พลเมืองดี
ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกับพลเมืองดี บทความออนไลน์ : https://sites.google.com/site/tauw2491/ , https://th.wikipedia.org/wiki รุจน์ หาเรือนทรง ได้ให้ความหมายของ พลเมืองดี หมายถึง ผู้ท่ีปฏิบัติหน้าท่ีพลเมืองได้ครบถ้วน ท้ัง กจิ ทต่ี อ้ งทํา และกิจท่ีควรทํา พลเมอื งดี หมายถงึ การอยู่รว่ มกนั ในสงั คม จําเป็นท่ีจะตอ้ งมีกฎระเบียบหรอื ข้อบังคับเพื่อให้พลเมือง ของสังคมนั้นได้ถือปฏิบัติร่วมกัน ดังนั้นสังคมจะดีหรือสามารถพัฒนาให้มีความเจริญก้าวหน้าได้มากน้อย เพียงใด จงึ ขนึ้ อย่กู ับบทบาทหน้าท่ีของพลเมอื งดีทม่ี ีอยู่ในสงั คมเปน็ สําคัญ พลเมืองดี หมายถึง คําว่า “พลเมือง” หมายถึง ชาวเมืองหรือประชาชนท่ีปฏิบัติตามระเบียบ กฎเกณฑ์ของสงั คม มคี วามรบั ผิดชอบตอ่ หน้าท่ีและร้จู ักบทบาทหนา้ ที่ของตนเอง ปฏิบตั ติ นได้อย่างเหมาะสม ไมล่ ะเมิดสทิ ธิและเสรีภาพของบุคคลอ่นื ดงั น้นั พลเมืองดี ผูท้ ป่ี ฏบิ ัติตนตามกฎหมายทเี่ ปน็ ข้อบงั คับ พลเมอื งของสังคมนน้ั ได้ถือปฏิบัติร่วมกัน ตลอดจนรจู้ กั บทบาทหน้าที่ของตนเอง เคารพความคดิ เหน็ ของผู้อน่ื และดํารงตนให้เปน็ ประโยชน์ตอ่ สังคม อนั จะกอ่ ใหเ้ กดิ การพัฒนาสงั คมและประเทศชาตใิ ห้มคี วามเจรญิ กา้ วหนา้ สืบไป บทบาทของพลเมืองดี พลเมืองดีถือเป็นองค์ประกอบที่สําคัญของสังคม เพราะเป็นกําลังสําคัญในการพัฒนาความ เจริญก้าวหน้าของประเทศ บทบาทของพลเมืองดีจึงต้องปฏบิ ัติตามบรรทัดฐานและขนบธรรมเนยี มประเพณี ของสงั คมนน้ั ๆ อาทิ มแี นวทางในการดําเนนิ ชวี ิตท่ีถูกตอ้ งเหมาะสม ประพฤตปิ ฏบิ ตั อิ ยู่ภายใตก้ ฎเกณฑแ์ ละขนบธรรมเนียม ประเพณีของสังคม รู้จกั บทบาทหนา้ ที่ของตนเอง และเคารพสิทธขิ องผอู้ น่ื ยอมรับความแตกตา่ ง และเคารพความคิดเหน็ ของคนส่วนใหญ่ มอี สิ รภาพและสามารถพ่งึ พาตนเองได้ มีส่วนรว่ มในการป้องกนั หรอื แก้ไขปัญหาส่วนรวม เชน่ ปญั หาเศรษฐกิจ สังคม การเมอื งและ สง่ิ แวดล้อม สงั คมประชาธปิ ไตยเปน็ สังคมทยี่ ึดหลกั ความเท่าเทยี มกนั ของบคุ คลในสังคม ทั้งนี้ผู้ท่ีอาศยั อยู่ในสงั คม ประชาธิปไตยหรือพลเมืองในสังคมประชาธิปไตยจึงควรมีการปฏิบัติตนที่สอดคล้องและสัมพันธ์กั บการ ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย พลเมอื งดตี ามวิถปี ระชาธิปไตยในสงั คมไทย พลเมือง หมายถงึ พละกาํ ลังของประเทศ ซึ่งมสี ว่ นเป็นเจา้ ของประเทศ พลเมอื งมคี วามหมายตา่ งจาก บุคคล ซึ่งหมายถึง สิ่งซ่ึงมีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย ซ่ึงได้แก่ บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลเม่ือกล่าวถึง พลเมืองของประเทศใด ย่อมหมายถึงบุคคลท้ังหลายท่ีมีสัญชาติของประเทศน้ัน ๆ ตามกฎหมายของแต่ละ ประเทศ เช่น เม่ือกล่าวถึงพลเมืองของประเทศไทยย่อมหมายถึงบุคคลทั้งหลายที่มีสัญชาติไทยตามกฎหมาย ไทยพลเมอื งของ แต่ละประเทศย่อมมีสิทธิและหน้าท่ีตามกฎหมายของประเทศนน้ั บุคคลต่างสญั ชาติท่ีเข้า ไปอยู่อาศัยซึ่งเรียกว่า ต่างด้าว ไม่มีสิทธิเท่าเทียมกับพลเมือง และมีหน้าท่ีแตกต่างออกไป เช่น มีหน้าที่เสีย ภาษี หรอื ค่าธรรมเนียมเพ่มิ ข้นึ ตามท่ีกฎหมายของแตล่ ะประเทศบญั ญัตไิ ว้
การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี บุคคลจะเป็นพลเมืองดีของสังคมนั้น ต้องตระหนักถึงบทบาท หน้าที่ ท่ีจะต้องปฏิบัติ และมุ่งม่ันเพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย ด้วยความ รบั ผิดชอบอย่างเต็มที่ สอดคล้องกับหลักธรรม วฒั นธรรมประเพณี และ รัฐธรรมนูญท่ีกําหนดไว้ รวมทั้งบทบาททางสังคมท่ีตนดํารงอยู่ เพ่ือให้ เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และได้ประสิทธิผลทั้งในส่วนตนและสังคม เมอื่ สามารถปฏิบัติหน้าท่ไี ดอ้ ย่างถกู ต้องสมบรู ณย์ อ่ มเกิดความภาคภูมิใจ และเกิดผลดีทั้งต่อตนเองและสังคม ด้วยการเป็นพลเมืองดีท่ีเคารพ กฎหมาย เคารพสิทธิเสรีภาพของผ้อู ืน่ มคี วามกระตอื รือรน้ ท่ีจะเข้ามามี ภาพท่ี 6.1 : พลเมืองดที ่เี คารพกฎหมาย ทม่ี า : เนาวรัตน์ ทองโสภา ส่วนร่วมในการแก้ปัญหาของชุมชนและสังคม มีคุณธรรมและจริยธรรม วนั ที่ : 22 ก.พ. 60 เป็นหลักในการดาํ เนินชวี ติ อยา่ งผาสุกพลเมอื งดมี ีหน้าที่ต้องปฏิบัติ ดงั น้ี 1. หนา้ ทข่ี องพลเมอื งดขี องสงั คม หน้าที่ภารกิจท่บี ุคคลตอ้ งกระทําเพ่อื สรา้ งคา่ ของความเปน็ มนุษย์ เมือ่ เกิดมาเปน็ คนและค่าของคนอยู่ ท่ีการทํางาน โดยมีความรับผิดชอบเป็นสําคัญ และต้องสอดคล้องกับบทบาทหน้าท่ีทางสังคมที่แต่ละบุคคล ดาํ รงอยู่ หน้าทจ่ี ึงเป็นภารกิจทจี่ ะตอ้ งทําเพอื่ ให้ชวี ิตดํารงอยูอ่ ย่างมีคุณค่า และเป็นทีย่ อมรับของสังคม ซ่งึ อาจ เปน็ หนา้ ทีต่ ามหลกั ศีลธรรม กฎหมาย หรือจติ สาํ นึกท่ีถูกต้องเหมาะสม ตามหน้าท่ที ่ีเปน็ ภารกิจของพลเมืองดี โดยทัว่ ไป พงึ ปฏบิ ัติ มดี ังน้ี จรยิ ธรรม คุณธรรม ศลี ธรรม หลักการของกริ ิยาท่ี หลกั การท่ดี ีมปี ระโยชนท์ ี่สังคมเห็น ความเป็นปกตหิ รือการรักษากาย วาจา ควร ประพฤตทิ าํ ให้ ว่าเปน็ ความดีความงาม ใจให้เป็นปกติ ไมท่ าํ ชั่วหรอื เบียดเบยี น สังคมอยู่ดว้ ยกนั โดย ผ้อู ืน่ สงบ เช่น - ซือ่ สัตย์ - สจุ รติ - มเี มตตา - เอ้อื เฟื้อเผ่ือแผ่ เช่น - ห้ามพดู เท็จ ให้พดู แตค่ วามจรงิ เชน่ - อยใู่ นระเบยี บ - เห็นแก่ประโยชน์สว่ นรวม - ห้ามเสพของมึนเมา ใหม้ ีสตอิ ยเู่ สมอ วนิ ัย - ตรงต่อเวลา - ห้ามฆ่าสัตว์ตดั ชวี ิต ให้มีความเมตตา - มีความรบั ผดิ ชอบ กรุณา -ไม่เบียดเบียนผูอ้ ื่น - ไม่ทาํ ให้ผ้อู น่ื เสียหาย ลกั ษณะของจริยธรรม คุณธรรม คุณธรรมและจริยธรรม คอื สง่ิ ท่เี ปน็ ความดีควรประพฤติปฏบิ ตั ิ เพราะจะนําความสขุ ความเจริญ ความม่นั คงมาสปู่ ระเทศชาติ สังคม และบคุ คล คุณธรรมจริยธรรมที่สําคัญ ๆ มีดังตอ่ ไปนี้ 1. ความจงรกั ภักดตี ่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ นบั วา่ มพี ระคณุ อย่างมากมายมหาศาล เพราะเป็น สถานท่ี ท่ีเราทกุ คนอยู่อาศยั อย่างผาสุกต้งั แต่เกดิ จนตาย ใหเ้ ราไดป้ ระกอบอาชพี เลี้ยงชวี ิต ให้เราไดภ้ าคภูมิใจ ในเกียรติและศักดิ์ศรีท่ีมีชาติเป็นของตนเอง ไม่เป็นทาสใคร เราต้องมีความซื่อสัตย์ต่อชาติ รักและหวงแหน ยอมสละเลือดเนื้อและชีวิตเพ่ือให้ชาติเปน็ เอกสารสืบไป ป้องกันไม่ให้ผู้ใดมาทําลาย ปกป้องชื่อเสียงไม่ให้ใคร มาดูแคลน และประพฤติตนให้ถูกต้องตามกฎหมาย และขนบธรรมเนยี ม ประเพณีของชาติบ้านเมือง ศาสนา
เป็นที่พึ่งทางกายและทางจิตใจ ทําให้มนุษย์ดํารงชีพร่วมกันในสังคมอย่างมีสันติสุข เรามีหน้าที่ทํานบุ ํารุงพระ ศาสนาใหม้ ั่นคง สบื ต่อไป ด้วยการปฏบิ ัติตามคําสง่ั สอนขององคพ์ ระศาสดา สรา้ งและบูรณะ ศาสนาสถาน ฟัง ธรรม และปฏิบัตธิ รรมอยู่เป็นนจิ ประพฤตติ อ่ ผูอ้ ืน่ ดว้ ยความสุจริตทง้ั กาย วาจา และใจ องค์พระมหากษัตริย์ ทรงเป็นศูนย์รวมของชาวไทยทั้งประเทศ พระองค์ทรงเป็นผู้นําและผู้ปกป้องชาติและศาสนา ทรงบําบัดทุกข์ และบํารุงสุข ให้แก่ราษฎรด้วยความเสียสละในทุก ๆ ด้าน เราต้องเทิดทูนพระองค์ไว้สูงสุด รับใช้สนองพระ มหากรุณาธคิ ณุ อย่างเต็มความสามารถ ประพฤตติ นเป็นคนดีไมเ่ ปน็ ภาระแก่พระองค์ และถ้ามีความจะเป็นแม้ ชีวิตของเราเองกส็ ามารถจะถวายพลีชพี ได้ เพอื่ ความเปน็ ปกึ แผน่ และย่งั ยนื ของสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ 2. ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ หมายถึง การปฏิบัติกิจการงานของตนเอง และท่ีได้รับมอบหมายด้วย ความมานะพยายาม อุทิศกําลังกาย กําลังใจอย่างเต็มความสามารถ ไม่เห็นแก่ความเหน็ดเหนื่อยจนงาน ประสบความสําเร็จตรงตามเวลา บังเกิดผลดีต่อตนเองและส่วนรวม ท้ังน้ีรวมไปถึงการรบั ผิดเมื่องานล้มเหลว พยายามแกไ้ ขปัญหาและอปุ สรรคโดยไมเ่ กย่ี งงอนผู้อนื่ 3. ความมีระเบียบวนิ ยั หมายถึง การเป็นผู้รู้และปฏิบัติตามแบบแผนท่ีตนเอง ครอบครัว และสังคม กําหนดไว้ โดยท่จี ะปฏเิ สธไมร่ บั รกู้ ฎเกณฑ์หรอื กฎตา่ ง ๆ ของสังคมไมไ่ ด้ คณุ ธรรมขอ้ นตี้ ้องใชเ้ วลาปลูกฝังเป็น เวลานาน และต้องปฏิบัติสม่ําเสมอจนกว่าจะปฏิบัติเองได้ และเกิดความเคยชิน การมีระเบียบวินัยช่วยให้ สังคมสงบสขุ บ้านเมอื งมคี วามเรยี บรอ้ ย เจรญิ รุง่ เรือง 4. ความซ่ือสัตย์ หมายถึง การปฏิบัติตน ทางกาย วาจา จิตใจ ที่ตรงไปตรงมา ไม่แสดงความคดโกง ไม่หลอกลวง ไม่เอาเปรียบผู้อ่ืน ลั่นวาจาว่าจะทํางานส่ิงใดก็ต้องทําให้สําเรจ็ เปน็ อย่างดี ไม่กลับกลอก มีความ จรงิ ใจตอ่ ทกุ คน จนเปน็ ท่ีไวว้ างใจของคนทกุ คน 5. ความเสียสละ หมายถึง การปฏิบัติตนโดยอุทิศกําลังกาย กําลังทรัพย์ กําลังปัญญา เพ่ือช่วยเหลือ ผู้อ่ืนและสังคมด้วยความตั้งใจจรงิ มีเจตนาท่ีบริสุทธ์ิ คุณธรรมด้านนี้เป็นการสะสมบารมีให้แกต่ นเอง ทําให้มี คนรักใครไ่ วว้ างใจ เป็นที่ยกย่องของสังคม ผคู้ นเคารพนบั ถือ 6. ความอดทน หมายถึง ความเปน็ ผู้ท่มี จี ิตใจเขม้ แขง็ ไมท่ ้อถอยต่ออปุ สรรคใด ๆ มุ่งมัน่ ทีจ่ ะทาํ งานให้ บงั เกดิ ผลดีโดยไมใ่ หผ้ ู้อ่นื เดือดรอ้ น ความอดทนมี 4 ลกั ษณะ คอื - อดทนตอ่ ความยากลําบาก เจ็บป่วย ไดร้ บั ทกุ ขเวทนากไ็ มแ่ สดงอาการจนเกินกวา่ เหตุ - อดทนตอ่ การตรากตราํ ทาํ งาน ไม่ทอดท้ิงงาน ฟนั ฝ่าอุปสรรคจนประสบผลสําเร็จ - อดทนตอ่ ความเจ็บใจ ไม่แสดงความโกรธ ไมอ่ าฆาตพยาบาท อดทนตอ่ คําเสียดสี - อดทนตอ่ กิเลส คือ ไมอ่ ยากไดข้ องผอู้ ่ืนจนเกิดทุกข์ ไม่ตอบโตค้ นอน่ื ทท่ี ําใหเ้ ราโกรธ และไม่ลุ่มหลง ในสิง่ ทจี่ ะพาเราไปพบกับความเสยี หาย 7. การไม่ทําบาป หมายถึง การงดเว้นพฤตกิ รรมทช่ี วั่ ร้าย สร้างความเดอื ดร้อนให้ผูอ้ นื่ เพราะเป็นเรื่อง เศร้าหมองของจิตใจ ควรงดเว้นพฤติกรรมชว่ั ร้าย 3 ทาง คือ - ทางกาย เชน่ ไมฆ่ ่าสตั ว์ ไม่ทุจริต ไมล่ ักขโมย ไม่ผิดประเวณี - ทางวาจา เช่น ไม่โกหก ไม่กล่าวดว้ ยคําหยาบคาย ไม่ใส่ร้าย ไมพ่ ดู เพ้อเจ้อ - ทางใจ เช่น ไม่คิดเนรคุณ ไม่คิดอาฆาต ไม่คดิ อยากได้ 8. ความสามัคคี หมายถึง การที่ทุกคนมีความพร้อมกาย พร้อมใจ และพร้อมความคิดเป็นนํ้า หนึ่งใจ เดยี วกัน มจี ุดมุ่งหมายที่จะปฏิบตั ิงานใหป้ ระสบความสําเรจ็ โดยไม่มกี ารเกย่ี งงอนหรอื คิดชิงดชี งิ เดน่ กัน ทุกคน มุง่ ทีจ่ ะใหส้ ังคมและประเทศชาติเจริญรุง่ เรือง มีความรกั ใคร่กลมเกลยี วกันดว้ ยความจริงใจ ความไมเ่ หน็ แก่ตัว การวางตนเสมอตน้ เสมอปลายกห็ มายถึงความสามคั คีด้วย
การปฏิบตั ิตนเป็นพลเมอื งดี วัฒนธรรม คือ แบบแผนการกระทํา หรือผลการกระทํา ท่ีพัฒนาจากสภาพเดิมตามธรรมชาติให้ดีงามยั่งยืนจนเป็น ท่ียอมรับของคนในสังคมตัวอย่างแบบแผนการกระทํา เช่น กิริยา มารยาท การพูด การแต่งกาย การรับประทานอาหาร เป็นต้น สว่ นผลจากการกระทาํ เชน่ เคร่อื งมอื เครอื่ งใช้ เครือ่ งนงุ่ ห่ม ทอี่ ยู่ อาศัย วัฒนธรรมการไหว้ เปน็ วัฒนธรรมภายนอกที่มักได้รับการ ตอบสนองจากผู้ได้รับด้วยการไหว้ตอบนอกจากน้ี ยังมีวัฒนธรรม ภาพท่ี 6.2 : การแตง่ กายแบบไทยในโอกาสตา่ งๆ ไทยอืน่ ๆ ทีง่ ดงาม เชน่ การกราบ การแตง่ กายแบบไทยในโอกาส ท่มี า : เนาวรัตน์ ทองโสภา ต่าง ๆ การทําบุญ ตกั บาตร ฯลฯ วนั ท่ี : 22 ก.พ. 60 ก า ร ป ฏิบัติต น เ ป็น พ ล เ มือ ง ดีต า ม ป ร ะ เ พ ณีไ ท ย ขนบธรรมเนียมประเพณี คือ ส่ิงท่ปี ฏบิ ัติสบื ทอดกันมาและถือว่าเปน็ สง่ิ ทด่ี งี าม สงิ่ ท่ีดงี ามของแตล่ ะสังคมอาจ เหมือนกัน คล้ายกัน หรือแตกต่างกันก็ได้ และส่ิงที่ดีงามของสังคมหน่ึงเมือ่ เวลาผ่าน ไปสังคมน้นั อาจเห็นเปน็ สงิ่ ไม่ดงี ามกไ็ ด้ วฒั นธรรมและประเพณไี ทยเปน็ กิจกรรมท่ีสืบทอดมายาวนานและสังคมยอมรบั ว่าเปน็ สง่ิ ดีอนุรักษ์ไว้ การเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมไทยและสังคมโลก การท่ีบุคคลจะเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคมไทยและสังคมโลก จะต้องคํานึงถงึ สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรภี าพ และหนา้ ทใี่ นการปฏบิ ตั ิตนเปน็ พลเมอื งดี สถานภาพ บทบาท สทิ ธิ เสรีภาพ หนา้ ที่ และการปฏิบัติตนตามรฐั ธรรมนูญ หน้าทีข่ องพลเมอื งดตี ามรัฐธรรมนญู รัฐธรรมนูญได้ให้สิทธิและเสรีภาพ แก่ประชาชนให้มีสิทธิท่ีจะมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศมาก ขึ้น สิทธิและเสรีภาพโดยท่ัวไปมักใช้รวม ๆ ไปด้วยกัน แต่สิทธิท่ีเป็นเสรีภาพแตกต่างจากสิทธิประเภทอ่นื คอื เสรีภาพนั้นคือการที่บุคคลสามารถกระทําในเร่ืองหน่ึง ๆ โดยไม่ต้องอาศัยให้รัฐดําเนินการใด ๆ ให้ เช่น เสรภี าพในการพูด ถ้าไมเ่ ป็นใบ้ บคุ คลย่อมสามารถพูดโดยไม่ต้องอาศยั ให้รัฐทําสง่ิ ใดให้ และการท่ีรฐั ธรรมนูญ จะรับรองและคุ้มครองเสรีภาพในการพูดหรือไม่ ไม่ได้ทําให้บุคคลต้องพูดไม่ได้กลายเป็นใบ้ไปเพยี งแต่ว่าอาจ ถูกรัฐห้ามไม่ให้พูดหรือแสดงความคิดเห็นได้ ส่วนสิทธิประเภทที่ไม่ใช่เสรีภาพ เป็นสิทธิที่บุคคลจะต้องอาศัย ความช่วยเหลือและการดําเนินการบางประการจากรัฐ เช่น ในการใช้สิทธเิ ลือกตง้ั ตอ้ งมกี ารกําหนดวันเลือกตั้ง รับสมัครผู้ลงเลือกตั้ง จัดหน่วยเลือกต้ัง เป็นต้น หรือสิทธิในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของราชการ ต้องมีการรับ อุทธรณ์ หรือร้องเรียนเม่ือหน่วยงานราชการไม่ให้ข้อมูลข่างสารท่ีประชาชนขอ และต้องมีคณะกรรมการ วินิจฉยั ชข้ี าด เปน็ ตน้
ความหมายของ สถานภาพ บทบาท สิทธิเสรภี าพ และหนา้ ที่ 1. สถานภาพ หมายถึง ตําแหน่งท่ีบุคคลได้รับจากการเป็นสมาชิกของสังคม แบ่งออกเป็นสถานภาพ ที่ไดม้ าโดยกําเนดิ เชน่ ลกู หลาน คนไทย เป็นต้น และสถานภาพทางสงั คม เชน่ ครู นกั เรียน แพทย์ เป็นตน้ 2. บทบาท หมายถึง การปฏิบัตติ ามสิทธิ หน้าทอ่ี นั เนื่องมาจากสถานภาพของบุคคล เนื่องจากบุคคล มีหลายสถานภาพในคนคนเดียว ฉะน้ันบทบาทของบุคคลจึงต้องปฏิบัติไปตามสถานภาพในสถานการณ์ตาม สถานภาพน้ัน ๆ 3. สิทธิ หมายถึง อํานาจหรือผลประโยชน์ของบุคคลท่ีกฎหมายให้ความคุ้มครอง เช่น สิทธิเลือกตั้ง กฎหมายกําหนดให้บุคคลที่มีอายุ 18 ปีบริบูรณ์มีคุณสมบัติถูกต้องตามกฎหมายมีสิทธิเลือกสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎร 4. เสรภี าพ หมายถึง ความมอี ิสระในการกระทาํ ของบุคคลทอ่ี ย่ใู นของเขตของกฎหมาย เช่น เสรภี าพ ในการพดู การเขยี น เปน็ ต้น 5. หน้าที่ หมายถึง ภาระรับผิดชอบของบุคคลที่จะตอ้ งปฏบิ ตั ิ เช่น หนา้ ที่ของบิดาที่มีต่อบตุ ร เป็นต้น การรักษาชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ 1. การรกั ษาชาติ บุคคลมีหนา้ ทรี่ กั ษาไว้ซ่งึ ชาติ เปน็ บทบญั ญตั ิในรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบนั มาตรา 66 เมื่อคนไทยมีหน้าท่ีรักษา ก็ต้องดูแล และป้องกันชาติ มิให้ผู้ใดใช้ข้ออ้างใด ๆ เพ่ือแบ่งแยกแผ่นดินไทย ด้วย เหตุผลทางการเมือง การปกครอง หรือศาสนา เพราะรัฐธรรมนญู กาํ หนดวา่ \"ประเทศไทยเป็นราชอาณาจกั ร อันหน่ึงอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้\" ดังน้ัน ผู้ใดจะมาชักจูง โน้มน้าวเราด้วยเหตุผลใดๆ ถือว่าเป็นผู้ทําลาย ประเทศชาติ คนไทยทกุ คนมหี นา้ ทีร่ ักษาชาตใิ ห้มีเสถยี รภาพ มนั่ คงถาวรและเป็นเอกภาพตลอดไป 2. การรักศาสนา เนอื่ งจากประเทศไทยใหเ้ สรภี าพในการนับถอื ศาสนาและสามารถประกอบพิธีกรรม ตามศาสนาได้ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภ์ภก คือ ทรงอุปถัมภ์ทุกศาสนาในประเทศไทย รฐั ธรรมนูญ จึงกําหนดให้เปน็ หน้าทท่ี ี่เราทกุ คนต้องรักษาไว้ซึ่งศาสนา ซ่ึงนา่ จะหมายถงึ การบาํ รุงรักษาและ เสริมสร้างศรัทธาเพ่ือให้ศาสนาคงอยู่คู่บ้านเมืองและเป็นหลักยึดเหนยี่ วในด้านคุณธรรมสืบไป คนไทยทุกคน ต้องช่วยกันสอดส่องดูแลทั่งฆราวาสและบรรพชิตให้มีวัตรจริยาอันเหมาะสมต่อศาสนาหรือลัทธิของตนจะ อาศัยพระวนิ ัยหรอื นักบวชแต่เพยี งอย่างเดียวไม่ได้ 3. การรักษาพระมหากษัตริย์และการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภารกิจน้ีเป็น หนา้ ทย่ี ่งิ ใหญข่ องคนไทยทุกคน เพราะประเทศไทยดาํ รงอย่ไู ด้และคน ไทยอยู่อย่างร่มเย็นเป็นสุขยืนยงมาทุกวันนี้ ด้วยพระบารมีของ พระมหากษัตริยท์ ุกพระองค์ปกอยูเ่ หนอื เกล้าฯ ชาวไทยทุกคนเพราะ แต่ละพระองค์จะครองราชย์สมบัติ ดูแลบ้านเมืองอยู่ได้นานกว่า ประมุขที่มาจากการเลือกตั้ง ทั้งมีความรู้สึกผูกพัน ต้ังแต่โบราณกาล ถึงปัจจุบัน ย่อมจารึกอยู่ในดวงใจของชาวไทยทั้งประเทศ ฉะน้ันจึง ภาพ่ี 6.3 : การปกครองระบอบ เป็นหน้าที่ท่ีคนไทยต้องดูแลรักษาและเทิดทูนสถาบันและองค์ ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ ทรงเปน็ ประมขุ พระมหากษัตรยิ ไ์ ว้ดว้ ยชวี ิต อกี ทง้ั ต้องปอ้ งกันภัยพาลอนั เกดิ จากวาจา หรือความคิดท่ีไม่สุจริตท้ังปวง การปกครองของไทยจึงเป็นระบอบ ที่มา :http://sharkoakley.blogspot.com วนั ท่สี บื ค้น : 6 ก.พ. 60 ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมขุ ที่แน่วแนม่ ่ันคงเพราะ พระองค์ คือ สัญลักษณ์แห่งคุณธรรมและสันติสุข การปฏิบัติตาม
กฎหมาย บุคคลมีหน้าท่ีปฏิบัติตามกฎหมาย ซ่ึงรัฐธรรมนูญได้ระบุไว้กว้าง ๆ แต่มีความหมายครอบคลุม กฎหมายทกุ ประเภทไมว่ ่าจะเป็นกฎหมายเอกชน มหาชน หรอื กฎหมายระหวา่ งประเทศรวมทัง้ กฎหมายระดับ ต่าง ๆ เช่น พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง เป็นต้น เมื่อเราต้องเกี่ยวข้องหรือสัมพันธ์กับ กฎหมายใด ก็ต้องปฏิบัติตามกฎหมายนั้นๆ อย่างเคร่งครัด เพราะกฎหมายแต่ละฉบับน้ันได้มีการร่างและ ประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษาอย่างเปิดเผยต่อสาธารณชน จึงเป็นหน้าที่ของชาวไทยทุกคนที่จะต้องศึกษา และทําความเข้าใจเร่ืองกฎหมายเพอื่ ไม่ใหเ้ สยี เปรียบหรอื ได้รับโทษโดยรเู้ ทา่ ไมถ่ งึ การณ์ การใชส้ ิทธิเลือกตง้ั บุคคลมีหน้าท่ีไปใช้สิทธิเลือกต้ัง การใช้สิทธิเลือกต้ังมีทั้งในประเท ศที่ปกครองด้วยระบอบ ประชาธิปไตย คือ ระบอบการ ปกครองของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน ท่ีถือเสียงข้างมาก เป็นสําคัญแต่ก็เคารพสิทธิเสรีภาพของเสียงข้างน้อย ในระบอบประชาธิปไตยจึงมีการเลือกต้ังผู้แทนไปปฏิบตั ิ หน้าท่ีแทนประชาชนซ่ึงอาจจะเป็นการเลือกผู้แทนเข้าไปเป็นสมาชิก สภานิติบัญญัติ หรืออาจเป็นการเลือก ผู้แทนไปเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารโดยตรงก็ได้ แล้วแต่รูปแบบการ ปกครองของแต่ละประเทศ ทีก่ าํ หนดไวใ้ นรัฐธรรมนญู การเลือกต้ัง จึงถือเป็นกิจกรรมที่จําเป็นอย่างหนึ่งในการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตย การได้มีโอกาสใช้สิทธิในการเลือกต้ังจึงเป็นความ ภาคภูมิใจของประชาชนที่อยู่ในประเทศประชาธิปไตย การมีส่วน ร่วมของประชาชนท่ีสําคัญ คือ การเลือกตั้ง ดังนั้น ประชาชนควร ภาคภูมิใจท่ีจะไปใช้สิทธิเลือกต้ังโดยเสรี ดังน้ันการเลือกต้ังจึงเปน็ หน้าท่ีท่ีสําคัญของคนไทย บุคคลใดท่ีไม่ไปเลือกต้ังโดยไม่แจ้งเหตุ ภาพท่ี 6.4 : ใชส้ ทิ ธิเลอื กตัง้ ที่ปกครอง ด้วยระบอบประชาธปิ ไตย อนั สมควรทที่ าํ ให้ไมอ่ าจไปเลอื กตงั้ ไดย้ อ่ มเสียสิทธิตามกฎหมาย พลเมืองดีในวถิ ชี วี ิตประชาธปิ ไตย ทีม่ า : เนาวรัตน์ ทองโสภา พลเมืองดีในวิถชี วี ิตประชาธิปไตย จงึ หมายถงึ พลเมืองท่ีมี วนั ท่ี : 22 ก.พ. 60 คณุ ลักษณะที่สาํ คัญ คอื เปน็ ผ้ทู ีย่ ดึ มน่ั ในหลกั ศีลธรรมและคณุ ธรรม ของศาสนา มีหลักการทางประชาธิปไตยในการดํารงชีวิต ปฏิบัติตนตามกฎหมายดํารงตนเป็นประโยชน์ต่อ สังคม โดยมีการชว่ ยเหลือเก้อื กลู กันอนั จะก่อให้เกดิ การพัฒนาสงั คมและประเทศชาติให้เปน็ สังคมและประเทศ ประชาธปิ ไตยอยา่ งแท้จรงิ หลักการทางประชาธปิ ไตยท่สี ําคัญทีส่ ุด ได้แก่ 1. หลกั อํานาจอธิปไตยเปน็ ของประชาชนหมายถงึ ประชาชนเปน็ เจ้าของอํานาจสงู สุดในกาปกครองรัฐ 2. หลักความเสมอภาค หมายถึง ความเท่าเทียมกันในสังคมประชาธิปไตย ถือว่าทุกคนที่เกิดมาจะมี ความ เท่าเทียมกันในฐานะการเป็นประชากรของรัฐ ได้แก่ มีสิทธิเสรีภาพ มีหน้าที่เสมอภาคกัน ไม่มีการแบ่งชนชน้ั หรือการเลือกปฏิบัติ ควรดํารงชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ไม่ข่มเหงรังแกคนที่อ่อนแอหรือยากจนกว่า 3. หลกั นติ ิธรรม หมายถึง การใชห้ ลกั กฎหมายเป็นกฎเกณฑ์การอยรู่ ่วมกนั เพอื่ ความสงบสุขของสังคม 4. หลักเหตุผล หมายถึง การใช้เหตุผลท่ีถูกต้องในการตัดสินหรือยุติปัญหาใน สัง คม 5. หลักการถือเสียงข้างมาก หมายถึง การลงมติโดยยอมรับเสียงส่วนใหญ่ในสังคมประชาธิปไตย ครอบครัว ประชาธิปไตย จึงใช้หลักการถือเสียงข้างมากเพื่อลงมติในประเด็นต่าง ๆ ได้อย่างสันติวิธี 6. หลักประนีประนอม หมายถึง การลดความขัดแย้งโดยการผ่อนหนักผ่อนเบาให้กัน ร่วมมือกันเพ่อื
เห็นแก่ประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสําคัญ หลักการทางประชาธิปไตยจึงเป็นหลักการสําคัญท่ีนํามาใช้ในการ ดําเนินชวี ิตในสงั คม เพื่อกอ่ ให้เกดิ ความสงบสุขในสังคมได้ ความสอดคล้องของสถานภาพและบทบาทของบุคคลในวิถชี ีวิตประชาธิปไตยสถานภาพและบทบาท ของบคุ คลที่สอดคล้องกัน เช่น 1. พ่อ แม่ ควรมีบทบาทดงั น้ี (1) รบั ผิดชอบในการอบรมส่ังสอนสมาชกิ ในครอบครวั (2) ให้การศกึ ษาต่อสมาชิกของครอบครวั (3) จดั สรรงบประมาณของครอบครัวใหเ้ หมาะสมกับเศรษฐกจิ ของสงั คมและโลก (4) ครองตนเป็นแบบอยา่ งที่ดคี วามรกั ตอ่ บุตร 2. ครู – อาจารย์ ควรมีบทบาท ดงั น้ี (1) ถ่ายทอดความรู้แก่ศษิ ย์โดยกระบวนการทีห่ ลากหลายให้เหมาะสมกับความสามารถและ ความสนใจของนักเรยี น (2) ครองตนใหเ้ หมาะสมและเป็นแบบอย่างทด่ี แี ก่ศษิ ย์ (3) เป็นผเู้ สียสละท้ังเวลาและอดทนในการสั่งสอนศษิ ย์ทัง้ ด้านความประพฤตแิ ละการศึกษา (4) ยดึ มัน่ ในระเบยี บวินัย ตลอดจนปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณครู 3. นักเรียน ควรมบี ทบาท ดงั น้ี (1) ยึดม่นั ในคุณธรรมจรยิ ธรรมและระเบียบของโรงเรยี น (2) รับผิดชอบต่อหนา้ ทใี่ นการศกึ ษาหาความรู้ (3) ใหค้ วามเคารพตอ่ บุคคลที่อาวุโสโดยมีมารยาทท่ีเหมาะสมกบั สถานการณ์ (4) รบั ฟังและปฏิบัตติ ามคําส่ังสอนอยา่ งมเี หตผุ ล (5) ขยนั หมน่ั เพียรในการแสวงหาความรู้เพิ่มเตมิ (6) เสริมสรา้ งความสามัคคีในครอบครัว โรงเรยี น และชุมชน 4. คณุ ธรรมของการเปน็ พลเมืองดี (1) การเห็นแกป่ ระโยชนส์ ว่ นรวม (2) การมรี ะเบียบวินยั และรับผดิ ชอบต่อหนา้ ท่ี (3) รับฟงั ความคดิ เปน็ ซึ่งกันและกนั และเคารพมตเิ สยี งของสว่ นรวม (4) ความซือ่ สตั ย์สจุ ริต (5) ความสามคั คี (6) ความละอายและเกรงกลวั ในการกระทําช่ัว (7) ความกลา้ หาญและเช่อื มั่นในตนเอง (8) การส่งเสรมิ ใหค้ นดปี กครองบา้ นเมอื งและควบคุมคนไม่ดไี มใ่ หม้ อี ํานาจ จรยิ ธรรมของการเปน็ พลเมืองดี คณุ ธรรม จริยธรรม หมายถงึ ความดีทค่ี วรประพฤติ กิริยาท่ีควรประพฤติ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมที่ ส่งเสริมความเป็นพลเมอื งดี ไดแ้ ก่ 1. ความจงรักภักดตี ่อชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ หมายถึง การตระหนักในความสําคัญของความ เปน็ ชาติไทย การยดึ ม่ันในหลักศลี ธรรมของศาสนา และการจงรักภกั ดีตอ่ พระมหากษัตริย์
2. ความมีระเบยี บวนิ ยั หมายถึง การยึดมน่ั ในการอยู่รว่ มกนั โดยยดึ ระเบยี บวนิ ยั เพือ่ ความเปน็ ระเบียบเรียบรอ้ ยในสงั คม 3. ความกล้าทางจรยิ ธรรม หมายถึง ความกลา้ หาญในทางที่ถูกทีค่ วร 4. การเสยี สละ หมายถงึ การยอมเสียผลประโยชน์ส่วนตนเพอ่ื ผอู้ ืน่ หรือสังคมโดยรวมไดร้ บั ประโยชน์ จากการกระทําของตน 5. การตรงตอ่ เวลา หมายถงึ การทํางานตรงตามเวลาทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ความสาคัญของการปฏบิ ตั ิตนเป็นพลเมอื งดี การปฏิบตั ิตนเปน็ พลเมอื งดขี องสงั คม มีความสาํ คัญตอ่ ประเทศ เชน่ 1. ทําใหส้ ังคมและประเทศชาตมิ ีการพฒั นาไปได้อยา่ งมนั่ คง 2. ทําให้สงั คมมีความเป็นระเบยี บเรยี บร้อย 3. ทาํ ใหเ้ กดิ ความรกั และความสามคั คีในหมู่คณะ 4. สมาชกิ ในสงั คมอยู่รว่ มกนั อย่างมีความสขุ การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีนั้นเป็นหน้าที่ของสมาชิกทุกคนในสังคม ไม่ว่าจะอยู่ในสังคมขนาดเล็ก หรือขนาดใหญ่แนวทางการพัฒนาตนเองเพ่ือเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัวโรงเรียนและชุมชนแนวทางการ พัฒนาตนเองเพอ่ื เป็นสมาชกิ ทีด่ ีมแี นวทางปฏิบตั ิ ดังนี้ 1. การเป็นสมาชิกทด่ี ขี อบครอบครัว 2. การเป็นสมาชกิ ที่ดีของโรงเรยี น 3. การเป็นสมาชิกท่ดี ีของชุมชน เมื่อทุกคนในสังคมไม่ว่าผู้ใหญ่หรือเด็กพัฒนาตนเองให้เป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว โรงเรียน และ ชมุ ชน ได้จะประสบความสําเรจ็ ส่ิงหนึ่งท่ีจะทําให้สังคมไทยมีความสงบสุขได้ คือ คนไทยทุกคนต้องปฏิบัติตนเป็นพลเมืองในระบอบ ประชาธิปไตย มีหลักประชาธิปไตยในการดํารงชีวิต ปฏิบัติตามกฎหมายและทําตัวให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ซึ่งการสร้างความเป็นพลเมืองไม่ใช่การทําให้ประชาชนรู้สึกถึงสิทธแิ ละหนา้ ที่ของตัวเองมีแต่สิ่งท่ีจะต้องทําให้ ประชาชนไดเ้ รยี นรู้และเขา้ ใจอย่างถูกต้อง สงิ่ แรกคือ \"พ้นื ฐานความเป็นพลเมอื งในระบอบประชาธิปไตย\" มี 3 ประการ คือ 1. เคารพศกั ด์ิศรคี วามเป็นมนุษย์ ทุกคนเกดิ มามีคุณค่าเทา่ กนั อาจล่วงละเมดิ ได้ การมีอิสรภาพและความ เสมอภาคการยอมรับในเกียรติภูมิของแต่ละคน โดยไม่คํานึงถึงสถานภาพทางสังคมยอมรับความ แตกตา่ งของทกุ คน 2. เคารพสิทธิ เสรีภาพ และกฎกติกาของสังคมที่เป็นธรรม โดยให้ความสําคัญต่อสิทธิเสรีภาพ การมีกฎ กตกิ าทีว่ างอย่บู นความยตุ ธิ รรมและชอบธรรม มหี ลักในการคุ้มครองสทิ ธิเสรีภาพไม่ให้ถูกละเมิด 3. รับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อ่ืนและสังคม โดยคํานึงถึงบทบาท หน้าท่ีของความเป็นพลเมืองในระบอบ ประชาธิปไตยโดยม่งุ เนน้ ไปที่คุณลักษณะสําคัญในหนา้ ที่และความรับผิดชอบของตนเองต่อสังคมและ การชว่ ยเหลือเกื้อกูลกัน ใชส้ ติปัญญาในการแกไ้ ขปญั หาด้วยเหตผุ ล ดังนั้น หากประชาชนได้เข้าใจในหลักพื้นฐานความเป็นพลเมืองทั้ง 3 หลักการท่ีกล่าวมาข้างต้นแล้ว และสามารถนําไปปฏิบตั ใิ หเ้ กิดผลได้ก็จะทาํ ให้สังคมไทยพัฒนาเป็นสงั คมประชาธปิ ไตยได้อยา่ งแท้จรงิ
สรุป พลเมืองดี เป็นผู้ท่ีปฏิบัติตนตามกฎหมายท่ีเป็นข้อบังคับ พลเมืองของสังคมน้ันได้ถือปฏิบัติร่วมกัน ตลอดจนรู้จกั บทบาทหน้าที่ของตนเอง เคารพความคดิ เห็นของผู้อ่ืนและดํารงตนให้เปน็ ประโยชน์ต่อสงั คม อนั จะกอ่ ให้เกดิ การพัฒนาสังคมและประเทศชาติให้มีความเจรญิ ก้าวหน้า พลเมืองดีต้องประพฤตปิ ฏบิ ตั อิ ยภู่ ายใต้ กฎเกณฑแ์ ละขนบธรรมเนยี มประเพณีของสังคมรูจ้ กั บทบาทหนา้ ท่ีของตนเอง และเคารพสิทธิของผ้อู น่ื ยอมรับ ความแตกต่าง เคารพความคิดเห็นของคนส่วนใหญ่มีอิสรภาพ พึ่งพาตนเองได้ มีส่วนร่วมในการป้องกันหรือ แกไ้ ขปัญหาส่วนรวม เชน่ ปญั หาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและส่ิงแวดล้อมสังคมประชาธิปไตยเปน็ สังคมท่ียึด หลักความเท่าเทียมกันของบุคคลในสังคม ผู้ท่ีอาศัยอยู่ในสังคมประชาธิปไตยหรือพลเมืองในสังคม ประชาธิปไตยจึงควรมีการปฏิบัติตนท่ีสอดคล้องและสัมพันธ์กับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย มี คุณธรรม จริยธรรม ความดีท่ีควรประพฤติ กิริยาที่ควรประพฤติ คุณธรรม จริยธรรมท่ีส่งเสริมความเป็น พลเมืองดี ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีของสังคม ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย มีหลัก ประชาธิปไตยในการดาํ รงชีวติ เคารพศักดิ์ศรคี วามเป็นมนษุ ย์ เคารพสทิ ธิ เสรีภาพ และกฎกติกาของสงั คมทีเ่ ป็นธรรม
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: