หลกั ธรรม
ความรทู้ ว่ั ไปเกย่ี วกับหลักธรรม บทความออนไลน์ : http://www.satit.up.ac.th ไดใ้ ห้ความหมายของ หลักธรรม คอื คาสอนเปน็ เครื่อง ยึดเหน่ียวจติ ใจของศาสนกิ ชน โดยทกุ ศาสนามี เปา้ หมายเดียวกนั คือ “มุง่ ใหท้ ุกคนมีธรรมะ มคี ณุ ธรรม และสอน ใหค้ นเปน็ คนดี บทความออนไลน์ : http://apps.qlf.or.th/member/blog ไดใ้ หค้ วามหมายของ หลกั ธรรม คือ พน้ื ฐาน แห่งความเจริญแห่งชีวิต อันได้แก่ จักร 4 และทิฏฐธัมมิกัตถะ 4 โดยสามารถนาปัญญาที่ประกอบด้วยธรรม สัปปรุ ิสธรรม 7 และมรรคมีองค์ 8 ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่า หลักธรรม คือ คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้าเพ่ือใช้ในการดาเนินชีวติ อย่างมีความสขุ อยู่บนพ้ืนฐานความเจริญแห่งชีวิต อันได้แก่ จักร 4 และทิฏฐธัมมิกัตถะ 4 โดยสามารถนาปัญญาที่ประกอบด้วย ธรรม สัปปรุ สิ ธรรม 7 และมรรคมอี งค์ 8 เปน็ เครื่องยดึ เหนยี่ วทางจิตใจ ทุกข์ คือ กายกับใจ คือรูปกับนาม ท่านไล่ๆ ลงไปเรื่อยๆ นะ สาวลงไปจนกระท่ังท่านรู้แจ้งต้นตอแห่ง สังสารวัฎก็คอื อวิชชา คอื ความไมร่ ู้ อวิชชาคือ ไม่รู้ทุกข์ ไม่รู้สมุทัย ไม่รู้นิโรธ ไม่รู้มรรคไม่รู้ทุกข์ ก็คือไม่รู้ว่ากายนี้ใจนี้คือตัวทุกข์ และก็ไม่รู้ หน้าท่ีต่อทุกข์ว่า ทุกข์นี่เป็นส่ิงท่ีต้องรู้ ทุกข์ไม่ใช่ส่ิงที่ต้องละ พวกเราที่ไม่ได้ศึกษาธรรมะ เวลาเจอทุกข์เราจะ หาทางละ ย่ิงอยากละทุกข์ จะยงิ่ ทกุ ข์มากขน้ึ จาไว้นะ พระพุทธเจ้าไม่ไดส้ อนให้ละทุกข์ ทา่ นบอกทุกขใ์ ห้รู้ อนั แรก ทุกขค์ อื อะไร ทกุ ขค์ ือรปู นาม ทกุ ข์คือกายกบั ใจ หน้าทีต่ อ่ ทกุ ข์ คือการรู้ ความรู้ในอริยสัจข้อที่ 2 กค็ ือรู้สมุทัย อะไรคือสมทุ ัย ความทะยานอยากของจิต คือ สมุทัย จิตมันทะยาน อยากตลอดเวลานะ ทะยานอยากเข้าไปแล้วจติ ก็จะดนิ้ รนทางาน จิตด้ินรนทางานความทกุ ข์ทางใจก็จะเกิดซ้าซ้อน ข้ึนมาอีก กายนี้ใจนี้เป็นตัวทุกข์ แต่ว่าสติปัญญาของเรายังไม่เห็น เราจะเห็นตอนที่ว่าสมุทัยทางานแล้วมีความ อยากขึ้นมา ใจดิน้ รนขนึ้ มาแล้วถึงจะทุกข์ นี่เราเห็นทุกข์ในระดับน้ี วิชาหรือวา่ ความรอู้ นั ที่ 3 คือนิโรธ นิโรธคอื นพิ พาน นิพพานคือสภาวะทส่ี นิ้ ตัณหา ส้นิ ความทะยานอยาก ของจิต สิ้นความปรุงแต่งสิ้นขันธ์ ส้ินทุกข์ หน้าที่ต่อนิพพานคือการเข้าไปประจักษ์ ไม่ใช่ทาให้เกิดขึ้น ถ้ามาถาม หลวงพ่อว่า ทาอย่างไรมรรคผลนิพพานถึงจะเกิดขึ้น อันนี้ต้งั คาถามผดิ คาถามทถี่ กู ทาอยา่ งไรมรรคผลนิพพานถึง จะเกิด ทาอยา่ งไรถึงจะรแู้ จง้ นพิ พาน นพิ พานไมไ่ ด้เกิดขึ้น นพิ พานมอี ยูแ่ ลว้ แต่เราไมเ่ ห็นเอง เราเดนิ ชนนิพพานแต่ เราไม่เห็น ฉะนั้นสัจจะความจริงอันท่ี 3 ก็คือนิโรธ นิโรธคือนิพพาน สภาวะที่สิ้นตัณหา หน้าที่ของเราคือ เข้าไป รูจ้ ักใหไ้ ด้ วธิ ที ี่จะเข้าไปรูจ้ ักกค็ ือการเจริญมรรคนะ มรรคมีองค์ 8 ประการ เร่ิมต้นด้วยสัมมาทิฎฐิมีความเห็นท่ีถกู ลงด้วยสัมมาสมาธิใจที่ตั้งมั่น มีใจที่ตั้งมั่นมี สติรู้ความจริงของกายของใจเรื่อยไป น่ีการเจริญสติ “มีสติ รู้กายรู้ใจตามความเป็นจริงด้วยจิตท่ีตั้งม่ันและเป็น กลาง” น่ีทาสติปัฎฐานทาอย่างนี้ ทาวิปัสสนากัมมัฎฐานทาอย่างนี้ รู้ลูกเดียวเลยนะ รู้ไปเร่ือยๆ เพ่ืออะไร เพ่ือวัน หนึ่งจิตจะฉลาด จิตทุกวันนี้สะสมแต่ความรู้ผิดความเข้าใจผิดตลอดเวลา จิตของเรานะตั้งแต่เกิดมาเราก็ร้สู ึกวา่ น่ี คือตัวเรา นีพ่ อ่ ของเรา เรามาหัดทาวปิ ัสสนานีเ่ พอื่ ให้เห็นของจริงวา่ ตัวเราไม่มี ถา้ ตัวเราไม่มขี องเรากไ็ มม่ ี มนั มขี อง เราได้ก็เพราะมันมีตวั เราข้นึ มา ส่งิ ทเ่ี รยี กว่าตวั เราคอื อะไร คอื กาย กบั ใจ
หลักธรรมเพ่อื การพัฒนางาน ธรรมะทเี่ หมาะสมสาหรับผู้ปฏิบัติงาน คือ \"อิทธิบาท 4\" ซงึ่ หมายถงึ ธรรมแหง่ ความสาเร็จ ประกอบด้วย ฉันทะหรือ ความพอใจ หมายถึง ผู้ปฏิบัติงานต้องชอบหรือศรัทธางานท่ีทาอยู่ และมีความสุขกับงานท่ีได้รับ มอบหมาย วิริยะ หรือ ความพากเพียร ผู้ปฏิบัติงานจะต้องมีความขยันหมัน่ เพียรในการทางานที่ได้รับมอบหมาย รวมท้ังหม่นั ฝึกตนเองอยา่ งตอ่ เนือ่ ง เพอ่ื ใหก้ ารทางานมปี ระสทิ ธิภาพมากขนึ้ จติ ตะ หรอื ความเอาใจใส่ หมายถงึ ผปู้ ฏบิ ัตงิ านจะต้องมจี ิตใจหรือสมาธจิ ดจอ่ กบั งานที่ทา รวมถงึ มีความ รอบคอบและความรับผิดชอบในงานที่ทาอย่างเต็มสติกาลัง และ วิมังสา หรือ ความหม่ันตริตรองพิจารณาหา เหตผุ ลในงานที่ทา ทางานดว้ ยปัญญา ดว้ ยสมองคิด รวมถึงเขา้ ใจในงานอย่างลกึ ซึ้ง ทั้งในแง่ขั้นตอนและผลสาเร็จ หรือผลสัมฤทธข์ิ องงาน แต่ขึ้นช่ือว่า \"งาน\" ทุกอย่างไม่สามารถทาสาเรจ็ ด้วยคนเพียงคนเดียว หากแต่ต้องอาศัยความร่วมมือรว่ ม ใจซึง่ กนั และกัน ธรรมะทเ่ี หมาะสมสาหรบั การทางานร่วมกนั คือ \"สงั คหวตั ถุ 4\"หมายถงึ หลักธรรมทเี่ ปน็ เครือ่ งยึด เหน่ียวนาใจของผอู้ ืน่ ผูกไมตรแี ละเออ้ื เฟอ้ื เกอ้ื กลู ได้แก่ ทาน หรือ เก้ือกูลกันด้วยการให้ การเสียสละ การเอ้ือเฟ้ือแบ่งปันของๆ ตนเพ่ือประโยชน์แก่บุคคลอ่ืน ไม่ตระหนี่ถ่ีอทิ ธิบาท 4 สังคหวัตถุ 4 สร้างการทางานให้เป็นสุข thaihealthเหนียว ไม่เป็นคนเห็นแก่ได้ฝ่ายเดียว และการใหท้ ่ียิ่งใหญค่ ือการใหอ้ ภยั ปิยวาจา หรือ การใช้วาจาประสานไมตรี การพูดจาด้วยถ้อยคาท่ีไพเราะอ่อนหวาน พูดด้วยความจริงใจ ไมพ่ ูดหยาบคาย กา้ วร้าว พดู ในส่ิงทีเ่ ปน็ ประโยชน์และเหมาะสมกับกาลเทศะ ดงั นนั้ การทางานร่วมกันจะต้องพูด หรือปรึกษาหารอื กนั โดยยึดถือหลักเกณฑ์ 4 ประการ คือ 1.เว้นจากการพูดเท็จ 2.เว้นจากการพูดส่อเสียด 3.เวน้ จากการพูดคาหยาบ และ4.เว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ และท่ีสาคัญอย่างย่ิงคือต้องพูดหรือเจรจากันด้วยไมตรีและ ความปรารถนาดีต่อกนั อัตถจริยา หรือ ร่วมสร้างสรรค์อุดมการณ์ การปฏิบัติในส่ิงที่เป็นประโยชน์ต่อผู้อ่ืน เพราะการทางาน ร่วมกันต้องช่วยเหลือกันด้วยกาลังกาย กาลังความคิด และกาลังใจ และ สมานัตตา หรือ การเป็นผู้มีความ สม่าเสมอ ประพฤติเสมอต้นเสมอปลาย ผู้ทางานร่วมกันทุกคนจะต้องไม่ถือตัว มีความเสมอภาค วางตนเสมอตน้ เสมอปลาย ทาตนใหเ้ ป็นทน่ี ่ารัก น่าเคารพ นับถอื และนา่ ใหค้ วามรว่ มมอื ชว่ ยเหลือ เห็นได้ว่าหลักธรรมท่ีใช้ในการทางานที่กล่าวมา ท้ังอิทธิบาท 4และสังคหวัตถุ 4 เป็นเรื่องง่ายๆ ใกล้ตัวท่ี ปฏิบตั ิกันอยู่แลว้ ในฐานะปัจเจกชน แต่ยังขาดความเข้มขน้ เอาจริงเอาจัง หากทุกคนสามารถปฏบิ ัตไิ ด้พร้อมกับทา หน้าท่ีของตนเต็มกาลังความสามารถอย่างสมบูรณ์ย่อมสร้างบรรยากาศในการทางาน ในแบบงานสัมฤทธิ์ ชีวิต รืน่ รมย์ไดอ้ ย่างแน่นอน
หลักธรรมในการพฒั นาตนเอง การพัฒนา หมายถึง การปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงอะไร บางอยา่ งใหด้ ีขนึ้ โดยอาจเป็นสงิ่ ท่ียงั ไม่ดีให้กลายเป็นดี หรือสง่ิ ท่ีดี อยู่แล้วให้ดียิ่งข้ึน โดยเฉพาะการพัฒนาตนเอง ซ่ึงอาจมองได้เป็น 2 ทาง คอื การพฒั นาตนให้เปน็ คนดี กับ การพฒั นาตนใหเ้ ปน็ คนเกง่ พระพุทธศาสนามีหลักธรรมที่ส่งเสริมให้มนุษย์สามารถ พฒั นาตนให้เปน็ ทัง้ คนดแี ละคนเกง่ อยู่มากมาย ตวั อย่างหลกั ธรรม เหลา่ น้ี ไดแ้ ก่ ภาพที่ 5.1 : หลกั ธรรมในการพฒั นาตนเอง 1. หลักธรรมสาหรบั การพฒั นาตนให้เป็นคนดี ท่มี า : เนาวรัตน์ ทองโสภา 1. เบญจศีล หรือ ศีล 5 เป็นหลักธรรมที่ว่าด้วย วนั ที่ : 21 ม.ค. 60 การรกั ษากายและวาจาให้เรียบรอ้ ยเปน็ ขอ้ ปฏิบัติในการละเว้นจาก ความชัว่ และรจู้ ักควบคมุ ตัวใหต้ ัง้ อย่ใู นความไมเ่ บียดเบียน มี 5 ประการ คือ 1.1 การไมฆ่ า่ สตั ว์หรอื ทรมานทารา้ ยสัตว์ 1.2 การไมล่ ักขโมยสิ่งของของผอู้ นื่ 1.3 การไมป่ ระพฤติผิดลกู เมียของผ้อู ่นื 1.4 การไมพ่ ดู โกหก 1.5 การไม่ด่ืมสุราหรือเสพส่ิงเสพติด 2.เบญจธรรม หรือ เบญจกัลยาณธรรม เปน็ หลักธรรมท่ีเกอื้ กูลแก่การรกั ษาเบญจศีลโดยมุ่งเน้นท่ี การกระทาเพ่มิ มใิ ชก่ ารละเวน้ เพียงอยา่ งเดยี ว มี 5 ประการ ไดแ้ ก่ 2.1 เมตตาและกรุณา คอื มีความรักและปรารถนาใหผ้ ู้อน่ื มีความสขุ 2.2 สัมมาอาชีวะ คือ การทามาหาเลี้ยงชพี ในทางสจุ รติ 2.3 กามสังวร คอื รู้จักสารวม ระมดั ระวงั และยับยง้ั ควบคุมตนในทางกามารมณ์ 2.4 สจั จะ คอื มคี วามซอ่ื สัตย์ ซื่อตรง 2.5 สตสิ ัมปชญั ญะ คือ รู้จักยัง้ คิดและรสู้ ึกตัวอย่เู สมอว่า สิ่งใดควรทาและไมค่ วรทา 2.หลกั ธรรมสาหรบั การพฒั นาตนใหเ้ ปน็ คนเก่ง 1. อทิ ธิบาท 4 หมายถึง หลกั ธรรมทนี่ าไปสู่ความสาเร็จสมดงั ความมงุ่ หมาย มี 4 ประการ ไดแ้ ก่ 1.1 ฉันทะ ความพอใจ คอื ความตอ้ งการที่จะทาส่งิ น้นั ๆอยู่เสมอ และยังปรารถนาที่จะทาให้ สิ่งนั้นไดผ้ ลดยี ิ่งขน้ึ 1.2 วิริยะ ความเพียร คือ ความขยันทจ่ี ะทาสง่ิ นน้ั ด้วยความอดทนและไมท่ ้อถอย 1.3 จิตตะ ความคิด คือ การต้ังจิตรับรู้ในส่ิงท่ีทาและทาสิ่งน้ันด้วยความคิด ไม่ปล่อยจิตให้ ฟุ้งซ่านเล่อื นลอยไป 1.4 วิมังสา ความไตร่ตรอง คือ การหมั่นใช้ปัญญาพิจารณาหาข้อดีข้อบกพร่อง รู้จักคิดค้น วิธีแก้ไขปรับปรุง 2. พละ 5 หมายถงึ หลักธรรมอนั เปน็ กาลงั หรือทาให้เกิดความมนั่ คง คอื ช่วยให้การทางานลุล่วง สาเรจ็ ได้ มี 5 ประการ ไดแ้ ก่
1. สัทธา คอื มคี วามเชอ่ื มั่นหรือสัทธาในสิง่ ท่ตี นเองทา 2. วิริยะ คือ ความเพยี ร ปราศจากความเกียจครา้ น 3. สติ คอื มคี วามระลึกได้ ไม่ประมาท 4. สมาธิ คือ มีจติ ตั้งม่นั ไมม่ คี วามฟ้งุ ซ่าน 5. ปญั ญา คอื มคี วามร้ชู ัดเจนเกยี่ วกบั ส่งิ ท่ีกระทา หลักธรรมในการพฒั นาสงั คม หลักธรรมข้อน้ีใช้เพ่ือพัฒนาสังคม หรือช่วยสงเคราะห์คนในชุมชน องค์กร ประเทศชาติ หากไม่มีการ เกือ้ กลู แกก่ นั และกันประเทศชาติย่อมวุ่นวายไมม่ ีที่สนิ้ สดุ เพราะคนมีความลาบากในการแสวงหาปัจจัยพ้นื ฐานของ ชีวติ ประกอบไปดว้ ย สงั คหวตั ถุ 4 และราชสังคหวัตถุ 4 ประการ ดงั น้ี 1. หลกั สงั คหวตั ถุ 4 หลักสังคหวัตถุ ก็คือหลักแห่งการสงเคราะห์เก้ือกูลกันในสังคมชุมชน ท่ีมีคนต่างระดับกันไม่ว่าจะเป็นด้าน ฐานะ ความเป็นอยู่ รูปแบบการดาเนินชีวิต ในสังคมหน่ึงย่อมจะต้องมีความบกพร่องและมีส่วนเกินทางด้าน ทรพั ยส์ นิ และเครือ่ งดาเนนิ ชีวติ อยไู่ มม่ ากก็นอ้ ย ดังน้ี 1. ทาน การแบง่ ปนั ธรรมะข้อนเี้ ปน็ พื้นฐานของมนษุ ย์ทีจ่ ะมกี ารเอ้อื อาทรต่อกนั คือการหยิบย่นื ให้แก่กัน และกัน ซึ่งการหยบิ ย่นื ให้กนั และกันนนั้ อยู่ที่ใจทจ่ี ะเสียสละออกไปมากกว่าการถูกบังคับด้วยระบอบทางการเมือง ดงั นน้ั จะเหน็ วา่ ความละเอียดออ่ นในเร่อื งนม้ี คี วามแตกต่างกันอย่างชดั เจน คือ ระบอบธรรมาธปิ ไตย มองทานหรือการให้แบ่งปนั เปน็ เรื่อง ปจั เจกชนทม่ี องดูท่ใี จหรือการเออื้ อาทรต่อกัน เป็นหลัก ระบอบประชาธิปไตย มองทานทีก่ ารเฉล่ียผลประโยชนท์ างดา้ นภาษที ่ีเกบ็ ได้ในแต่ละปี ระบอบสังคมนิยม มองทานท่ีการบังคับใช้ทางกฎหมาย หรือการยึดจากปัจเจกชนมาเป็นของรัฐหรือ ส่วนรวม (ระบบคอมมูน) เปน็ ต้น 2. ปิยวาจา การพูดดว้ ยคาอันเป็นท่ีรกั ธรรมะข้อนมี้ ุ่งไปทก่ี ารสื่อสารกนั ในระดบั ต่าง ๆ เพอ่ื มคี วามเข้าใจ รว่ มกนั เปน็ หนึ่งเดยี ว เพราะการอยู่ร่วมกันในสังคมหากไม่มีปิยวาจาท่ีมอี งค์ประกอบเหล่าน้ีคือ ไมพ่ ูดเทจ็ - ไมพ่ ูด ส่อเสยี ด - ไม่พูดคาหยาบ -ไม่พดู เพอ้ เจ้อต่อกัน สงั คมนั้นกจ็ ะไมม่ ีความหวาดระแวงตอ่ กนั เป็นต้น 3. อัตถจริยา การประพฤติตนให้เป็นประโยชน์ ธรรมะข้อนี้มุ่งไปที่การดารงตนให้มีประโยชน์ต่อผู้อื่น หรือสงั คม ดงั สุภาษิตไทยวา่ อยบู่ า้ นทา่ นอยา่ นง่ิ ดูดาย ป้ันวัวปนั้ ควายใหล้ ูกทา่ นเล่น อยา่ งนีเ้ ปน็ ตน้ เปน็ นา้ ใจเลก็ ๆ น้อย ๆ ทผี่ ูอ้ ย่รู ว่ มกันจะพงึ กระทาตอ่ กนั 4. สมานัตตตา การทาตนใหเ้ ปน็ คนเสมอตน้ เสมอปลาย ธรรมะขอ้ น้มี ุ่งไปท่กี ารประพฤติตนเองทว่ี างตวั ตน ให้เสมอต้นเสมอปลาย หรือการเป็นผู้ประสานงานที่ดตี ่อสังคมชุมชนองค์กรท่ีตัวเองสังกัดอยู่ ไม่เป็นคนยุยงทาให้ คนในสังคมแตกแยกกัน 2. หลกั ราชสังคหวัตถุ 4 ผู้บริหารบ้านเมืองเม่ือได้อานาจมาแล้วต้องบริหารจัดการให้ดี ไม่อยากเป็นเพราะอยากได้ตาแหน่ง แต่อยากเป็นเพราะต้องการทางาน โดยทางานเพื่อองค์กรนั้น ๆ และที่สาคัญต้องมีการบารุงขวัญกาลังใจลูกนอ้ ง หรือผอู้ ยูใ่ ตบ้ ังคับบญั ชา ดังนี้
1. สสั สเมธะ รู้จกั บารุงธญั ญาหาร ธรรมะขอ้ นี้มงุ่ ไปท่ีการให้ตน้ ทุนสาหรับการทามาอาชีพของราษฎร ใน อินเดียโบราณมอี าชีพหลักคอื การเกษตรแบบพอมีพอกนิ ผนู้ าจงึ ตอ้ งมกี ารแจกจ่ายต้นทุนสาหรับเลย้ี งชวี ติ ของผู้ใต้ ปกครอง 2. ปุรสิ เมธะ รู้จักบารงุ ขา้ ราชการบริพาร ธรรมะข้อนม้ี ่งุ ไปทก่ี ารบารงุ ขวัญและกาลงั ใจขา้ ราชบรวิ ารที่รับ ใช้เป็นแขนเป็นขาให้ ดังนี้ผู้บริหารจาเป็นจะต้องมีการเพิ่มเงินเดือน มีการให้รางวัล มีโบนัสประจาปี ให้กับ ผใู้ ตบ้ ังคับบัญชาตามสมควรแกฐ่ านะ, สถานท่ีและเวลาโอกาส เป็นตน้ 3. สัมมาปาสะ รู้จักส่งเสริมวิชาชีพ ธรรมะข้อน้ีมุ่งไปท่ีการส่งเสริมราษฎรให้มีอาชีพเสริม หรือมีความ หลากหลาย โดยผูน้ าไดไ้ ปดู ไดไ้ ปศึกษาในหลายพนื้ ท่แี ละมองเห็นโอกาสความก้าวหน้าของวิชาชพี นนั้ จงึ ไดน้ ามา ส่งเสรมิ เชน่ ทฤษฎใี หม่ หรือการเป็นอยู่อย่างพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว , โครงการศูนย์สง่ เสริม ศิลปาชีพบางไทรของสมเด็จพระนางเจา้ พระบรมราชนิ นี าถ เป็นต้น 4. วาชไปยะ รู้จักช้ีแจงแนะนา ธรรมะข้อน้มี ุ่งไปที่การสื่อสารแบบสองทาง ที่ชาวบ้านธรรมดาก็สามารถ เข้าพบปะพูดคุยและสามารถแก้ปัญหาให้กับชาวบ้านได้ด้วยนอกจากนั้นยังรู้จักปลอบโยนเม่ือผู้อยู่ใต้ปกครอง ประสบกบั ปญั หาเดอื ดร้อนในเรอ่ื งตา่ ง ๆ ได้ หลกั พทุ ธธรรมทีใ่ ชใ้ นการวนิ ิจฉัยสัง่ การ หมวดธรรมข้อนี้ต้องการที่จะให้ผู้บริหารได้มีวิจารณญาณในการวินิฉัยในเร่ืองราวต่าง ๆ แล้วนามาสั่งการ เพ่ือ ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการบริหารปกครองบ้านเมือง คือหลักอคติ 4, หลักพรหมวิหาร 4, หลักโลกธรรม 8 และหลกั อรยิ สจั จ์ 4 1. หลักอคติ 4 เพ่ือให้ผู้บริหารไดใ้ ชห้ ลักธรรมทไี่ มเ่ อนเอียงไปทางดา้ นใดดา้ นหนึ่ง เพราะเช่ืองา่ ยหเู บา หรอื ฟงั คายยุ งของ ลกู นอ้ งผ้ใู ต้บังคับบัญชา หลกั ธรรมเหล่าน้นี อกจากจะใชก้ บั การตัดสินคดีความแล้วยงั ใช้กับองค์กรต่าง ๆ ได้ดี 1.1 ฉันทาคติ ลาเอียงเพราะชอบ 1.2 โทสาคติ ลาเอียงเพราะชัง 1.3 ภยาคติ ลาเอยี งเพราะขลาดกลวั 1.4 โมหาคติ ลาเอียงเพราะเขลา 2. หลักพรหมวิหาร 4 หลกั ธรรมนีต้ อ้ งการให้มนษุ ย์อยกู่ ันอย่างสนั ติสุข มีความรักความผูกพนั กัน มคี วามเอื้ออาทรต่อกันและกัน มีสันตภิ าพ, ภารดรภาพและเสรภี าพอยา่ งแทจ้ รงิ 2.1 เมตตา ความเมตตาสงสาร 2.2 กรุณา ความกรณุ าเอือ้ อาทร 2.3 มทุ ิตา ความพลอยยินดี 2.4 อเุ บกขา ความวางเฉยในโอกาสทีค่ วรปลอ่ ยวาง 3. โลกธรรม 8 ธรรมข้อน้ีเป็นธรรมท่ีอยู่คู่กับโลก เม่ือนักบริหารยังหมกหมุ่นและคาดหวังในเรื่องโลกธรรมน้ีมากเกินไป ย่อมทาให้เป็นผู้นาที่ขาดความมั่นใจ ไม่กล้าแม้แต่จะตัดสินใจลงมือทา เพราะกลัวในเร่ืองของการได้และเสีย เหล่าน้ี
3.1 ลาภ 3.2 เสอ่ื มลาภ 3.3 ได้ยศ 3.4 เส่อื มยศ 3.5 สรรเสริญ 3.6 นินท 3.7 สขุ 3.8 ทุกข์ 4. อรยิ สัจจ์ 4 ธรรมข้อนี้ผู้บรหิ ารจาเป็นต้องใช้เพอื่ การศึกษาหาสาเหตุของปัญหาอปุ สรรคในงานน้นั ๆ และยังสามารถ กาหนดเปา้ หมายโดยทาเป็นยุทธศาสตร์ และแนวทางในการดาเนินหนทางไปสเู่ ปา้ หมายน้ัน ๆ ดว้ ย 4.1 ทกุ ข์ ความทกุ ข์ หรือปัญหา 4.2 สมุทัย ต้นเหตแุ หง่ ทกุ ข์ สมมุตฐิ าน 4.3 นโิ รธ ความดบั ทกุ ข์ เป้าหมาย 4.4 มรรค หนทางดบั ทุกข์ มรรควธิ ีการเข้าสูเ่ ป้าหมาย หลักพุทธธรรมทใ่ี ชใ้ นการพฒั นาองคก์ ร หมวดธรรมข้อน้ี เป็นหมวดธรรมทใี่ ช้ในการบริหารจดั การองคก์ รให้มคี วามม่ันคงเจรญิ ก้าวหนา้ โดยเฉพาะ อย่างย่ิงเนน้ ความผูกพันระหวา่ งคนกบั คนไดเ้ ปน็ อย่างดีจนสามารถก่อให้เกดิ ความสามคั คีข้ึนในหมคู่ ณะอกี ดว้ ย 1. ฆราวาสธรรม 4 ธรรมขอ้ น้เี พอื่ ให้คนในองคก์ รไดม้ ีความสบายใจที่มีความจริงใจตอ่ กัน มีความอดทน มกี ารขม่ จติ ข่มใจและ การเสียสละให้ปันสิ่งของแกก่ ันและกัน 1.1 สัจจะ ความจรงิ ใจตอ่ กัน 1.2 ทมะ ความข่มใจ 1.3 ขนั ติ ความอดทน 1.4 จาคะ การเสียสละ 2. ทศิ 6 ธรรมข้อน้ีได้สอนให้คนได้ระลึกถึงกันว่าแต่ละคนได้มีสถานภาพ หรือหน้าท่ีอะไรบ้าง เพราะคน ๆ หนึ่ง ย่อมมีสถานภาพหลายอย่างแต่ต้องรู้จักบทบาทหน้าที่ของตัวเองให้ดี เช่น นาย ก เป็นครูอยู่ในสถาบันการศึกษา แห่งหนึ่ง ก็ต้องมีความสัมพันธ์กับคนอ่ืน ๆ อีก เช่น นาย ก มีพ่อมีแม่, มีครูอาจารย์, มีบุตรภรรยา, มีมิตรสหาย, มลี ูกนอ้ ง และนบั ถือศาสนา เป็นตน้ ซ่ึงแต่ละสถานภาพยอ่ มมเี คารพสทิ ธซิ ึ่งกนั และกนั ไมล่ ะเมดิ สิทธิของผอู้ ืน่ 2.1 ปุรัตถมิ ทสิ ทศิ เบอ้ื งหนา้ คอื มารดาบิดา 2.2 ทกั ขิณทิส ทศิ เบอ้ื งขวา คอื ครอู าจารย์ 2.3 ปจั ฉมิ ทสิ ทิศเบื้องหลัง คอื บตุ รภรรยา 2.4 อุตตรทิส ทศิ เบ้อื งซา้ ย คือมติ รสหาย 2.5 เหฏฐิมทิส ทศิ เบ้อื งต่า คอื บ่าวคนรับใช้
2.6 อปุ รมิ ทิส ทิศเบ้อื งบน คือสมณชพี ราหมณ์ 3. หลกั อปรหิ านิยธรรม 7 ธรรมข้อน้ีเน้นความสามัคคี หากทาได้อย่างจริงจังย่อมทาให้องค์กรนั้น ๆ เข้มแข็ง ม่ันคงและ เจรญิ กา้ วหนา้ ไม่มีปัญหาทางการบริหารจัดการใดใด คอื 3.1 หมัน่ ประชุมกันเนอ่ื งนิตย์ 3.2 เม่ือประชมุ ก็พรอ้ มเพียงกันประชุม เลิกประชุมพร้อมกนั พร้อมเพยี งในการช่วยกจิ การงานท่ี เกดิ ข้นึ 3.3 ไมถ่ อื อาเภอใจบัญญัตใิ นสิง่ ทไี่ ม่สังคมไมไ่ ด้บัญญตั ิไว้ ไม่ถอนส่งิ ท่ตี กลงร่วมกันบญั ญตั ไิ วแ้ ลว้ 3.4 เคารพผู้เป็นใหญ่ท่ีเป็นประธาน ท่ีเป็นใหญ่ มปี ระสบการณม์ ามาก และเคารพเช่อื ฟงั แล้วถือ ปฏิบัติ 3.5 ให้เกียรติและค้มุ ครองสตรี ไมข่ ม่ แหงรงั แก ไม่ลุอานาจแกค่ วามอยากทีเ่ กดิ ข้ึน 3.6 เคารพบชู าสักการะปูชนยี สถาน อนสุ รณส์ ถาน อนั เป็นศูนย์รวมใจของประชาชนและทาการ บูชาตามประเพณี 3.7 จดั การให้ความอารักขา บารงุ คุ้มครองแก่บรรพชิตผูท้ รงศีล หลักพุทธธรรมทีใ่ ช้ในการวางแผนและกาหนดนโยบาย หมวดธรรมหมวดนี้เป็นหมวดท่ีใช้ในฐานะท่ีกว้างข้ึน เร่ิมจากการท่ีเราจะวางแผนการบริหารจัดการ อย่างไร รวมไปจนถงึ ไดก้ าหนดกฎเกณฑ์ออกมาและในท่ีสุดไดก้ าหนดนโยบายหลักตามแนวพระพุทธศาสนา 1. อัตถะประโยชน์ หมวดธรรมข้อนี้ถือได้ว่าเป็นการระบุเป้าหมายแห่งองค์กร หรือรัฐได้เป็นอย่างดีท่ีผู้บริหารจะยึดเอา ประโยชนอ์ ะไรมาเปน็ หลัก กลา่ วคือจะยดึ ประโยชน์เพ่อื ตนเอง หรือประโยชนเ์ พื่อผอู้ น่ื หรือจะทาประโยชนใ์ ห้เกิด ทง้ั สองฝ่าย หรือหลายฝ่าย 1.1 อตั ตัตถะ ประโยชนจ์ ุดหมายเพอื่ ตน 1.2 ปรัตถะ ประโยชนจ์ ุดหมายเพอ่ื ผอู้ น่ื 1.3 อุภยตั ถะ ประโยชน์จดุ หมายทง้ั สอง 2. แนวคิด ส่วนหลักข้อน้ีเป็นแนวคิดท่ีว่าผู้บริหาร เม่ือเข้ามาจัดการแล้วน้ันจาเป็นจะต้องเป็นผู้ทรงธรรม หรือมี คุณธรรมดังนี้ คือต้องมีวิสัยทัศน์ท่ีดีมีสติปัญญาดีมองเหตุปัจจัยของปัญหาอย่างทะลุปรุโปร่งไม่ติดค้าง, เป็นผู้มี ทักษะในการบรหิ ารจัดการได้ดี และเปน็ ผู้มมี นุษย์สัมพันธท์ ่ดี ตี อ่ บุคคลอน่ื รวมถงึ คนรอบข้าง หรือผูใ้ ต้บงั คับบัญชา 2.1 จกั ขุมา Vision วสิ ัยทศั น์ 2.2 วธิ ูโร Management การจดั การ 2.3 นสิ ยสัมปนั โน Human Relationship มนุษยสัมพนั ธ์ 3. นโยบาย พระพุทธเจ้าได้ทรงวางนโยบายในการประกาศพระพุทธศาสนาเอาไว้ในหลัก 3 ประการท่ีกระทัดรัด เข้าใจง่าย แตท่ ว่ายงิ่ ใหญ่ คือการเว้นบาป-ทาดี-ทาใจให้บรสิ ุทธิ์ คอื
3.1 สพฺพปาปสสฺ อกรณ การไม่ทาบาปท้ังปวง 3.2 กุสลสสฺ ปู สมปฺ ทา การยงั กศุ ลให้ถงึ พรอ้ ม 3.3 สจติ ฺตปรโิ ยทปน การยงั จิตใจให้สะอาดบรสิ ุทธ์ิ หลักธรรมแหง่ ราชา พระมหากษัตริย์ไทยกับพระพุทธศาสนานับว่ามีความ ผูกพันเกีย่ วข้องกนั มาตัง้ แต่อดตี จนถงึ ปัจจุบนั พระมหากษตั ริย์ไทย ตั้งแต่สมัยโบราณจะต้องทรงประพฤติปฏิบัติอยู่ในกรอบแห่ง ระเบียบวินัยและแบบแผนต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องทรงศึกษา และปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่งคัมภีร์พระธรรมศาสตร์ตลอดถึง หลักธรรมในทางพระพทุ ธศาสนา โดยหลักธรรมคาสอนท่ีถือเป็นหนึ่งในหลักการปกครอง บริหารบ้านเมือง เพื่ออานวยประโยชนให้แก่ราษฎร หรือเรียกว่า เป็นธรรมสาหรับพระราชานั้น ได้แก่ ทศพิธราชธรรม 10 ภาพท่ี 5.2 : หลักธรรมแห่งราชา จักรวรรดิวัตร 12 และราชสังคหวัตถุ 4 ซึ่งนับเป็นพระราชกรณีย ท่มี า : http://welovethaiking.com กิ จ ข อ ง พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย์ ท่ี ไ ด้ ท ร ง บ า เ พ็ ญ คุ ณ ป ร ะ โ ย ช น์ แ ก่ วนั ทสี่ บื ค้น : 17 ม.ค. 60 ประเทศชาตแิ ละประชาชนอยา่ งใหญ่หลวง พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตรทรงเปน็ พระมหากษตั รยิ ท์ ่ีทรงยึดม่ันใน หลักธรรมแห่งพระราชาและทรงให้ความสาคัญกับการปฏิบัติตามหลักธรรมคาสอนอย่างละเอียดถี่ถ้วนเช่นทที่ รง สอดแทรกหลักธรรมในพระพุทธศาสนาไว้ในพระราชดารัสในโอกาสต่างๆ ดังพระราชดารัสลาผนวชต่อราษฎร ณ พระที่นงั่ พุทไธสวรรย์ปราสาท เม่ือวันท่ี 18 ตลุ าคม 2499 ความตอนหน่ึงวา่ “...อันพระพุทธศาสนาซ่ึงเป็นศาสนาประจาชาติของเรานี้ตามความอบรมท่ีได้รบั มาก็ดี ตามความศรัทธา เช่ือถือส่วนตัวของข้าพเจ้าก็ดีเห็นเป็นศาสนาที่ดีศาสนาหนึง่ มีคาสอนให้คนประพฤติตนเป็นคนดี ทั้งเพียบพร้อม ดว้ ยบรรดาสจั ธรรมอันชอบด้วยเหตุผลน่าเล่ือมใสยิ่งนัก ข้าพเจา้ จึงเคยคิดอยู่วา่ ถา้ โอกาสอานวยกน็ ่าจะอุปสมบท ในพระศาสนาตามพระราชประเพณสี กั เวลาหนึ่ง ซ่ึงจักเป็นทางสนองพระเดชพระคุณพระราชบุรพการีตามคตินิยม อีกโสตหน่ึงดว้ ย...” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงเปน็ ศูนย์รวมจิตใจของคนไทยท้ังชาติ นาส่คู วามสามัคคี และเป็นนา้ หนึ่งน้าใจเดียวกนั ของคนไทยท้ังแผ่นดนิ โดยทรงเป็นพระธรรมราชา และทรงสนพระราชหฤทัยในพระ ธรรมมา ตงั้ แต่ทรงพระเยาว์ ดังจะเห็นได้จากพระบรมราโชวาทและพระราชดารัสท่ีพระราชทานแก่คณะบุคคลใน โอกาสต่างๆ ล้วนแสดงให้เห็นว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีความเข้าใจในธรรมอย่างลึกซึ้ง ดังเช่นที่ สมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปรินายก (เจริญ สวุ ัฑฒโน) ไดท้ รงบอกเลา่ ถงึ ความสนพระ ราชหฤทัย ในพระพุทธศาสนาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมพิ ลอดุลยเดชซึ่งมมี าตงั้ แต่ครั้งยงั ทรงพระเยาว์ ความตอนหน่ึงวา่ “...พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงปฏิบัติพระราชกิจทางพระพุทธศาสนาอย่างสมบูรณ์มาต้ังแต่พระ ชนมพรรษายังน้อย ดังท่ีได้เคยทราบว่า ได้ทรงพอพระพระราชหฤทัยในการฟังเทศน์ที่มีอยู่เป็นประจา ในคราว บาเพ็ญพระราชกุศลถวายท่ีพระบรมศพรัชกาลที่ 8 แม้จะเป็นเทศน์กัณฑย์ าว ก็ทรงพอพระราชหฤทัยฟัง ทรงเรม่ิ
สนพระราชหฤทัยในพระพุทธศาสนา เม่ือได้ทรงพบปะกับพระมหาเถระผู้ใหญ่ ก็มีพระราชปุจฉาและทรงสดับขอ้ ธรรมน้นั ๆ อยู่เนือง ๆ โดยเฉพาะไดม้ โี อกาสเฝา้ สมเดจ็ พระสังฆราชเจ้า วัดบวรนิเวศวหิ าร (ม.ร.ว. ชน่ื นพวงศ)์ ได้ ทรงสดบั ฟังธรรมเปน็ คร้งั คราวตลอดมา ทาใหท้ รงเขา้ พระราชหฤทัยในธรรม และสนพระราชหฤทัยในพทุ ธศาสนา มากขึ้น...” พระราชจริยาวตั รและพระราชดารทิ ่ีแสดงใหเ้ ห็นประจักษ์ชัดถึงความศรทั ธามุ่งมั่นที่พระบาทสมเดจ็ พระ เจ้าอยหู่ วั รัชกาลท่ี 9 ทรงมตี อ่ พุทธศาสนา และความสนพระทยั ในการปฏิบตั ิและเผยแผ่ทานุบารุงพุทธศาสนา และ ทรงดารงพระองค์เป็นแบบอย่างของพุทธมามกะท่ีดีมาตลอด โดยยังได้ทรงอธิบายหลักการปฏิบัติสมาธิได้อย่าง ลึกซึ้งมาก ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ไม่เพียงแต่ทรงศึกษาธรรมเท่านั้น แต่ยังทรงปฏิบัติธรรมอย่างจริงจังด้วย ดังเช่น พระราชดารัสพระราชทานแก่คณะกรรมการจัดงานมหกรรมกีฬามหากุศล ณ พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน เมอ่ื วันที่ 25 มถิ นุ ายน 2524 ความตอนหนึง่ วา่ “...ถ้าเราทากรรมดี เราก็เจริญได้ เราก็มที างทจี่ ะมีอนาคตแจ่มใส ความจริงอนาคตของเรา กอ็ ยทู่ ป่ี จั จุบัน ทีเ่ ราทาอยนู่ ี้ ถ้าเราทาปจั จบุ ันใหด้ ี อนาคตก็คงดี ถ้าเราละเลยไม่ทาอะไรเลยข้างหนา้ กค็ งไมม่ อี ะไรเลย...” พระบรมราโชวาทพระราชทานในพธิ ีพระราชทานธงประจารุ่นลูกเสือชาวบ้าน จังหวัดเชียงใหม่ เม่ือวนั ท่ี 24 กุมภาพนั ธ์ 2522 ความตอนหนง่ึ ว่า “...ในจิตใจของคนไทยทุกคนมีเชื้อของความดี ท่ีได้นาพวกเราทั้งหลายมาอยู่ในฐานะท่ีม่ันคง ท่ีก้าวหนา้ ทเี่ จริญจนทุกวันนี้ ถ้าเราไม่มีความดอี ยใู่ นตวั กเ็ ข้าใจว่าประเทศไทยคงไม่ได้มอี ายุยืนนานเชน่ น.ี้ ..” พระบรมราโชวาทพระราชทานในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันท่ี 10 กรกฎาคม 2535 ความตอนหนงึ่ ว่า “...หลกั ของคณุ ธรรม คอื การคิดดว้ ยจิตใจที่เป็นกลางก่อนจะพูดจะทาส่ิงไร จาเปน็ ตอ้ งหยุดคดิ เสยี ก่อน เพื่อรวบรวมสติให้ต้ังมั่น และให้จิตสว่างแจ่มใส ซ่ึงเมื่อฝึกหัดจนคุ้นเคยชานาญแล้ว จะกระทาได้คล่องแคล่ว ช่วยให้สามารถแสดงความรู้ ความคิดในเรอื่ งตา่ งๆ ใหผ้ ้ฟู ังเข้าใจได้งา่ ย ได้ชัดไม่ผดิ ทั้งหลกั วชิ าทง้ั หลกั คณุ ธรรม...” ทศพิศราชธรรม 10 คือ ธรรมที่ใช้พระราชอานาจและการบาเพ็ญประโยชน์ต่ออาณาประชาราษฎร์ ประกอบด้วย (1) การให้ (2) การสารวมในศีล (3) การสละประโยชน์ส่วนตน (4) ความซื่อตรง (5) ความอ่อนโยน (6) ความเพียร (7) การระงบั ความโกรธ (8) ความไมเ่ บียดเบียน (9) ความอดทน และ (10) การแนว่ แนใ่ นความถูก ตอ้ ง จักรวรรดิวัตร 12 คือ ธรรมอันเป็นพระราชจรยิ านวุ ัตร ทรงถือและอาศัยธรรมข้อนเี้ ป็นหลักสาหรับการ ปกครองประเทศ ประกอบด้วย (1) ควรอนุเคราะห์คนในราชสานักและคนภายนอกให้มีความสุข ไม่ปล่อยปละ ละเลย (2) ควรผูกมิตรไมตรีกับประเทศอื่นๆ (3) ควรอนุเคราะห์พระราชวงศานุวงศ์ (4) ควรเกื้อกูลพราหมณ์ คหบดีและคฤหบดีชน (5) ควรอนุเคราะห์ประชาชนที่อยู่ในชนบท (6) ควรอนุเคราะห์สมณพราหมณ์ผู้มีศีล (7) ควรจกั รกั ษาฝงู เน้อื นกและสัตวท์ ัง้ หลายมิให้สญู พันธ์ุ (8) ควรหา้ มชนท้งั หลายมิใหป้ ระพฤติผิดธรรมและชักนา ด้วยตวั อยา่ งใหอ้ ยู่ในกศุ ลสุจรติ (9) ควรเลีย้ งดคู นจน เพอ่ื มิให้ประกอบการทจุ ริตและอกุศลต่อสงั คม (10) ควรเข้า ใกล้สมณพราหมณ์เพ่ือศึกษาบุญและบาป กุศล และอกุศลให้แจ่มชัด (11) ควรห้ามจิตมิให้ต้องการไปในท่ีท่ี พระมหากษตั ริยไ์ ม่ควรเสร็จ และ (12) ควรระงบั ความโลภมิให้ปรารถนาให้ลาภทพี่ ระมหากษัตริยม์ ิควรจะได้ ราชสังคหวัตถุ 4 คอื พระราชจรยิ านวุ ัตรอนั เป็นที่ยึดเหนี่ยวนาใจประชาชนสาหรับเปน็ แนวทางในการวาง นโยบายปกครองบ้านเมอื ง เปน็ หลักธรรมอันเปน็ เคร่อื งช่วยในการวางนโยบายบริหารบ้านเมอื งใหด้ าเนินไปดว้ ยดมี ี ดงั น้ี (1) สสั สเมธะ คอื ความเปน็ ผู้ฉลาดปรชี าในการพิจารณาถงึ ผลิตผลอนั เกดิ ข้ึนในแผน่ ดนิ แลว้ พิจารณาผ่อนผัน
จัดเกบ็ เอาแตบ่ างสว่ นแห่งสง่ิ นั้น (2) ปรุ ิสเมธงั คอื ความเป็นผ้ฉู ลาดในการดูคนสามารถเลอื กแตง่ ตง้ั บุคคลให้ดารง ตาแหนง่ ในความถูกต้องและเหมาะสม รจู้ ักสง่ เสริมคนดมี ีความสามารถ (3) สัมมาปาสะ คือ การบริหารงานให้ตอ้ ง ใจประชาชน ความร้จู ักผกู ผสานรวมใจประชาชนด้วยการส่งเสริมอาชพี และ (4) วาจาเปยยะ คือ ความเปน็ บุคคล มีวาจาไพเราะรู้จักผ่อนสั้นผ่อนยาวตามเหตุการณ์ ตามฐานะและตามความเป็นธรรม เป็นวาจาอันประกอบด้วย เหตผุ ล มีประโยชนเ์ ปน็ ทางแหง่ สามัคคี ทาให้เกดิ ความเข้าใจอนั ดีและความนิยมเชอื่ ถือ สรุป หลักธรรม คือ คาส่ังสอนของพระพทุ ธเจ้าเพื่อใช้ในการดาเนนิ ชีวติ อย่างมคี วามสุข อยู่บนพ้ืนฐานพน้ื ฐาน แห่งความเจรญิ แห่งชีวิต อันได้แก่ จักร 4 และทิฏฐธัมมิกัตถะ 4 โดยสามารถนาปัญญาท่ีประกอบด้วยธรรม สัปปุ ริสธรรม 7 และมรรคมีองค์ 8 เป็นเคร่ืองยึดเหน่ียวทางจิตใจ ทุกข์ คือ กายกับใจ คือรูปกับนาม ท่านไล่ๆ ลงไป เรอ่ื ยๆ นะ สาวลงไปจนกระทง่ั ท่านรู้แจ้งต้นตอแหง่ สังสารวฎั กค็ ือ อวชิ ชา คอื ความไมร่ ู้ ธรรมะทเ่ี หมาะสมสาหรับ ผู้ปฏิบัติงาน คือ \"อิทธิบาท 4\" ซ่ึงหมายถึง ธรรมแห่งความสาเร็จ ประกอบด้วย ฉันทะหรือ ความพอใจ หมายถงึ ผู้ปฏิบัติงานต้องชอบหรือศรทั ธางานที่ทาอยู่ และมีความสุขกับงานที่ได้รับมอบหมาย วิริยะ หรือ ความพากเพียร ผู้ปฏิบัติงานจะต้องมีความขยันหม่ันเพียรในการทางานท่ีได้รับมอบหมาย รวมท้ังหมั่นฝึกตนเองอย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้การทางานมีประสิทธิภาพมากขึ้นเพ่ือพัฒนาสังคม หรือช่วยสงเคราะห์คนในชุมชน องค์กร ประเทศชาติ หากไม่มีการเก้ือกูลแก่กันและกันประเทศชาติย่อมวุ่นวายไม่มีท่ีสิ้นสุดเพราะคนมีความลาบากในการแสวงหา ปัจจัยพ้ืนฐานของชีวิต ประกอบไปด้วย สังคหวัตถุ 4 และราชสังคหวัตถุ 4 ประการ พระมหากษัตริย์ไทยกับ พระพุทธศาสนานับว่ามคี วามผกู พันเก่ียวขอ้ งกนั มาต้งั แต่อดีตจนถงึ ปัจจุบัน พระมหากษตั รยิ ์ไทยต้งั แตส่ มัยโบราณ จะต้องทรงประพฤติปฏิบัติอยู่ในกรอบแห่งระเบียบวนิ ยั และแบบแผนตา่ งๆ โดยเฉพาะอย่างย่งิ ตอ้ งทรงศึกษาและ ปฏิบตั ติ ามบทบัญญัตแิ หง่ คัมภรี พ์ ระธรรมศาสตรต์ ลอดถงึ หลักธรรมในทางพระพุทธศาสนา โดยหลักธรรมคาสอน ท่ีถอื เป็นหนึ่งในหลกั การปกครองบรหิ ารบ้านเมือง เพอื่ อานวยประโยชนให้แกร่ าษฎร หรือเรยี กวา่ เป็นธรรมสาหรับ พระราชาน้ัน ได้แก่ ทศพิธราชธรรม 10 จักรวรรดิวัตร 12 และราชสังคหวัตถุ 4 ซึ่งนับเป็นพระราชกรณียกิจของ พระมหากษัตรยิ ท์ ไ่ี ดท้ รงบาเพ็ญคุณประโยชน์แกป่ ระเทศชาติและประชาชนอย่างใหญห่ ลวง
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: