Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book9

E-book9

Published by Naowarat_2514, 2020-05-29 02:57:25

Description: E-book9

Search

Read the Text Version

เศรษฐกจิ พอเพยี ง

ความรู้ท่วั ไปเกย่ี วกบั เศรษฐกจิ พอเพียง พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ให้ความหมายของ เศรษฐกิจ หมายถึง \"งานอัน เกย่ี วกับการผลติ การจาหนา่ ยจา่ ยแจก และการบริโภคใช้สอยส่งิ ต่าง ๆ ของชมุ ชน.\" รวมถงึ ด้านการใชบ้ ริการ และการท่องเทีย่ วทมี่ ีปัจจัยกระตุ้นตอ่ การเจริญของเศรษฐกิจ เศรษฐกจิ ยงั อาจอธบิ ายไดว้ ่าเป็นเครือข่ายจากัด โดยพ้ืนที่และเครือข่ายสังคมท่ีซ่ึงมีการแลกเปลี่ยนสินค้า และบริการตามอุปสงค์และอุปทานระหว่างผู้มีสว่ น โดยการแลกเปล่ยี นหรอื ส่ือกลางการแลกเปลย่ี นด้วยมลู ค่าเครดติ หรอื เดบิตทยี่ อมรบั กันภายในเครือข่าย บทความออนไลน์ : https://dict.longdo.com ไดใ้ ห้ความหมายของ เศรษฐกจิ หมายถงึ การพฒั นา วฒั นธรรมของสังคมตอ้ งพง่ึ พาพลงั งานใหม่ๆ ภายใตอ้ ิทธิพลทางวทิ ยาศาสตร์ เศรษฐกิจ การเมอื ง และอ่นื ๆ บทความออนไลน์ : https://www.im2market.com/2015/11/30/211 ได้ให้ความหมายของ พอเพยี ง หมายถึง ความมพี อสาหรับดารงชีวิต เชน่ เขาใช้ชวี ิตแบบพอเพียง มกี ารส่งเสริมระบบการผลิตแบบ พอเพียงท่เี กษตรกรสามารถเล้ียงตัวเองได้ ดังน้ัน เศรษฐกิจพอเพยี ง หมายถึง การพัฒนา การผลิต การจัดจาหนา่ ย จ่ายแจก และการบริโภคใช้ สอยสิ่งต่าง ๆ ของชุมชน รวมถึงด้านการใช้บริการและการท่องเท่ียวท่ีมีปัจจัยกระตุ้นต่อการเจริญของ เศรษฐกิจอยูบ่ นพนื้ ฐานความมพี อสาหรบั ดารงชวี ติ จุดเรม่ิ ต้นแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ผลจากการใช้แนวทางการพฒั นาประเทศไปสคู่ วามทนั สมยั ได้ก่อให้เกิดการเปล่ยี นแปลงแกส่ งั คมไทย อยา่ งมากในทุกดา้ น ไมว่ า่ จะเป็นดา้ นเศรษฐกจิ การเมือง วัฒนธรรม สงั คมและส่งิ แวดลอ้ ม อกี ทง้ั กระบวนการ ของความเปลี่ยนแปลงมีความสลับซับซ้อนจนยากที่จะอธิบายใน เชิงสาเหตุและผลลัพธ์ได้ เพราะการ เปลีย่ นแปลงทงั้ หมดต่างเป็นปจั จยั เช่ือมโยงซงึ่ กนั และกัน สาหรับผลของการพัฒนาในด้านบวกน้ัน ได้แก่ การเพิ่มข้ึนของอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความเจริญทางวัตถุ และสาธารณูปโภคต่างๆ ระบบส่ือสารที่ทันสมัย หรือการขยายปริมาณและกระจาย การศึกษาอย่างทั่วถึงมากข้ึน แต่ผลด้านบวกเหล่าน้ีส่วนใหญ่กระจายไปถึงคนในชนบท หรือผู้ด้อยโอกาสใน สังคมนอ้ ย แตว่ า่ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของสงั คมได้เกิดผลลบติดตามมาด้วย เชน่ การขยายตัวของรัฐเข้า ไปในชนบท ไดส้ ง่ ผลให้ชนบทเกิดความอ่อนแอในหลายด้าน ท้ังการต้องพึ่งพงิ ตลาดและพ่อคา้ คนกลางในการ สงั่ สินคา้ ทนุ ความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบความสมั พนั ธ์แบบเครอื ญาติ และการรวมกลุ่มกัน ตามประเพณีเพื่อการจัดการทรัพยากรท่ีเคยมีอยู่แต่เดิมแตก สลายลง ภูมิความรู้ท่ีเคยใช้แก้ปัญหาและส่ังสม ปรบั เปลยี่ นกนั มาถูกลืมเลือนและเริม่ สญู หายไปสิง่ สาคญั ก็คือ ความพอเพยี งในการดารงชวี ิต ซงึ่ เป็นเงื่อนไข พนื้ ฐานท่ที าให้คนไทยสามารถพึ่งตนเอง และดาเนินชีวติ ไปไดอ้ ย่างมีศักด์ิศรีภายใตอ้ านาจและความมีอิสระใน การกาหนด ชะตาชีวติ ของตนเอง ความสามารถในการควบคมุ และจดั การเพอ่ื ให้ตนเองไดร้ ับการสนองตอบต่อ ความต้อง การต่างๆ รวมทั้งความสามารถในการจัดการปัญหาต่างๆ ได้ด้วยตนเอง ซ่ึงท้ังหมดน้ีถือว่าเป็น ศักยภาพพื้นฐานท่ีคนไทยและสังคมไทยเคยมีอยู่แต่ เดิม ต้องถูกกระทบกระเทือน ซ่ึงวิกฤตเศรษฐกิจจาก ปัญหาฟองสบูแ่ ละปัญหาความออ่ นแอของชนบท รวมทั้งปัญหาอื่นๆ ท่ีเกิดขึ้น ล้วนแต่เปน็ ขอ้ พิสจู น์และยนื ยัน ปรากฎการณ์นไ้ี ด้เป็นอย่างดี

พระราชดาริว่าดว้ ยเศรษฐกจิ พอเพยี ง “...การพัฒนาประเทศจาเป็นตอ้ งทาตามลาดับขั้น ต้องสร้างพน้ื ฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใช้ของ ประชาชนส่วนใหญ่เบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัดแต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เมื่อได้ พื้นฐานความม่ันคงพร้อมพอสมควร และปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญ และฐานะทาง เศรษฐกิจขัน้ ที่สูงขึ้นโดยลาดบั ต่อไป...” (18 กรกฎาคม 2517) “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแนวพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ท่ีพระราชทานมานาน กว่า 30 ปี เป็นแนวคิดที่ต้ังอยู่บนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เป็นแนวทางการพัฒนาท่ีต้ังบนพื้นฐานของทาง สายกลาง และความไม่ประมาท คานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง ตลอดจนใช้ความรแู้ ละคุณธรรม เปน็ พ้ืนฐานในการดารงชีวิต ทสี่ าคัญจะตอ้ งมี “สติ ปัญญา และความเพียร” ซง่ึ จะนาไปสู่ “ความสขุ ” ในการดาเนินชีวิตอย่างแท้จรงิ “...คนอนื่ จะว่าอยา่ งไรกช็ ่างเขา จะวา่ เมอื งไทยล้าสมยั วา่ เมอื งไทยเชย ว่าเมืองไทยไมม่ สี ิ่งที่สมัยใหม่ แตเ่ ราอยู่พอมีพอกนิ และขอใหท้ กุ คนมีความปรารถนาท่ีจะให้เมืองไทย พออย่พู อกนิ มีความสงบ และทางาน ตั้งจิตอธิษฐานต้ังปณิธาน ในทางนี้ที่จะให้เมืองไทยอยู่แบบพออยู่พอกิน ไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอด แต่ว่ามี ความพออยู่พอกนิ มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอ่นื ๆ ถ้าเรารักษาความพออยู่พอกินนไ้ี ด้ เราก็จะยอด ย่งิ ยวดได้...” (4 ธันวาคม 2517) พระบรมราโชวาทน้ี ทรงเห็นว่าแนวทางการพัฒนาท่ีเน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศเปน็ หลักแต่ เพียงอย่างเดียวอาจจะเกดิ ปัญหาได้ จึงทรงเน้นการมีพอกินพอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่ในเบ้ืองต้น ก่อน เม่ือมีพ้ืนฐานความม่ันคงพร้อมพอสมควรแล้ว จึงสร้างความเจริญและฐานะทางเศรษฐกิจให้สูงขึ้น ซ่ึง หมายถึง แทนท่จี ะเนน้ การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมนาการพฒั นาประเทศ ควรท่จี ะสร้างความม่ันคงทาง เศรษฐกจิ พ้นื ฐานกอ่ น นน่ั คอื ทาให้ประชาชนในชนบทสว่ นใหญ่พอมีพอกนิ ก่อน เปน็ แนวทางการพฒั นาที่เน้น การกระจายรายได้ เพื่อสร้างพื้นฐานและความมั่นงคงทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ก่อนเน้นการ พัฒนาในระดบั สูงขนึ้ ไป ทรงเตือนเรื่องพออยู่พอกิน ต้ังแต่ปี 2517 คือ เม่ือ 30 กว่าปีที่แล้ว แต่ทิศทางการพัฒนามิได้ เปลยี่ นแปลง “...เมื่อปี 2517 วันน้ันได้พูดถึงว่า เราควรปฏิบัติให้พอมีพอกิน พอมีพอกินนี้ก็แปลว่า เศรษฐกิจ พอเพียงน่นั เอง ถา้ แตล่ ะคนมีพอมีพอกนิ กใ็ ช้ได้ ยิ่งถ้าทัง้ ประเทศพอมีพอกินกย็ งิ่ ดี และประเทศไทยเวลาน้ันก็ เรม่ิ จะเปน็ ไมพ่ อมีพอกนิ บางคนกม็ ีมาก บางคนกไ็ มม่ ีเลย...” (4 ธนั วาคม 2541) เศรษฐกจิ พอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระราชดาริชี้แนะ แนวทาง การดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ต้ังแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทาง เศรษฐกิจ และเม่ือภายหลังไดท้ รงเน้นยา้ แนวทางการแกไ้ ขเพ่ือใหร้ อดพน้ และสามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคง และยัง่ ยืนภายใตก้ ระแสโลกาภิวัตน์และความ เปลี่ยนแปลงตา่ งๆ

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต่ ระดบั ครอบครวั ระดับชมุ ชน จนถงึ ระดบั รฐั ท้งั ในการพฒั นาและบรหิ ารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกจิ เพอ่ื ใหก้ ้าวทนั ต่อโลกยคุ โลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิด จากการเปลี่ยนแปลงท้ังภายในภายนอก ท้ังน้ี จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวัง อย่างยิง่ ในการนาวชิ าการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการ ทุกข้ันตอน และขณะเดียวกัน จะตอ้ ง เสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าท่ีของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มี สานกึ ในคุณธรรม ความซือ่ สัตย์สุจริต และให้มีความรอบรทู้ เ่ี หมาะสม ดาเนนิ ชีวิตดว้ ยความอดทน ความเพยี ร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพ่ือให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและ กวา้ งขวาง ท้ังดา้ นวตั ถุ สงั คม สิ่งแวดล้อม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จึงประกอบด้วย คณุ สมบัติ ดังนี้ 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไม่น้อย เกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อ่ืน เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยใู่ นระดับพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเก่ียวกับระดับ ความพอเพียงนัน้ จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจาก เหตุปจั จยั ท่ีเกย่ี วข้อง ตลอดจนคานงึ ถึงผลที่คาดวา่ จะเกิดขึ้นจาก การกระทานนั้ ๆ อยา่ งรอบคอบ 3. ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับ ภาพท่ี 9.1 : 3 หว่ ง 2 เงื่อนไข ผลกระทบและการเปล่ียนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น โดย ทม่ี า : https://sites.google.com/site/cngchraxyangklahay คานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกดิ ข้นึ วนั ทส่ี ืบค้น : 3 เม.ย. 60 ในอนาคต โดยมี เงื่อนไข ของการตดั สินใจและดาเนนิ กจิ กรรมต่างๆ ให้อยใู่ นระดบั พอเพียง 2 ประการ ดงั นี้ 1. เง่ือนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรเู้ ก่ียวกับวิชาการต่างๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ งรอบด้าน ความรอบคอบ ทจี่ ะนาความรูเ้ หลา่ น้นั มาพิจารณาใหเ้ ชอ่ื มโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมดั ระวังในการปฏบิ ัติ 2. เง่ือนไขคุณธรรม ท่ีจะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซื่อสัตย์ สุจริตและมีความอดทน มคี วามเพยี ร ใช้สตปิ ัญญาในการดาเนินชีวติ พระราชดารสั ทเี่ กย่ี วกบั เศรษฐกจิ พอเพียง “...เศรษฐศาสตร์เป็นวิชาของเศรษฐกิจ การที่ต้องใช้รถไถต้องไปซ้ือ เราต้องใช้ต้องหาเงินมาสาหรบั ซ้ือนา้ มันสาหรบั รถไถ เวลารถไถเกา่ เราต้องย่ิงซ่อมแซม แตเ่ วลาใชน้ ้ันเราก็ตอ้ งป้อนนา้ มนั ใหเ้ ป็นอาหาร เสร็จ แล้วมันคายควัน ควันเราสูดเข้าไปแล้วก็ปวดหัว ส่วนควายเวลาเราใช้เราก็ต้องป้อนอาหาร ต้องให้หญ้าให้ อาหารมันกิน แต่ว่ามันคายออกมา ที่มันคายออกมากเ็ ป็นป๋ยุ แล้วกใ็ ชไ้ ด้สาหรับให้ทดี่ นิ ของเราไมเ่ สีย...” พระราชดารัส เนื่องในพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ณ ศาลาดุสิดาลัย วันท่ี 9 พฤษภาคม 2529

“...เราไม่เป็นประเทศรา่ รวย เรามีพอสมควร พออยู่ได้ แต่ไม่เป็นประเทศท่ีกา้ วหนา้ อย่างมาก เราไม่ อยากจะเป็นประเทศก้าวหน้าอย่างมาก เพราะถ้าเราเป็นประเทศก้าวหน้าอย่างมากก็จะมีแต่ถอยกลับ ประเทศเหล่าน้ันท่ีเป็นประเทศอุตสาหกรรมก้าวหน้า จะมีแต่ถอยหลังและถอยหลังอย่างน่ากลัว แต่ถ้าเรามี การบรหิ ารแบบเรียกวา่ แบบคนจน แบบทีไ่ มต่ ิดกับตารามากเกนิ ไป ทาอย่างมสี ามคั คีน่ีแหละคือเมตตากัน จะ อยู่ไดต้ ลอดไป...” พระราชดารัส เนอ่ื งในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั วนั ท่ี 4 ธนั วาคม 2534 “...ตามปกติคนเราชอบดูสถานการณ์ในทางดี ที่เขาเรียกว่าเล็งผลเลิศ ก็เห็นว่าประเทศไทย เราน่ี ก้าวหน้าดี การเงินการอุตสาหกรรมการค้าดี มีกาไร อีกทางหน่ึงก็ต้องบอกว่าเรากาลังเส่ือมลงไปส่วนใหญ่ ทฤษฎวี า่ ถ้ามเี งินเทา่ น้นั ๆ มกี ารก้เู ท่านั้นๆ หมายความว่าเศรษฐกิจกา้ วหน้า แล้วกป็ ระเทศก็เจริญมีหวังว่าจะ เป็นมหาอานาจ ขอโทษเลยต้องเตือนเขาว่า จริงตัวเลขดี แต่ว่าถ้าเราไม่ระมัดระวังในความต้องการพื้นฐานของ ประชาชนนัน้ ไมม่ ที าง...” พระราชดารสั เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั วนั ที่ 4 ธนั วาคม 2536 “...เด๋ียวน้ีประเทศไทยก็ยังอยู่ดีพอสมควร ใช้คาว่า พอสมควร เพราะเดี๋ยวมีคนเห็นว่ามีคนจน คน เดอื ดรอ้ น จานวนมากพอสมควร แต่ใช้คาว่า พอสมควรนี้ หมายความวา่ ตามอตั ตภาพ...” พระราชดารสั เน่อื งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลยั วนั ที่ 4 ธนั วาคม 2539 “...ทีเ่ ปน็ หว่ งนน้ั เพราะแม้ในเวลา 2 ปี ทีเ่ ปน็ ปีกาญจนาภิเษกกไ็ ด้เหน็ สงิ่ ท่ีทาให้เห็นไดว้ ่า ประชาชน ยังมีความเดือดร้อนมาก และมีส่ิงท่ีควรจะแก้ไขและดาเนินการต่อไปทุกด้าน มีภัยจากธรรมชาติกระหน่า ภัย ธรรมชาตินเ้ี ราคงสามารถที่จะบรรเทาได้หรอื แก้ไขได้ เพียงแต่ว่าต้องใช้เวลาพอใช้ มีภัยท่ีมาจากจิตใจของคน ซ่ึงก็แก้ไขได้เหมือนกัน แต่ว่ายากกว่าภยั ธรรมชาติ ธรรมชาตินั้นเป็นสิ่งนอกกายเรา แต่นิสัยใจคอของคนเปน็ ส่งิ ท่อี ยขู่ ้างใน อนั นี้กเ็ ป็นข้อหน่ึงท่อี ยากใหจ้ ัดการใหม้ ีความเรียบร้อย แต่ก็ไมห่ มดหวัง...” พระราชดารัส เนื่องในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลยั วนั ที่ 4 ธนั วาคม 2539 “...การจะเป็นเสือน้ันไม่สาคัญ สาคัญอยู่ที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกินนั้น หมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตนเอง ความพอเพียงน้ไี ม่ได้หมายความว่าทุกครอบครัวจะต้อง ผลิตอาหารของตัวเอง จะต้องทอผ้าใส่เอง อย่างนั้นมันเกินไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอาเภอ จะต้องมีความ พอเพียงพอสมควร บางสิง่ บางอย่างผลติ ได้มากกวา่ ความต้องการก็ขายได้ แตข่ ายในทไ่ี มห่ า่ งไกลเท่าไร ไม่ตอ้ ง เสยี คา่ ขนสง่ มากนกั ...” พระราชดารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลัย วนั ที่ 4 ธนั วาคม 2539. “...เม่ือปี 2517 วันนั้นได้พูดถึงว่า เราควรปฏิบัติให้พอมีพอกิน พอมีพอกินน้ีก็แปลว่า เศรษฐกิจ พอเพยี งนน่ั เอง ถา้ แตล่ ะคนมพี อมพี อกิน กใ็ ช้ได้ ยง่ิ ถ้าทง้ั ประเทศพอมพี อกินกย็ งิ่ ดี และประเทศไทยเวลาน้ันก็ เร่ิมจะเป็นไม่พอมีพอกนิ บางคนก็มีมาก บางคนกไ็ มม่ ีเลย...” พระราชดารสั เนอ่ื งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั วนั ท่ี 4 ธันวาคม 2541 “...พอเพียง มีความหมายกว้างขวางย่ิงกว่าน้ีอีก คอื คาว่าพอ ก็พอเพียงนกี้ ็พอแค่น้นั เอง คนเราถ้าพอ ในความต้องการกม็ คี วามโลภนอ้ ย เม่อื มคี วามโลภนอ้ ยกเ็ บยี ดเบยี นคนอนื่ น้อย ถ้าประเทศใดมีความคิดอันน้ี มี ความคิดว่าทาอะไรต้องพอเพียง หมายความว่าพอประมาณ ซื่อตรง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข พอเพยี งนี้อาจจะมี มีมากอาจจะมขี องหรูหราก็ได้ แต่วา่ ต้องไม่ไปเบยี ดเบยี นคนอื่น...” พระราชดารัส เนอ่ื งในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วนั ท่ี 4 ธนั วาคม 2541 “...ไฟดับถ้ามีความจาเป็น หากมีเศรษฐกิจพอเพยี งแบบไม่เต็มท่ี เรามีเคร่ืองปั่นไฟก็ใช้ปั่นไฟ หรือถ้า ข้ันโบราณกว่า มืดก็จุดเทียน คือมีทางท่ีจะแก้ปัญหาเสมอ ฉะนั้นเศรษฐกจิ พอเพียงก็มีเป็นขั้นๆ แต่จะบอกวา่

เศรษฐกิจพอเพียงนี้ ให้พอเพียงเฉพาะตัวเองรอ้ ยเปอร์เซ็นต์นี่เป็นสิ่งทาไม่ได้ จะต้องมีการแลกเปลี่ยน ต้องมี การช่วยกัน ถ้ามีการช่วยกัน แลกเปล่ียนกัน ก็ไม่ใช่พอเพียงแล้ว แต่ว่าพอเพียงในทฤษฎีในหลวงน้ี คือให้ สามารถทีจ่ ะดาเนินงานได้...” พระราชดารัส เนื่องในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลัย วันท่ี 23 ธนั วาคม 2542 “...โครงการตา่ งๆ หรอื เศรษฐกิจท่ีใหญ่ ตอ้ งมีความสอดคล้องกันดีทไี่ ม่ใชเ่ หมอื นทฤษฎีใหม่ ท่ีใช้ท่ีดิน เพียง 15 ไร่ และสามารถที่จะปลูกข้าวพอกิน กิจการนี้ใหญ่กว่า แต่ก็เป็นเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน คนไม่ เข้าใจว่ากิจการใหญ่ๆ เหมือนสร้างเขื่อนป่าสักก็เป็นเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน เขานึกว่าเป็นเศรษฐกิจ สมัยใหม่ เปน็ เศรษฐกจิ ทหี่ า่ งไกลจากเศรษฐกจิ พอเพียง แต่ที่จริงแลว้ เป็นเศรษฐกจิ พอเพียงเหมือนกัน...” พระราชดารัส เน่อื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลัย วันท่ี 23 ธันวาคม 2542 “...ฉันพูดเศรษฐกิจพอเพียงความหมายคือ ทาอะไรให้เหมาะสมกบั ฐานะของตวั เอง คือทาจากรายได้ 200-300 บาท ขึ้นไปเป็นสองหมื่น สามหมื่นบาท คนชอบเอาคาพูดของฉัน เศรษฐกิจพอเพียงไปพดู กันเลอะ เทอะ เศรษฐกิจพอเพียง คือทาเป็น Self-Sufficiency มันไม่ใช่ความหมายไม่ใช่แบบที่ฉันคิด ที่ฉันคิดคือเป็น Self-Sufficiency of Economy เช่น ถ้าเขาต้องการดูทีวี ก็ควรให้เขามีดู ไม่ใช่ไปจากัดเขาไม่ให้ซ้ือทีวีดู เขา ต้องการดูเพ่ือความสนุกสนาน ในหมู่บ้านไกลๆ ที่ฉันไป เขามีทีวีดูแต่ใช้แบตเตอร่ี เขาไม่มีไฟฟ้า แต่ถ้า Sufficiency น้ัน มีทีวีเขาฟุ่มเฟือย เปรียบเสมือนคนไมม่ ีสตางค์ไปตัดสูทใส่ และยังใส่เนคไทเวอร์ซาเช่ อันน้ีก็ เกนิ ไป...” ประเทศไทยกบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียง มุ่งเน้นให้ผู้ผลิต หรือผู้บริโภค พยายามเร่ิมต้นผลิต หรือบริโภคภายใต้ขอบเขต ขอ้ จากัดของรายได้ หรอื ทรพั ยากรทม่ี อี ย่ไู ปกอ่ น ซึ่งกค็ อื หลกั ในการลดการพงึ่ พา เพมิ่ ขีดความสามารถในการ ควบคุมการผลิตได้ด้วยตนเอง และลดภาวะการเสี่ยงจากการไม่สามารถควบคุมระบบตลาดได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ เศรษฐกิจพอเพียงมิใช่หมายความถึง การกระเบียดกระเสียนจนเกินสมควร หากแต่อาจฟุ่มเฟือยได้ เปน็ ครงั้ คราวตามอตั ภาพ แตค่ นสว่ นใหญ่ของประเทศ มักใช้จา่ ยเกินตวั เกินฐานะท่ีหามาได้ เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนาไปสู่เป้าหมายของการสร้างความม่ันคงในทางเศรษฐกิจได้ เช่น โดย พ้ืนฐานแล้ว ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม เศรษฐกิจของประเทศจึงควรเน้นที่เศรษฐกิจการเกษตร เน้นความมั่นคงทางอาหาร เป็นการสร้างความมั่นคงให้เป็นระบบเศรษฐกิจในระดับหน่ึง จึงเป็นระบบ เศรษฐกจิ ทีช่ ว่ ยลดความเส่ียง หรือความไมม่ ่นั คงทางเศรษฐกจิ ในระยะยาวได้ เศรษฐกิจพอเพยี ง สามารถประยกุ ต์ใชไ้ ดใ้ นทกุ ระดบั ทุกสาขา ทุกภาคของเศรษฐกจิ ไมจ่ าเป็นจะต้อง จากัดเฉพาะแต่ภาคการเกษตร หรอื ภาคชนบท แมแ้ ต่ภาคการเงิน ภาคอสังหาริมทรพั ย์ และการค้าการลงทุน ระหว่างประเทศ โดยมีหลักการท่ีคลา้ ยคลึงกนั คือ เนน้ การเลอื กปฏิบัตอิ ย่างพอประมาณ มีเหตมุ ีผล และสร้างภูมคิ ุ้มกนั ใหแ้ ก่ตนเองและสังคม

การดาเนนิ ชีวิตตามแนวพระราชดาริเศรษฐกจิ พอเพยี ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเข้าใจถึงสภาพสังคมไทย ดังนั้น เม่ือได้พระราชทานแนว พระราชดาริ หรือพระบรมราโชวาทในด้านต่างๆ จะทรงคานึงถึงวิถีชีวิต สภาพสังคมของประชาชนด้วย เพื่อ ไม่ใหเ้ กิดความขัดแยง้ ทางความคิด ทอี่ าจนาไปส่คู วามขดั แย้งในทางปฏิบตั ไิ ด้ แนวพระราชดาริในการดาเนินชวี ิตแบบพอเพยี ง 1. ยดึ ความประหยดั ตดั ทอนค่าใชจ้ า่ ยในทุกด้าน ลดละความฟุ่มเฟือยในการใชช้ ีวิต 2. ยดึ ถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกตอ้ ง ซอื่ สตั ยส์ จุ รติ 3. ละเลกิ การแกง่ แย่งผลประโยชน์และแขง่ ขันกันในทางการค้าแบบต่อสู้กันอยา่ งรนุ แรง 4. ไม่หยุดนงิ่ ท่ีจะหาทางให้ชวี ิตหลุดพน้ จากความทุกข์ยาก ดว้ ยการขวนขวายใฝ่หาความรู้ให้มีรายได้ เพิม่ พูนข้นึ จนถึงข้นั พอเพียงเปน็ เปา้ หมายสาคญั 5. ปฏิบตั ติ นในแนวทางท่ีดี ลดละส่งิ ชว่ั ประพฤตติ นตามหลกั ศาสนา ทฤษฎีใหม่ ทฤษฎีใหม่ คือ ตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมของ การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงที่เด่นชัดท่ีสุด ซ่ึง พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั ไดพ้ ระราชทานพระราชดารนิ ี้ เพ่อื เปน็ การช่วยเหลอื เกษตรกรท่ีมักประสบปัญหา ท้ังภัยธรรมชาติและปัจจัยภาย นอกที่มีผลกระทบต่อการทาการเกษตร ให้สามารถผ่านพ้นช่วงเวลาวิกฤต โดยเฉพาะการขาดแคลนนา้ ได้โดยไมเ่ ดือดร้อนและยากลาบากนัก ความเสย่ี งทีเ่ กษตรกร มกั พบเป็นประจา ประกอบดว้ ย 1. ความเสี่ยงด้านราคาสินค้าเกษตร 2. ความเสย่ี งในราคาและการพ่งึ พาปจั จัยการผลติ สมัยใหมจ่ ากตา่ งประเทศ 3. ความเสยี่ งดา้ นน้า ฝนท้งิ ชว่ ง ฝนแล้ง 4. ภัยธรรมชาตอิ ่นื ๆ และโรคระบาด 5. ความเสี่ยงด้านแบบแผนการผลติ - ความเสย่ี งด้านโรคและศตั รพู ชื - ความเสีย่ งดา้ นการขาดแคลนแรงงาน - ความเสยี่ งดา้ นหน้ีสนิ และการสญู เสียท่ีดิน ทฤษฎีใหม่ จึงเป็นแนวทางหรือหลักการในการบริหารการจัดการท่ีดินและน้า เพื่อการเกษตรในท่ีดนิ ขนาดเลก็ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สุด

ความสาคญั ของทฤษฎใี หม่ 1. มีการบริหารและจัดแบ่งท่ีดินแปลงเล็กออกเปน็ สดั ส่วนท่ีชัดเจน เพื่อประโยชนส์ งู สุดของเกษตรกร ซงึ่ ไมเ่ คย มใี ครคิดมาก่อน 2. มกี ารคานวณโดยใช้หลกั วชิ าการเกยี่ วกบั ปริมาณ นา้ ท่ีจะกักเกบ็ ใหพ้ อเพยี งตอ่ การเพาะปลกู ได้อยา่ งเหมาะสม ตลอดปี 3. มีการวางแผนท่ีสมบูรณ์แบบสาหรับเกษตรกร รายย่อย โดยมีถงึ 3 ข้นั ตอน ภาพท่ี 9.2 : ใหแ้ บ่งพืน้ ทอ่ี อกเป็น 4 ส่วน ทฤษฎใี หมข่ ้นั ต้น ตามอตั ราส่วน 30:30:30:10 ให้แบ่งพ้ืนที่ออกเป็น 4 ส่วน ตามอัตราส่วน ที่มา : http://203.158.253.230/2017/iwdc09/ 30:30:30:10 ซ่ึงหมายถึง พ้ืนท่ีส่วนที่หน่ึง ประมาณ 30% วันทสี่ ืบค้น : 3 เม.ย. 60 ใหข้ ุดสระเกบ็ กกั นา้ เพ่อื ใช้เกบ็ กกั น้าฝนในฤดูฝน และใชเ้ สริมการปลูกพืชในฤดูแลง้ ตลอดจนการเลย้ี งสตั ว์และ พืชน้าตา่ งๆ พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ 30% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพือ่ ใช้เป็นอาหารประจาวันสาหรับครอบครัวให้ เพียงพอตลอด ปี เพื่อตดั ค่าใช้จา่ ยและสามารถพึ่งตนเองได้ พ้ืนที่ส่วนที่สาม ประมาณ 30% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผัก พืชไร่ พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใช้เป็น อาหารประจาวนั หากเหลือบริโภคก็นาไปจาหน่าย พ้นื ที่ส่วนท่สี ี่ ประมาณ 10% เปน็ ท่อี ย่อู าศยั เลย้ี งสตั ว์ ถนนหนทาง และโรงเรือนอ่นื ๆ ทฤษฎีใหม่ข้นั ทีส่ อง เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบัติในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว ก็ต้องเริ่มข้ันท่ีสอง คือให้ เกษตรกรรวมพลงั กันในรปู กลุ่ม หรือ สหกรณ์ ร่วมแรงร่วมใจกนั ดาเนินการในด้าน (1) การผลิต (พนั ธ์พุ ชื เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ) - เกษตรกรจะต้องร่วมมือในการผลิต โดยเร่ิม ตั้งแต่ข้ันเตรียมดิน การหาพันธุ์พืช ปุ๋ย การจัดหาน้า และอื่นๆ เพอื่ การเพาะปลกู (2) การตลาด (ลานตากข้าว ย้งุ เคร่อื งสีขา้ ว การจาหนา่ ยผลผลติ ) - เม่อื มผี ลผลิตแล้ว จะต้องเตรียมการตา่ งๆ เพื่อการขายผลผลิตให้ได้ประโยชน์สูงสดุ เชน่ การเตรียม ลานตากข้าวร่วมกัน การจัดหายุ้งรวบรวมข้าว เตรียมหาเครื่องสีข้าว ตลอดจนการรวมกันขายผลผลิตให้ได้ ราคาดีและลดค่าใชจ้ ่ายลงด้วย (3) การเปน็ อยู่ (กะปิ นา้ ปลา อาหาร เครอื่ งนงุ่ หม่ ฯลฯ) - ในขณะเดยี วกนั เกษตรกรต้องมีความเปน็ อยูท่ ่ีดพี อสมควร โดยมปี ัจจัยพ้ืนฐานในการดารงชีวิต เช่น อาหารการกนิ ต่างๆ กะปิ น้าปลา เส้อื ผ้า ทีพ่ อเพยี ง (4) สวสั ดกิ าร (สาธารณสุข เงนิ กู้) - แต่ละชุมชนควรมีสวสั ดิภาพและบรกิ ารที่จาเป็น เช่น มีสถานีอนามัยเม่อื ยามป่วยไข้ หรือมีกองทุน ไว้กู้ยมื เพือ่ ประโยชน์ในกิจกรรมตา่ งๆ ของชุมชน

(5) การศกึ ษา (โรงเรยี น ทนุ การศึกษา) - ชมุ ชนควรมบี ทบาทในการส่งเสรมิ การศกึ ษา เชน่ มีกองทุนเพอ่ื การศึกษาเลา่ เรยี นใหแ้ ก่เยาวชนของ ชมุ ชนเอง (6) สงั คมและศาสนา - ชมุ ชนควรเปน็ ทร่ี วมในการพฒั นาสังคมและจิตใจ โดยมศี าสนาเปน็ ทย่ี ึดเหนีย่ ว โดยกจิ กรรมทั้งหมด ดังกล่าวข้างต้น จะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้อง ไม่ว่าส่วนราชการ องค์กรเอกชน ตลอดจน สมาชกิ ในชมุ ชนน้ันเปน็ สาคญั ทฤษฎีใหม่ข้ันทส่ี าม เม่ือดาเนินการผ่านพ้นข้ันที่สองแล้ว เกษตรกร หรือกลุ่มเกษตรกรก็ควรพัฒนาก้าวหน้าไปสู่ขั้นท่ีสาม ต่อไป คอื ติดตอ่ ประสานงาน เพือ่ จดั หาทนุ หรอื แหลง่ เงนิ เชน่ ธนาคาร หรือบรษิ ัท ห้างร้านเอกชน มาชว่ ยใน การลงทนุ และพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ทงั้ น้ี ทงั้ ฝ่ายเกษตรกรและฝา่ ยธนาคาร หรอื บริษทั เอกชนจะได้รับประโยชน์ร่วมกัน กล่าวคอื - เกษตรกรขายข้าวไดร้ าคาสูง (ไมถ่ ูกกดราคา) - ธนาคารหรือบรษิ ัทเอกชนสามารถซ้ือข้าวบริโภคในราคาต่า (ซ้อื ขา้ วเปลือกตรงจากเกษตรกรและมาสี เอง) - เกษตรกรซ้ือเครื่องอุปโภคบริโภคได้ในราคาต่า เพราะรวมกันซื้อเป็นจานวนมาก (เป็นร้านสหกรณ์ราคา ขายส่ง) - ธนาคารหรือบริษัทเอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพ่ือไปดาเนินการในกิจกรรมต่างๆ ให้เกิดผลดี ยิง่ ข้นึ หลักการและแนวทางสาคญั 1. เป็นระบบการผลิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงท่ีเกษตรกรสามารถเลี้ยงตัวเองได้ในระดับ ที่ประหยัด กอ่ น ทง้ั น้ี ชุมชนตอ้ งมีความสามัคคี รว่ มมือร่วมใจในการชว่ ยเหลือซึง่ กันและกนั ทานองเดยี วกับการ “ลงแขก” แบบด้งั เดิมเพอ่ื ลดคา่ ใช้จ่ายในการจา้ งแรงงานดว้ ย 2. เน่ืองจากข้าวเป็นปัจจัยหลักที่ทุกครัวเรือนจะต้องบริโภค ดังน้ัน จึงประมาณว่าครอบครัวหน่ึงทา นาประมาณ 5 ไร่ จะทาให้มีข้าวพอกินตลอดปี โดยไม่ต้องซ้ือหาในราคาแพง เพื่อยึดหลักพึ่งตนเองได้อย่างมี อิสรภาพ 3. ต้องมีน้าเพื่อการเพาะปลูกสารองไว้ใช้ในฤดูแล้ง หรือระยะฝนทิ้งช่วงได้อย่างพอเพียง ดังน้ัน จึง จาเป็นต้องกันท่ีดินส่วนหนึ่งไว้ขุดสระน้า โดยมีหลักว่าต้องมีน้าเพียงพอท่ีจะเพาะปลูกได้ตลอดปี ท้ังนี้ ได้ พระราชทานพระราชดาริเป็นแนวทางว่า ตอ้ งมีน้า 1,000 ลกู บาศก์เมตร ต่อการเพาะปลกู 1 ไร่ โดยประมาณ ฉะนน้ั เมอ่ื ทานา 5 ไร่ ทาพชื ไร่ หรอื ไม้ผลอีก 5 ไร่ (รวมเป็น 10 ไร่) จะตอ้ งมนี ้า 10,000 ลูกบาศก์เมตรต่อปี ดังนน้ั หากตั้งสมมติฐานว่า มพี ้นื ที่ 5 ไร่ กจ็ ะสามารถกาหนดสูตรคร่าวๆ ว่า แตล่ ะแปลง ประกอบด้วย - นาขา้ ว 5 ไร่ - พชื ไร่ พืชสวน 5 ไร่ - สระน้า 3 ไร่ ขุดลึก 4 เมตร จุน้าได้ประมาณ 19,000 ลูกบาศก์เมตร ซ่ึงเป็นปริมาณน้าที่เพียง พอที่จะสารองไว้ใช้ยามฤดูแล้ง

- ที่อยู่อาศัยและอ่ืนๆ 2 ไร่ รวมทั้งหมด 15 ไร่ แต่ท้ังน้ี ขนาดของสระเก็บน้าข้ึนอยู่กับสภาพภูมิ ประเทศและสภาพแวดล้อม ดงั นี้ - ถ้าเป็นพื้นที่ทาการเกษตรอาศัยน้าฝน สระน้าควรมีลักษณะลึก เพื่อป้องกันไม่ให้น้าระเหยได้มาก เกนิ ไป ซึ่งจะทาให้มีนา้ ใช้ตลอดท้ังปี - ถา้ เป็นพื้นท่ที าการเกษตรในเขตชลประทาน สระน้าอาจมีลกั ษณะลกึ หรือต้ืน และแคบ หรอื กวา้ งก็ ได้ โดยพิจารณาตามความเหมาะสม เพราะสามารถมีนา้ มา เตมิ อยูเ่ รือ่ ยๆ การมีสระเก็บน้าก็เพ่ือให้เกษตรกรมีน้าใช้อย่าง สม่าเสมอทง้ั ปี (ทรงเรยี กว่า Regulator หมายถงึ การควบคมุ ใหด้ ี มีระบบนา้ หมนุ เวยี นใชเ้ พ่ือการเกษตรไดโ้ ดยตลอดเวลา อย่างต่อเนื่อง) โดยเฉพาะอย่างย่ิงในหน้าแล้งและระยะฝน ท้ิงช่วง แต่มิได้หมายความว่า เกษตรกรจะสามารถปลูกขา้ ว นาปรังได้ เพราะหากน้าในสระเก็บน้าไม่พอ ในกรณีมีเข่ือน อยบู่ รเิ วณใกล้เคียงก็อาจจะต้องสูบนา้ มาจากเข่ือน ซึ่งจะทา ให้นา้ ในเขอ่ื นหมดได้ แตเ่ กษตรกรควรทานาในหน้าฝน และ ภาพท่ี 9.3 : การปลกู ข้าวนาปรงั ท่มี า : เนาวรตั น์ ทองโสภา เมื่อถึงฤดูแล้ง หรือฝนท้ิงช่วงให้เกษตรกรใช้น้าท่ีเก็บตุนนนั้ วันที่ : 12 เม.ย. 60 ให้เกิดประโยชน์ทางการเกษตรอย่างสูงสุด โดยพิจารณา ปลูกพืชให้เหมาะสมกับฤดูกาล เพ่ือจะได้มีผลผลิตอ่ืนๆ ไว้ บรโิ ภคและสามารถนาไปขายไดต้ ลอดทั้งปี 4. การจัดแบ่งแปลงที่ดินเพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดน้ี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงคานวณและ คานงึ จากอตั ราการถือครองที่ดนิ ถวั เฉล่ียครวั เรอื นละ 15 ไร่ อย่างไรก็ตาม หากเกษตรกรมพี นื้ ทถี่ อื ครองน้อย กว่าน้ี หรือมากกวา่ น้ี ก็สามารถใช้อัตราสว่ น 30:30:30:10 เปน็ เกณฑป์ รับใชไ้ ด้ กลา่ วคอื ร้อยละ 30 ส่วนแรก ขุดสระน้า (สามารถเล้ียงปลา ปลูกพืชน้า เช่น ผักบุ้ง ผักกะเฉด ฯลฯ ได้ด้วย) บนสระอาจสรา้ งเล้าไก่และบนขอบสระน้าอาจปลกู ไมย้ ืนต้นท่ีไม่ใช้น้ามากโดยรอบ ได้ ร้อยละ 30 ส่วนท่สี อง ทานา ร้อยละ 30 สว่ นทส่ี าม ปลูกพืชไร่ พืชสวน (ไม้ผล ไมย้ ืนตน้ ไมใ้ ช้สอย ไม้เพ่ือเป็นเชอื้ ฟนื ไมส้ ร้างบ้าน พชื ไร่ พืชผัก สมนุ ไพร เป็นตน้ ) ร้อยละ 10 สุดท้าย เปน็ ทีอ่ ยู่อาศัยและอนื่ ๆ (ทางเดิน คันดนิ กองฟาง ลานตาก กองปุย๋ หมัก โรงเรือน โรงเพาะเห็ด คอกสัตว์ ไมด้ อกไมป้ ระดับ พืชสวนครวั หลงั บา้ น เปน็ ตน้ ) อย่างไรก็ตาม อัตราส่วนดังกล่าวเป็นสูตร หรือหลักการโดยประมาณเท่านั้น สามารถปรับปรุง เปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม โดยขึ้นอยู่กับสภาพของพื้นที่ดิน ปริมาณน้าฝน และสภาพแวดล้อม เช่น ในกรณีภาคใตท้ ่ีมีฝนตกชกุ หรอื พนื้ ท่ีทีม่ ีแหลง่ น้ามาเติมสระไดต้ ่อเนื่อง กอ็ าจลดขนาดของบอ่ หรอื สระเกบ็ น้า ให้เลก็ ลง เพ่ือเกบ็ พนื้ ทไี่ วใ้ ช้ประโยชนอ์ ่ืน ๆ ตอ่ ไปได้ 5. การดาเนินการตามทฤษฎีใหม่ มีปัจจัยประกอบหลายประการ ข้ึนอยู่กับสภาพภูมิประเทศ สภาพแวดล้อมของแต่ละท้องถ่ิน ดังน้ัน เกษตรกรควรขอรับคาแนะนาจากเจ้าหน้าที่ด้วย และที่สาคัญ คือ ราคาการลงทุนค่อนข้างสูง โดยเฉพาะอย่างย่ิงการขุดสระน้า เกษตรกรจะต้องได้รับความช่วยเหลือจากส่วน ราชการ มลู นิธิ และเอกชน

6. ในระหว่างการขุดสระน้า จะมีดินท่ีถูกขุดข้ึนมาจานวนมาก หน้าดินซึ่งเป็นดินดี ควรนาไปกองไว้ ต่างหากเพ่ือนามาใช้ประโยชน์ในการปลูกพืชต่างๆ ในภายหลัง โดยนามาเกล่ียคลุมดินช้ันล่างที่เป็นดินไม่ดี หรอื อาจนามาถมทาขอบสระนา้ หรือยกรอ่ งสาหรับปลูกไม้ผลก็จะไดป้ ระโยชน์อกี ทางหน่งึ ตวั อยา่ งพืชที่ควรปลกู และสัตว์ท่คี วรเลยี้ ง ไม้ผลและผักยนื ต้น : มะม่วง มะพรา้ ว มะขาม ขนนุ ละมุด สม้ กลว้ ย น้อยหนา่ มะละกอ กะทอ้ น แค บา้ น มะรมุ สะเดา ขี้เหลก็ กระถิน ฯลฯ ผักล้มลุกและดอกไม้ : มันเทศ เผือก ถั่วฝักยาว มะเขือ มะลิ ดาวเรือง บานไม่รู้โรย กุหลาบ รัก และ ซอ่ นกลน่ิ เป็นตน้ เห็ด : เหด็ นางฟ้า เห็ดฟาง เห็ดเป๋าฮอื้ เป็นต้น สมุนไพรและเคร่ืองเทศ : หมาก พลู พริกไท บุก บัวบก มะเกลือ ชุมเห็ด หญ้าแฝก และพืชผักบาง ชนดิ เช่น กะเพรา โหระพา สะระแหน่ แมงลกั และตะไคร้ เป็นต้น ไม้ใชส้ อยและเชอ้ื เพลิง : ไผ่ มะพรา้ ว ตาล กระถินณรงค์ มะขามเทศ สะแก ทองหลาง จามจุรี กระถนิ สะเดา ข้เี หลก็ ประดู่ ชงิ ชัน และยางนา เป็นต้น พืชไร่ : ข้าวโพด ถ่ัวเหลือง ถั่วลิสง ถ่ัวพุ่ม ถ่ัวมะแฮะ อ้อย มันสาปะหลัง ละหุ่ง นุ่น เป็นต้น พืชไร่ หลายชนิดอาจเก็บเก่ียวเมื่อผลผลิตยังสดอยู่ และจาหน่ายเป็นพืชประเภทผักได้ และมีราคาดีกว่าเก็บเม่ือแก่ ได้แก่ ขา้ วโพด ถวั เหลอื ง ถัว่ ลิสง ถว่ั พ่มุ ถั่วมะแฮะ อ้อย และมนั สาปะหลงั พืชบารุงดินและพืชคลุมดิน : ถ่ัวมะแฮะ ถั่วฮามาต้า โสนแอฟริกัน โสนพื้นเมือง ปอเทือง ถั่วพร้า ขเี้ หลก็ กระถนิ รวมทั้งถ่ัวเขยี วและถัว่ พมุ่ เป็นต้น และเมอ่ื เก็บเกยี่ วแล้วไถกลบลงไปเพื่อบารงุ ดนิ ได้ หมายเหตุ : พชื หลายชนิดใช้ทาประโยชน์ไดม้ ากกวา่ หน่ึงชนดิ และการเลอื กปลูกพืชควรเนน้ พืชยนื ต้น ดว้ ย เพราะการดูแลรกั ษาในระยะหลังจะลดนอ้ ยลง มีผลผลิตทยอยออกตลอดปี ควรเลือกพชื ยนื ต้นชนดิ ต่างๆ กัน ให้ความร่มเย็นและชุ่มช้ืนกับที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม และควรเลือกต้นไม้ให้สอดคล้องกับสภาพของ พนื้ ท่ี เชน่ ไม่ควรปลูกยคู าลปิ ตัสบริเวณขอบสระ ควรเป็นไมผ้ ลแทน เปน็ ต้น สตั วเ์ ล้ยี งอื่นๆ ได้แก่ สัตว์น้า : ปลาไน ปลานิล ปลาตะเพียนขาว ปลาดุก เพ่ือ เป็นอาหารเสริมประเภทโปรตนี และยงั สามารถนาไปจาหนา่ ยเป็น รายไดเ้ สรมิ ไดอ้ กี ด้วย ในบางพน้ื ทีส่ าม ารถเลยี้ งกบได้ สุกร หรือ ไก่ เลี้ยงบนขอบสระน้า ทั้งนี้ มูลสุกรและไก่ สามารถนามาเปน็ อาหารปลา บางแห่งอาจเลย้ี งเปด็ ได้ ประโยชนข์ องทฤษฎใี หม่ 1. ให้ประชาชนพออยู่พอกินสมควรแก่อัตภาพในระดับ ภาพท่ี 9.4 : การเลีย้ งปลาเพอื่ หารายได้เสริม ที่ประหยัด ไม่อดอยาก และเล้ียงตนเองได้ตามหลักปรัชญา ทม่ี า : https://www.kasetup.com “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” วนั ที่สืบคน้ : 9 เม.ย. 60 2. ในหน้าแล้งมนี า้ นอ้ ย ก็สามารถเอานา้ ที่เกบ็ ไวใ้ นสระมา ปลกู พชื ผักตา่ งๆ ทีใ่ ช้น้าน้อยได้ โดยไมต่ ้องเบยี ดเบียนชลประทาน 3. ในปีทฝ่ี นตกตามฤดูกาลโดยมนี า้ ดีตลอดปี ทฤษฎใี หมน่ ีส้ ามารถสรา้ งรายได้ใหแ้ กเ่ กษตรกรได้โดยไม่ เดอื ดรอ้ นในเร่ืองค่า ใชจ้ า่ ยตา่ งๆ

4. ในกรณที ี่เกดิ อทุ กภยั เกษตรกรสามารถที่จะฟ้ืนตวั และช่วยตวั เองได้ในระดับหนง่ึ โดยทางราชการ ไมต่ ้องชว่ ยเหลอื มากนัก ซ่ึงเป็นการประหยดั งบประมาณดว้ ย ทฤษฎใี หมท่ ่สี มบรู ณ์ ทฤษฎใี หมท่ ดี่ าเนินการโดยอาศยั แหลง่ นา้ ธรรมชาติ นา้ ฝน จะอยใู่ นลกั ษณะ “หมิ่นเหม่” เพราะหาก ปใี ดฝนนอ้ ย น้าอาจจะไมเ่ พียงพอ ฉะน้ัน การทจ่ี ะทาใหท้ ฤษฎีใหม่สมบูรณ์ไดน้ ั้น จาเปน็ ตอ้ งมสี ระเก็บกักน้าที่ มีประสิทธิภาพและเต็มความสามารถ โดยการมีแหล่งน้าขนาดใหญ่ท่ีสามารถเพิ่มเติมน้าในสระเก็บกักน้าให้ เต็มอยู่ เสมอ ดังเช่น กรณีของการทดลองท่ีโครงการพัฒนาพื้นท่ีบริเวณวัดมงคลชัยพัฒนาอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ จังหวัดสระบุรี ระบบทฤษฎีใหมท่ ่ีสมบูรณ์ อา่ งใหญ่ เติมอ่างเล็ก อ่างเล็ก เตมิ สระน้า (จากภาพด้านขวามือ) วงกลมเล็ก คือสระน้าท่ีเกษตรกร ขุดข้ึนตามทฤษฎีใหม่ เม่ือเกิดช่วงขาดแคลนน้าในฤดูแล้ง เกษตรกรสามารถสบู นา้ มาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ และหากน้าในสระน้าไม่ เพียงพอก็ขอรับน้าจากอ่างห้วยหินขาว (อ่างเล็ก) ซ่ึงได้ทาระบบ ส่งน้าเช่ือมต่อทางท่อลงมายังสระน้าที่ได้ขุดไว้ในแต่ละแปลง ซ่ึง จะชว่ ยให้สามารถมีน้าใช้ตลอดปี กรณีที่เกษตรกรใช้น้ากันมาก อ่างห้วยหินขาว (อ่างเล็ก) ก็อาจมีปริมาณน้าไม่เพียงพอ ก็สามารถใช้วิธีการผันน้าจากเขื่อน ป่าสักชลสิทธ์ิ (อ่างใหญ่) ต่อลงมายังอ่างเก็บน้าห้วยหินขาว (อ่าง ภาพที่ 9.5 : ระบบทฤษฎีใหมท่ ่ีสมบรู ณ์ เล็ก) ก็จะชว่ ยใหม้ ปี รมิ าณน้ามาเตมิ ในสระของเกษตรกรพอตลอด ที่มา : http://www.chaipat.or.th ทั้งปีโดยไม่ตอ้ งเส่ยี ง วันที่สบื ค้น : 9 เม.ย. 60 ระบบการจัดการทรัพยากรน้าตามแนวพระราชดาริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สามารถทาให้การใช้น้ามีประสิทธิภาพอย่างสูงสุด จากระบบส่งท่อเปิดผ่านไป ตามแปลงไร่นาต่างๆ ถึง 3-5 เท่า เพราะยามหน้าฝน นอกจากจะมีน้าในอ่างเก็บน้าแล้ว ยังมีน้าในสระของ ราษฎรเก็บไว้พรอ้ มกันดว้ ย ทาให้มปี ริมาณน้าเพ่ิมอย่างมหาศาล นา้ ในอา่ งทตี่ ่อมาสู่สระจะทาหนา้ ท่ีเปน็ แหล่ง น้าสารอง คอยเติมเทา่ น้ันเอง หลักธรรมเสริมความพอเพยี ง หลักมชั ฌิมาปฏิปทา(การปฏิบตั ิตนในทางสายกลาง) มัชฌิมาปฏิปทาในทางพทุ ธศาสนาหมายถึงทางสายกลาง คือการไม่ยึดถือสุดทางท้ัง 2 ได้แก่ อัตตกิลมถานุโยค คือ การประกอบตนเองให้ลาบากเกินไป และ กามสุขัลลิกานุโยค คือ การพัวพันในกามใน ความสบาย เปน็ หลกั คาสอนท่ีปรากฏในพระธรรมเทศนากัณฑ์แรกของพระพุทธเจ้าที่ทรงแสดงแก่ปัญจวัคคีย์ คือ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร นอกจากคุณค่าขั้นสูงสุดของหลักมัชฌิมาปฏิปทาท่ีเป็นไปเพื่อการพ้นทุกข์แล้ว คณุ ค่าในเบอื้ งตน้ ยงั เป็นไปเพอื่ การรู้จักการดาเนนิ ชีวิตให้เกิดความพอดเี ปน็ แนวทางของการแก้ทกุ ข์ที่เรียกว่า “อรยิ มรรคมอี งค์ 8” โดยมุง่ เนน้ ใหม้ ีความสุขกายและสุขใจไปด้วย ดงั น้ี 1 .สมั มาทิฏฐิ คือ ปัญญาเห็นชอบ หมายถึง การปฏิบตั ิอย่างเหมาะสมตามความเปน็ จรงิ ด้วยปัญญา 2 .สัมมาสงั กปั ปะ คอื ดารชิ อบหมายถงึ การใชส้ มองความคิดพิจารณาแต่ในทางกุศลหรือความดงี าม

3 .สมั มาวาจา คอื เจรจาชอบ หมายถึง การพูดตอ้ งสภุ าพ แต่ในสิ่งทสี่ รา้ งสรรค์ดีงาม 4 .สมั มากัมมันตะ คอื การประพฤตดิ งี าม ทางกายหรอื กจิ กรรมทางกายทงั้ ปวง 5 .สัมมาอาชีวะ คอื การทามาหากินอยา่ งสุจรติ ชน ไม่คดโกง เอาเปรียบคนอน่ื ๆ มากเกินไป 6 .สมั มาวายามะ คอื ความอุตสาหะพยายาม ประกอบความเพยี รในการกศุ ลกรรม 7 .สมั มาสติ คอื การไม่ปลอ่ ยให้เกิดความพล้งั เผลอ จิตเลื่อนลอย ดารงอยู่ดว้ ยความร้ตู วั อยเู่ ป็นปกติ 8 .สมั มาสมาธิ คอื การฝึกจติ ใหต้ ้งั มัน่ สงบ สงดั จากกิเลส นวิ รณ์อยู่เป็นปกติ อตฺตา หิ อตตฺ โน นาโถ (ตนเปน็ ท่ีพ่ึงแห่งตน) หลักอตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ เป็นคาสอนให้บุคคลพ่ึงตนเอง ซึ่งแนวทางของระบบเศรษฐกจิ พอเพียงก็ ได้ม่งุ เนน้ ให้พงึ่ ตนเองในการทามาหาเล้ียงชพี ในการสร้างฐานะและการเก็บรกั ษาทรัพย์ท่ีหามาได้เพ่ือจับจ่ายใช้ สอยในยามจาเป็นนอกจากเปน็ ท่พี ึ่งแหง่ ตนแลว้ จะต้องเป็นที่พึ่งของบุคคลอ่ืนด้วยนอกจากในระดบั บุคคลแล้วยังมุ่งเนน้ ให้การพฒั นาประเทศชาติให้ พึง่ ตนเองในลกั ษณะ “เศรษฐกิจพอเพียง” น่ันคือการพัฒนาทไ่ี ม่องิ เศรษฐกจิ โลกจนเกนิ ไป หลกั สนั โดษ หลักสันโดษนี้มุ่งใหบ้ ุคคลพึงพอใจในสิ่งของหรอื ทรัพย์สินท่ีตนเองได้มาและใช้ จ่ายใน ส่ิงท่ีก่อให้เกดิ ประโยชน์ ใหบ้ คุ คลรู้จักประมาณ ไดแ้ ก่ การประหยัดและรจู้ ักออม ไม่ฟุ่มเฟือยฟุ้งเฟ้อมคี วามเปน็ อยู่อย่างสงบ เรียบง่าย และโปร่งใส ไม่ทะเยอทะยานต่อสู้และเบียดเบียนบุคคลอ่ืน ไม่เอารัดเอาเปรียบกัน อยู่ร่วมกันได้ อย่างสนั ตสิ ขุ ในคมั ภีร์ มงั คลทีปนีได้ใหค้ วามหมายของคาว่า สนั โดษ ไว้ 3 นัยคือ ยินดสี ่ิงท่ีเปน็ ของตน, ยนิ ดใี น สง่ิ ท่ีมอี ยู่ และ ยินดีดว้ ยใจทเี่ สมอ (ด้วยใจท่ีมน่ั คง) หลกั สัปปรุ สิ ธรรม 7 หลักสัปปุริสธรรม 7 คือ ธรรมของสัตบุรุษ ธรรมที่ทาให้เป็นสัตบุรุษ หรือคุณสมบัติของคนดี น่ันเอง ประกอบดว้ ย 1. ธัมมัญญุตา – ความรู้จักเหตุ คือรู้หลักความจริง รู้หลักการ รู้หลักเกณฑ์ รู้กฎแห่งธรรมดา รู้ กฎเกณฑแ์ ห่งเหตผุ ล และรหู้ ลักการท่จี ะทาให้เกดิ ผล 2.อัตถัญญุตา – ความรู้จักอรรถ รู้ความมุ่งหมาย หรือ รู้จักผล คือ รู้ความหมาย รู้ความมุ่งหมาย รู้ ประโยชนท์ ี่ประสงค์ 3.อัตตัญญุตา – ความรู้จักตน คือ รู้ว่า เรานั้น ว่าโดยฐานะ ภาวะ เพศ กาลัง ความรู้ ความสามารถ ความถนัด และคุณธรรม เปน็ ตน้ บดั นี้ เทา่ ไร อย่างไร แลว้ ประพฤติใหเ้ หมาะสมและรทู้ ่ีจะแกไ้ ขปรบั ปรงุ ตอ่ ไป 4.มัตตัญญุตา – ความรู้จักประมาณ คือ ความพอดี เช่น ภิกษุรู้จักประมาณในการรับและบริโภค ปัจจัยส่คี ฤหสั ถร์ ู้จกั ประมาณในการใช้จา่ ยโภคทรพั ย์ เป็นตน้ 5.กาลัญญุตา – ความรู้จักกาล คือรู้กาลเวลาอันเหมาะสม และระยะเวลาที่ควรหรอื จะต้องใช้ในการ ประกอบกจิ ทาหนา้ ทก่ี ารงาน เช่น ให้ตรงเวลา ใหเ้ ปน็ เวลา ให้ทันเวลา ใหพ้ อเวลา เปน็ ตน้ 6.ปริสัญญุตา – ความรูจ้ ักบรษิ ทั คือรู้จกั ชมุ ชน และรูจ้ ักทป่ี ระชุม รกู้ ริยาที่จะประพฤตติ อ่ ชมุ ชนน้ันๆ วา่ ชมุ ชนนี้เมื่อเขา้ ไปหา จะตอ้ งทากริยาอยา่ งน้ี จะต้องพดู อย่างน้ี ชุมชนนค้ี วรสงเคราะหอ์ ยา่ งนี้ เปน็ ตน้

7.ปุคคลัญญุตา หรือ ปุคคลปโรปรัญญุตา – ความรู้จักบุคคล คือ ความแตกต่างแห่งบุคคลว่าโดย อัธยาศัยความสามารถและคุณธรรม เป็นต้น ใครๆ ย่ิงหรือหย่อนอย่างไร และรู้ที่จะปฏิบัติต่อบุคคลนั้น ๆ ดว้ ยดี เปน็ ต้น ทิฏฐธัมมิกัตถะ เป็นข้อปฏิบัติสาคัญที่ทาใหเ้ กิดผล คือ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ทาให้มีทรัพย์สินเงนิ ทอง พ่ึงตนเอง ได้ เรียกว่าธรรมท่ีเป็นไปเพ่ือประโยชน์ปัจจุบัน บางทีเรียกว่า “หัวใจเศรษฐี” โดยมีคาย่อคือ “อุ”“อา”“กะ” “สะ” ดังนีค้ ือ 1.อุฏฐานะสัมปทา (อุ) หมายถึง การถึงพร้อมด้วยความขยันหม่ันเพียร รู้จักใช้ปัญญาไตร่ตรอง พิจารณาหาวิธีการท่ีแยบคายในการทางาน มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ รู้จักคิด รู้จักทา รู้จักดาเนินการด้าน เศรษฐกจิ ทาการงานประกอบอาชีพใหไ้ ด้ผลดี 2.อารกั ขสมั ปทา (อา) หมายถึง การถงึ พร้อมด้วยการรกั ษา สามารถปกปอ้ งคุ้มครองรักษาทรัพย์สินที่ หามาได้ ไม่ให้สูญหายพินาศไปด้วยภยั ตา่ งๆ 3.กัลยาณมิตตตา (กะ) หมายถึง การรู้จักคบคนดีหรือมีกลั ยาณมติ ร ซ่ึงจะเป็นองค์ประกอบสาคัญ ที่ ช่วยให้เจริญก้าวหน้าในวงการอาชีพนั้นๆ ทาให้รู้เห็นช่องทางและโอกาสต่างๆ ในการงาน ทันต่อเหตุการณ์ ตลอดจนรจู้ กั ปฏิบัตติ อ่ ทรัพยข์ องตนอย่างถกู ต้อง ไมถ่ กู มติ รช่ัวชกั จูงไปในทางอบายมุข ซึ่งจะทาใหท้ รัพย์สนิ ไม่ เพ่มิ พูนหรือมีแตจ่ ะหดหายไป 4.สมชีวิตา (สะ) หมายถึง ความเป็นอยู่พอดี หรือความเป็นอยู่สมดุล คือเล้ียงชีพแต่พอดี ไม่ให้ ฟ่มุ เฟือย ไมใ่ ห้ฝืดเคอื ง ให้รายไดเ้ หนือรายจ่าย มเี หลอื เกบ็ ไวใ้ ชใ้ นคราวจาเปน็ โภคาวภิ าค 4 เป็นวิธกี ารจดั สรรทรัพย์ในการใชจ้ า่ ย โดยจดั สรรทรัพยอ์ อกเป็น 4 ส่วน ดงั นค้ี อื 1. แบ่ง 1 ส่วน เพ่ือใช้บริโภคเลี้ยงตนเองให้เป็นสุข เล้ียงดูครอบครวั และคนท่ีอยใู่ นความรับผิดชอบ ให้เป็นสุข และใช้ทาความดี บาเพญ็ ประโยชน์แตส่ าธารณะ เป็นตน้ 2. แบง่ 2 สว่ น เพือ่ จดั สรรไวส้ าหรับลงทุนประกอบกิจการงานตา่ งๆ 3. แบ่ง 1 ส่วน เพื่อเกบ็ ไว้ใช้ในยามจาเป็น เชน่ เมือ่ เกดิ อบุ ตั ิเหตุ เมอื่ เจ็บไขไ้ ดป้ ว่ ย เปน็ ตน้ โภคอาทยิ ะ 5 คอื เมื่อมีทรัพยส์ ิน ควรนามาใช้ประโยชนต์ ่อการดาเนินชีวติ ประกอบดว้ ย 1.ใช้จา่ ยทรัพย์น้ันเล้ียงตนเอง เลี้ยงดคู รอบครัว มารดาบดิ า ใหเ้ ป็นสุข 2.ใช้ทรัพยน์ นั้ บารุงเลย้ี งมิตรสหาย ผรู้ ่วมกจิ การงานใหเ้ ปน็ สุข 3.ใชป้ ้องกันภยันตรายตา่ ง ๆ 4.ทาพลี คอื การสละบารงุ สงเคราะห์ 5 อยา่ ง ได้แก่ อตถิ ิพลี (ใช้ตอ้ นรับแขก), ญาตพิ ลี (ใชส้ งเคราะห์ ญาติ), ราชพลี (ใช้บารุงราชการด้วยการเสียภาษีอากร), เทวตาพลี (บารุงเทวดา), ปุพพเปตพลี (ทาบุญอุทิศ ใหแ้ กบ่ ุพการ)ี 5. ใช้เพ่ือบารงุ สมณพราหมณ์ กามโภคสี ขุ 4 (สขุ ของคฤหสั ถ์ 4) คือ คนครองเรือนควรจะมคี วามสขุ 4 ประการ ซงึ่ คนครองเรอื นควรจะพยายามให้เข้าถงึ ใหไ้ ด้ คือ

1.อัตถสิ ุข - สขุ เกิดจากการมที รพั ย์ เปน็ หลักประกนั ของชวี ิต โดยเฉพาะความอนุ่ ใจ ปลาบปล้มื ภูมิใจ วา่ เรามที รพั ย์ท่หี ามาไดด้ ว้ ยกาลงั ของตนเอง 2.โภคสุข -สุขเกิดจากการบริโภคทรพั ย์ หรือใชจ้ า่ ยทรพั ย์ คือ รูจ้ กั ใช้จา่ ยทรัพยน์ ัน้ ให้เกิดประโยชน์แก่ ชวี ติ ของตน เลี้ยงดูบคุ คลอ่นื และทาประโยชน์สุขต่อผู้อื่นและสังคม เป็นต้น 3.อนณสุข – สขุ เกดิ จากความไม่เป็นหน้ี ไมต่ อ้ งทุกขใ์ จ เป็นกงั วลใจเพราะมีหน้สี นิ ตดิ คา้ งใคร 4.อนวัชชสุข -สุขเกิดจากความประพฤติท่ีไม่มีโทษ คือ มีกายกรรม วจีกรรม มโนกรรมท่ีสุจรติ ที่ใคร จะว่ากล่าวตเิ ตยี นไมไ่ ด้ มคี วามบรสิ ทุ ธิ์ และมคี วามมน่ั ใจในการดาเนนิ ชวี ติ ของตน สรุป เศรษฐกจิ พอเพียง หมายถึง การพฒั นา การผลิต การจดั จาหน่าย จ่ายแจก และการบรโิ ภคใช้สอยสิ่ง ตา่ ง ๆ ของชุมชน รวมถงึ ดา้ นการใช้บรกิ ารและการทอ่ งเทยี่ วทม่ี ปี จั จัยกระตุ้นตอ่ การเจรญิ ของเศรษฐกจิ อยู่บน พื้นฐานความมีพอสาหรับดารงชีวิต ตามหลัก ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่ มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบรโิ ภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมี เหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเก่ียวกับระดับความพอเพียงนนั้ จะต้องเป็นไปอย่างมเี หตุผล โดยพิจารณาจาก เหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดข้ึนจากการกระทาน้ันๆ อย่างรอบคอบ ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ท่ีจะเกิดข้ึนโดยคานึงถึงความ เปน็ ไปได้ของสถานการณต์ า่ งๆ ที่คาดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคตโดยมเี งือ่ นไข ของการตัดสินใจและดาเนินกจิ กรรม ต่างๆ ให้อยูใ่ นระดบั พอเพียง 2 ประการ ดังนี้ เงอ่ื นไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรู้เก่ยี วกบั วิชาการต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เช่ือมโยงกัน เพื่อประกอบการ วางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ เงื่อนไขคุณธรรม ท่ีจะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความ ตระหนักใน คณุ ธรรม มคี วามซอื่ สัตยส์ จุ ริตและมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ใช้สตปิ ัญญาในการดาเนนิ ชีวิต โดย การแบ่งพ้ืนท่ีออกเป็น 4 ส่วน ตามอัตราส่วน 30:30:30:10 ในการดาเนนิ ชีวติ ตามหลักเศรษฐกจิ พอเพียงโดย อาศัย หลกั มัชฌิมาปฏปิ ทา(การปฏบิ ัตติ นในทางสายกลาง)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook