กรมประชาสัมพนั ธ)์ เพอ่ื ใหท้ ดั เทียม ชาตติ ะวนั ตก 8. การมองเห็นประโยชน์และความจาเป็นของส่ิงนั้น ๆ ทาให้รับเอาวัฒนธรรมน้ัน ๆ มาใช้ในการ ดาเนินชีวิตเมื่อประชาชนมากข้ึน มีความจาเป็นต้องอาศัยการผลิตแบบอุตสาหกรรม การใช้เครื่องจักรช่วยใน การผลิตตามระบบโรงงาน จากสาเหตุดังกล่าวทั้ง 8 ข้อ จะเห็นว่าวัฒนธรรมจะมีการเปล่ียนแปลงไปตาม กาลเวลาสถานภาพสงั คม เศรษฐกจิ การเมอื ง การศึกษา เทคโนโลยีใหม่ ๆ การเพมิ่ ของประชากร ฯลฯ มสี ว่ น ทาให้สภาพแวดล้อม สภาพจิตใจ ความเช่ือ ทัศนคติเปลี่ยนแปลงไป วัฒนธรรมจึงต้องเปล่ียนแปลงปรับปรุง เพื่อสอดคล้องตามไปดว้ ยในการวิเคราะหถ์ ึงสาเหตุทที่ าใหเ้ กดิ การเปลีย่ นแปลง แบง่ ออกได้เป็น 2 ปจั จัย คอื 1. ปจั จัยภายนอก 1.1 การหลั่งไหลเข้ามาของวัฒนธรรมตะวันตก หรือวัฒนธรรมสมัยใหม่ ซ่ึงเป็นวัฒนธรรมที่ เรียบงา่ ยไม่สลับซบั ซอ้ น ส่งผลให้เกดิ การเรยี นร้แู ละรบั วฒั นธรรมตะวันตกเข้ามา

1.2 การเปรียบเทียบวัฒนธรรมตะวันตกที่ไม่ ซับซ้อน กบั วัฒนธรรมดังเดิมของท้องถ่ิน ซ่ึงสลบั ซับซอ้ น ลกึ ซ้งึ เข้าใจได้ยาก ส่งผลให้ละเลยและหลงลืมวัฒนธรรมด้ังเดิม เด็กยุคใหม่หลงลืมวัฒนธรรมมารยาทไทยซึ่งเป็นส่ิงดีงามไป แต่กลบั ไปเลียนแบบวฒั นธรรมตะวนั ตก 1.3 ความเจริญทางเทคโนโลยีท่ีเข้ามา เช่น การพิมพ์ วทิ ยุ โทรทศั น์ นับเปน็ ส่อื อนั สาคญั ท่ีทาให้ชมุ ชนได้รับ ข่าวสารเร่ืองราวต่าง ๆ เกิดการเรียนรู้ ยอมรับและปรับเปลี่ยน ภาพที่ 2.16 : ความเจริญทางเทคโนโลยี วัฒนธรรมท้องถิ่น โดยมุ่งความทันสมัยไม่คานึงถึงรากฐาน ที่มา : http://www.ขายทีวี.com/product/239 วัฒนธรรมและประเพณดี ้งั เดมิ 2. ปัจจัยภายใน วันทีส่ ืบค้น : 7 ธ.ค. 59 2.1 ความเจริญทางด้านสังคมและชุมชน จังหวัดได้มีการวางแผนโครงการด้านต่าง ๆ ทาให้ ท้องถ่ินเกิดความเจริญ มคี วามสะดวกสบายในดา้ นต่าง ๆ 2.2 เมื่อสังคมและชุมชนมีการขยายตัวอย่างขกว้างขวางผู้คนหันไปสนใจเศรษฐกิจมากข้ึน เกดิ การแข่งขันทาใหเ้ กดิ การหลงลืมกจิ กรรมด้านวัฒนธรรมท้องถ่ิน 2.3 ความไม่เข้าใจในวัฒนธรรมท้องถ่ินดังเดิม ไม่ได้ศึกษา ทาให้ยากต่อการปฏิบัติและขาด ความกลา้ ในการปฏิบัติตามวัฒนธรรม รวมถึงการแต่งกาย ภาษาพดู ขนบธรรมเนียมประเพณี ปัญหาทีเ่ กิดขึ้น จากปัจจัยที่เกิดการเปล่ียนแปลงด้านสังคมและวัฒนธรรม เป็นผลให้เกิดปัญหาทางสังคมข้ึนหลายประการ ยกตัวอย่างดังตอ่ ไปนี้

สรุป ศลิ ปวฒั นธรรมไทย คอื สิ่งทีม่ นุษยส์ รา้ งขนึ้ มาน่นั เอง ไม่ว่าจะเปน็ การละเลน่ การแสดง การรอ้ งเพลง พฤติกรรม และบรรดาผลงานทั้งมวลที่มนุษย์ได้สร้างสรรค์ขึ้น ไม่ว่าจะเป็นงานด้านจิตกรรม สถาปัตยกรรม ตลอดจนความคิด ความเช่ือ ความรู้ ลักษณะท่ีแสดงความเจริญงอกงาม ความประพฤติและกิริยาอาการ วัฒนธรรมทมี่ นษุ ย์ปรับปรงุ เปล่ียนแปลงหรือผลิตขึน้ มีมาตงั้ แต่สมัยก่อนสโุ ขทยั จนมาถงึ ปัจจุบนั โดยทั่วไปแล้ว แบง่ วฒั นธรรมออกเปน็ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คอื วัฒนธรรมท่ีเป็นวัตถุ ซ่ึงได้แกส่ ่ิงประดิษฐแ์ ละเทคโนโลยตี ่าง ๆ ทมี่ นุษย์คิดค้นผลติ ขนึ้ มา เชน่ สงิ่ กอ่ สร้าง อาคารบา้ นเรอื น อาวุธยทุ โธปกรณ์ เครอ่ื งอานวยความสะดวกตา่ ง ๆ วัฒนธรรมท่ีไม่ใช่วัตถุ หมายถึง อุดมการณ์ ค่านิยม แนวคิด ภาษา ความเช่ือทางศาสนา ขนมธรรมเนียม ประเพณี ลัทธิการเมอื ง กฎหมาย วิธกี ารกระทา และแบบแผนในการดาเนินชวี ิต ซึ่งมีลกั ษณะเปน็ นามธรรม ที่ มองเห็นไม่ได้สังคมประชาธิปไตยความเป็นมาของการปกครองระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทยได้ เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาสิทธิราชย์ มาเป็นระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษตั รยิ ์ เป็นประมุขรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด ในการปกครองประเทศ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของ ประเทศ ทรงใช้พระราชอานาจตามที่กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ หลักสาคัญของการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย 1. อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน 2. ยึดหลักเสรีภาพ 3. ยึดความเสมอภาค 4. ยึดหลัก กฎหมาย 5. ผู้ปกครองประเทศหรือรัฐบาลต้องมาจากการเลือกตั้ง การเปล่ียนแปลงทางศิลปวัฒนธรรม 1. การเปล่ียนช่ือประเทศสยาม เป็นประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. 2482 2. การกาหนดวันขึ้นปีใหม่ โดยเปล่ียนเป็น วันท่ี 1 มกราคม ตามสากลนิยม แทนวันท่ี 1 เมษายน เร่ิมตั้งแต่ พ.ศ. 2484 3. มีการประกาศใช้ พระราชบญั ญตั ิวัฒนธรรมแหง่ ชาติ พ.ศ. 2483 ให้คนไทยแตง่ กายให้เหมาะสม คอื นุ่งกางเกงแทนผ้าม่วงหรือ โจงกระเบน สาหรับชาย ส่วนสตรีให้สวมกระโปรง และยังต้องสวมเสื้อ รองเท้าหมวก ด้านศิลปกรรม 1. สถาปตั ยกรรม รับอทิ ธพิ ลของชาติตะวันตก เชน่ การสรา้ งอนสุ าวรีย์ อาคารต่าง ๆ 2. วรรณกรรมตะวันตกที่ เคยมีการแปล ก็ถูกดัดแปลงหรอื แต่งข้ึนมาโดยคนไทยมากขนึ้ 3. นาฏกรรม เช่น โขน ละคร เสื่อมความนิยม ลง เนื่องจากมีความบันเทิงหลายหลากมากข้ึนทั้งภาพยนตร์ โทรทัศน์ สาเหตุการเปลี่ยนแปลง 1. ความ ต้องการปรุงแต่งวฒั นธรรม สงั คมของตนให้เจรญิ งอกงามข้ึน มีการคิดค้นวฒั นธรรมใหม่ ดัดแปลงให้เหมาะสม กับสงั คมปัจจุบนั จงึ ทาให้เกดิ การเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรม 2. การเปลยี่ นแปลงของธรรมชาติ เชน่ สภาพดิน ฟ้าอากาศ ความแห้งแล้ง น้าท่วม อากาศร้อนจัด หนาวจัดการเส่ือมสภาพของดิน การเปล่ียนแปลงดังกลา่ ว ทาใหม้ นษุ ยค์ ิดค้นสิง่ ประดษิ ฐใ์ หม่ ๆ เพือ่ ควบคมุ การเปลี่ยนแปลงไป เป็นต้น

ครเู นาวรตั น์ ทองโสภา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook