Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดแบบฝึกทักษะการเรียนรู้รายวิชา สังคมศึกษา 3 รหัสวิชา 22101ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

ชุดแบบฝึกทักษะการเรียนรู้รายวิชา สังคมศึกษา 3 รหัสวิชา 22101ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

Published by Chiranee Bee, 2021-05-15 16:51:12

Description: ชุดแบบฝึกทักษะการเรียนรู้รายวิชา สังคมศึกษา 3 รหัสวิชา 22101ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

Search

Read the Text Version

โ ร ง เ รี ย น ม ห า ว ชิ ร า วุ ธ จั ง ห วั ด ส ง ข ล า สั ง ค ม ศึ ก ษ า 3 ม . 2 | 51 กจิ กรรมท่ี 4 ใหน้ กั เรียนนาตวั อกั ษรหน้าข้อความขวามอื มาใส่หน้าข้อความซา้ ยมือท่ีมี ความสมั พันธ์กัน (มฐ. ส 3.1 ม.2/2) 1. กระบวนการแปรสภาพทรพั ยากรท่มี อี ย่างจากดั ก. ปฐมภูมิ 2. ทุน ทีด่ ิน แรงงาน ผู้ประกอบการ ข. ทตุ ยิ ภูมิ 3. การนาผลผลติ ขัน้ ปฐมภูมไิ ปแปรสภาพ ค. ตติยภูมิ 4. การผลติ แบบดั้งเดมิ อาศยั ธรรมชาติ ฆ. กาไร 5. การผลติ ขน้ั สุดท้าย ง. การผลติ 6. การผลติ ที่ต้องอาศัยวตั ถุดบิ และเครื่องจกั รกล จ. ปัจจัยการผลิต 7. การให้บริการรถไฟฟา้ ของรัฐ ฉ. กาไรสูงสุด 8. การประกนั ภัย การคา้ ปลีก การธนาคาร ช. ดอกเบี้ย 9. โรงงานผลิตผลไม้กระปอ๋ ง ซ. ค่าจา้ ง 10. การทาเกษตรทฤษฎใี หม่ ฌ. คา่ เชา่ 11. การเล้ียงเป็ดไลท่ ่งุ ในต่างจงั หวัด 12. แม่ของฉนั ทากล้วยตากขาย 13. การผลิตกลว้ ยไมส้ ง่ ออก 14. การใหบ้ ริการของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 15. ผลตอบแทนทเี่ จา้ ของทด่ี นิ ได้รับ 16. ผลตอบแทนที่แรงงานไดร้ บั 17. ผลตอบแทนทเ่ี จา้ ของเงินทนุ ได้รับ 18. ผลตอบแทนที่ผปู้ ระกอบการไดร้ บั 19. เป้าหมายที่สาคญั ของผู้ประกอบการ 20. การนาปลาตะเพยี นมาแปรรปู เปน็ ปลาร้า

โ ร ง เ รี ย น ม ห า ว ชิ ร า วุ ธ จั ง ห วั ด ส ง ข ล า สั ง ค ม ศึ ก ษ า 3 ม . 2 | 52 กิจกรรมที่ 5 ให้นักเรียนเติมข้อความลงในชอ่ งว่างให้ถกู ต้อง (มฐ. ส 3.1 ม.2/2) 1. ทรพั ยากรทน่ี ามาใชก้ ารการผลิตสนิ คา้ และบรกิ าร เรียกว่า 2. ผลตอบแทนของเจ้าของท่ีดิน คอื 3. เจ้าของแรงงานได้รับผลตอบแทน เรยี กวา่ ซ่ึงอาจเปน็ เงนิ เดอื น คา่ จ้างรายวนั หรือรายชิ้นงาน 4. สนิ คา้ ท่ีใช้ไปเพ่อื กอ่ ให้เกิดการผลติ เรียกว่า 5. วตั ถทุ ุน หมายถึง 6. เจา้ ของทนุ ได้รับผลตอบแทน เรยี กว่า 7. เปา้ หมายสาคัญของผปู้ ระกอบการ คือ 8. คุณสมบตั ทิ ี่จาเปน็ ของผปู้ ระกอบการ ได้แก่ 9. การผลติ สินคา้ และบรกิ ารมีเป้าหมายสาคัญ คือ 10. หลกั การใช้ทรัพยากรในการผลติ ท่ีผู้ผลิตจะต้องคานึงถงึ ไดแ้ ก่ กิจกรรมที่ 6 ใหน้ ักเรียนวเิ คราะหข์ อ้ แตกต่างของผ้ผู ลิตสินค้าและบริการท่ีมีคณุ ธรรม และขาดคุณธรรม (มฐ. ส 3.1 ม.2/2) ผ้ผู ลิตทีม่ ีคณุ ธรรม ผู้ผลิตท่ีขาดคณุ ธรรม

โ ร ง เ รี ย น ม ห า ว ชิ ร า วุ ธ จั ง ห วั ด ส ง ข ล า สั ง ค ม ศึ ก ษ า 3 ม . 2 | 53 กิจกรรมที่ 7 ให้นกั เรยี นยกตวั อย่างการผลิตสนิ คา้ และบรกิ ารของไทยในแต่ละภาค (มฐ. ส 3.1 ม.2/2) ภาคเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ ภาคเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

โ ร ง เ รี ย น ม ห า ว ชิ ร า วุ ธ จั ง ห วั ด ส ง ข ล า สั ง ค ม ศึ ก ษ า 3 ม . 2 | 54 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 7 เศรษฐกิจพอเพียงกับการ ผลิตสนิ คา้ และบริการ กิจกรรมท่ี 1 ใหน้ กั เรยี นวิเคราะห์ขอ้ ความท่กี าหนดใหต้ ามหลักการของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (มฐ. ส 3.1 ม.2/3) หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 7 เศรษฐกิจพอเพียงกบั การ การมีภูมคิ ุ้มกนั ความมีเหตุผล ผลติ สนิ คา้ และบรกิ าร การมีคุณธรรม ความรอบรู้ การมภี ูมิคุ้มกนั พอประมาณ ความมีเหตุผล การมคี ุณธรรม

โ ร ง เ รี ย น ม ห า ว ชิ ร า วุ ธ จั ง ห วั ด ส ง ข ล า สั ง ค ม ศึ ก ษ า 3 ม . 2 | 55 กจิ กรรมที่ 2 ให้นักเรยี นตอบคาถามให้ถูกต้องได้ใจความ (มฐ. ส 3.1 ม.2/3) 1. คาวา่ “หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง” มีที่มาอยา่ งไร 2. รัชกาลที่ 9 พระราชทานหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพอ่ื อะไร 3. หลกั การสาคญั ของเศรษฐกิจพอเพียงมีอะไรบา้ ง ให้ยกตัวอยา่ งมา 2 ขอ้ 4. เป้าหมายสาคญั ของหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง คืออะไร 5. คาว่า “พอเพียง” ตอ้ งประกอบดว้ ย 3 คุณลักษณะทส่ี าคญั ไดแ้ กอ่ ะไรบ้าง 6. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งมปี ระโยชนต์ อ่ คนไทยอย่างไร 7. นกั เรียนสามารถนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยกุ ต์ใชใ้ นครอบครวั ไดอ้ ย่างไร 8. นกั เรียนสามารถนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยกุ ต์ใชใ้ นการเรียนไดอ้ ย่างไร 9. ผู้ประกอบอาชีพอน่ื ทไ่ี ม่ใช่การทาเกษตรกรรมสามารถใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงไดอ้ ยา่ งไร 10. ทาไมคนไทยไม่สามารถนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้ในการดารงชีวิตไดส้ าเรจ็ ทกุ คน

โ ร ง เ รี ย น ม ห า ว ชิ ร า วุ ธ จั ง ห วั ด ส ง ข ล า สั ง ค ม ศึ ก ษ า 3 ม . 2 | 56 กจิ กรรมท่ี 3 ให้นักเรียนเขยี นอธิบายแนวทางการประยกุ ต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในการ ดาเนินชีวิตในตารางที่กาหนดให้ (มฐ. ส 3.1 ม.2/3) ระดับของการดาเนนิ ชีวิต พฤติกรรมการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนินชีวติ ระดบั ครอบครวั ระดับชมุ ชน ระดบั สงั คม กิจกรรมท่ี 4 ใหน้ กั เรยี นบอกรูปแบบของการผลิตสินคา้ และบรกิ ารในท้องถ่ิน และลักษณะเด่น พรอ้ มยกตัวอยา่ งประกอบลงในตารางใหถ้ ูกตอ้ ง (มฐ. ส 3.1 ม.2/3) รปู แบบการผลิตสนิ คา้ และ ลกั ษณะเด่น บริการ 1. การผลิตในครวั เรอื น 2. การรวมกลมุ่ ในรูปแบบตา่ งๆ 3. การผลิตขนาดกลางและ ขนาดย่อมหรอื SMEs

โ ร ง เ รี ย น ม ห า ว ชิ ร า วุ ธ จั ง ห วั ด ส ง ข ล า สั ง ค ม ศึ ก ษ า 3 ม . 2 | 57 กิจกรรมที่ 5 ให้นักเรยี นอ่านบทความท่กี าหนดให้ต่อไปนีแ้ ล้วตอบคาถาม (มฐ. ส 3.1 ม.2/3) ชวี ติ ทเี่ ปลี่ยนไปของลุงสุข ลงุ สุขมอี าชีพทานา มีพนื้ ทีร่ กร้าง 1 แปลง เน้อื ท่ี 9 ไร่ จงึ ทาการปลกู ไม้ยคู าลิปตัส เนือ้ ท่ี 5 ไร่ ตอ่ มา เมื่อมีโครงการเกษตรกรรมฟื้นฟูเข้ามาแนะนาให้ทาการเกษตรแบบ ผสมผสาน ลุงสุขจึงตัดสินใจเข้าร่วม โครงการ เพราะท่ผี ่านมาไดท้ านาเพียงอยา่ งเดียว ในแต่ละปไี ดผ้ ลผลิตอยา่ งเดียว คือขา้ ว หลังจากตดั ไมย้ ูคาลิปตัสในแปลงเพอื่ ทาการเกษตรแบบผสมผสานจงึ ไดน้ าไมผ้ ลมาปลกู เช่น มะพรา้ ว มะม่วง ขนุน มีการเลี้ยงสัตว์ เช่น เป็ด ไก่ สุกร ต่อมาได้เข้าร่วมโครงการ นาร่องภูมินิเวศน์สุรินทร์ โดยได้รับ การสนับสนุนด้านปจั จัยการผลิต และไดไ้ ปศกึ ษาดงู าน ตามสถานท่ตี า่ งๆ และลงมอื ทาลองผิดลองถกู แต่กลับ ถูกต่อต้านจากกลุ่มสมาชิก โดย กล่าวหาว่าทาแบบเชิงธุรกิจ เพราะมีแปลงผลไม้ที่หลากหลาย และเน้นการ ช่วยเหลือตนเอง ในสว่ นทีภ่ าครัฐยังช่วยไม่ถึง เช่น พนั ธไ์ุ ม้ ระบบไฟฟา้ การจัดการน้าดว้ ยตนเอง จึงถูกมองว่า ทาการเกษตรเพื่อเน้นผลผลติ ออกจาหนา่ ย ในฤดูร้อน แปลงนากว่าร้อยละ ๙๐ แห้งแล้ง แต่แปลงเกษตรของลุงสุขกลับดูเขียวชอุ่ม ร่มเย็น เนื่องจากได้ค้นพบวิธีให้นา้ แบบประหยัด คือการเอากระสอบปุ๋ยปทู ับฟางที่คลุมดิน รอบๆ ต้น แล้วราดน้าลง ไปโดยใช้น้าบาดาลทข่ี ดุ เจาะ แปลงตน้ ไมท้ ุกแปลงจะกัน้ ตาข่ายเพ่ือไม่ใหไ้ ก่หรอื สัตว์เลี้ยงมาคุ้ยเข่ีย นอกจากน้ีลงุ สขุ ได้ทดลองปลูก ผลไม้ เช่น ละมุด ส้มโชกุนได้สาเร็จ ส่วนบริเวณสระนา้ จะปลูกผักสวนครวั ท่ีบริโภคเป็นประจา เช่น แตงกวา โหระพา ข่า ตะไคร้ เป็นตน้ เพ่ือบริโภคและขาย ทาใหม้ ี รายไดเ้ ล้ยี งครอบครวั ใหม้ ีความสุข ปัญหาที่สาคัญของลุงสุข คือ เร่ืองไฟฟ้า เพราะต้องใช้เคร่ืองสูบน้า ซึ่งต้องต่อสายมาจาก ในหมู่บ้าน เมอื่ มกี ารใชไ้ ฟพร้อมๆ กัน ทาใหไ้ ฟไม่พอจงึ เกิดผลกระทบโดยตรง แปลงเกษตรของลุงสุขนอกจากจะสร้างความร่มเยน็ สร้างอาหาร และสร้างรายไดใ้ ห้ แก่เจ้าของแล้ว ยังถือเป็นแหล่งภูมิปัญญาที่เป็นต้นแบบด้านการต่อสู้เพ่ือเอาชนะธรรมชาติ และการต่อสู้ทางแนวคิดจากการ ปรับเปล่ียนวิถีเกษตรแบบเชิงเดี่ยวมาเป็นแบบผสมผสาน ซ่ึงปัจจุบันแปลงเกษตรของลุงสุขกาลังให้ดอกออก ผล คนื ธรรมชาติสธู่ รรมชาติ และมอบ ความสุขใหค้ รอบครวั อยา่ งยั่งยนื มั่นคงตลอดไป 1. ลุงสขุ เป็นเกษตรกรในภาคใด การทาเกษตรกรรมในภาคนี้มีลกั ษณะอยา่ งไร 2. ส่ิงใดทีเ่ ป็นปจั จยั สาคญั ท่ีทาให้วถิ ชี ีวติ ของลงุ สุขเปลีย่ นแปลงไป

โ ร ง เ รี ย น ม ห า ว ชิ ร า วุ ธ จั ง ห วั ด ส ง ข ล า สั ง ค ม ศึ ก ษ า 3 ม . 2 | 58 3. การทาเกษตรกรรมแบบผสมผสานมีขอ้ ดีอย่างไรบ้าง 4. รัฐบาลส่งเสรมิ ลงุ สุขอยา่ งไรบา้ ง 5. ผลตอบแทนท่ีลงุ สุขได้รับจากการนอ้ มนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้คอื อะไร หลักปรัชญาเศรษฐกิจ การประยกุ ตใ์ ช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงของลุงสขุ พอเพียง พอประมาณ มเี หตผุ ล มภี มู ิคมุ้ กันท่ดี ีในตัว เงื่อนไขความรู้ เงอ่ื นไขคณุ ธรรม

โ ร ง เ รี ย น ม ห า ว ชิ ร า วุ ธ จั ง ห วั ด ส ง ข ล า สั ง ค ม ศึ ก ษ า 3 ม . 2 | 59 กจิ กรรมท่ี 6 ใหน้ ักเรียนตอบคาถามให้ถกู ตอ้ ง (มฐ. ส 3.1 ม.2/3) 1. นกั เรียนมวี ิธถี ่ายทอดความรตู้ ามหลักการปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งให้คนในท้องถ่นิ ของนกั เรยี นได้อยา่ งไร 2. ในทอ้ งถ่ินของไทยตอ้ งประสบกบั ปัญหาในการผลติ สินค้าและบริการอะไรบา้ ง ใหน้ กั เรยี นยกตัวอย่างมา อย่างนอ้ ย 2 ข้อ 3. ถ้าหากในช่วงท่เี ศรษฐกิจของประเทศต้องประสบปัญหาแล้วคนไทยในภาคต่างๆได้นาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจ พอเพียงมาประยกุ ต์ใช้ นักเรียนคิดวา่ ผลที่ตามมาจะเป็นอยา่ งไร 4. นกั เรียนจะแนะนาใหผ้ ผู้ ลิตสินคา้ และบรกิ ารในทอ้ งถ่ินประยุกต์ใช้หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งในการผลติ สินคา้ และบรกิ ารไดอ้ ยา่ งไร 5. การมีคณุ ธรรมของผ้ผู ลิตมคี วามสาคัญอย่างไร และถ้าหากผผู้ ลิตขาดคณุ ธรรมจะส่งผลกระทบต่อสงั คม อยา่ งไร

โ ร ง เ รี ย น ม ห า ว ชิ ร า วุ ธ จั ง ห วั ด ส ง ข ล า สั ง ค ม ศึ ก ษ า 3 ม . 2 | 60 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 8 การค้มุ ครองผบู้ ริโภค กิจกรรมท่ี 1 ใหน้ กั เรยี นบอกสิทธิของผู้บรโิ ภคลงในแผนผงั ตอ่ ไปน้ี (มฐ. ส 3.1 ม.2/4) หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 8 การคมุ้ ครองผู้บริโภค สทิ ธขิ องผบู้ ริโภค กิจกรรมท่ี 2 ให้นักเรยี นอา่ นกรณสีศทิึกษธิขาตอ่องผไปู้บนร้ีิโแภลค้วตอบคาถามที่กาหนดให้ (มฐ. ส 3.1 ม.2/4) กรณีศึกษาท่ี 1 กรณีศึกษาท่ี 2 นายณัฐวุฒิซ้ือน้ามันพืชมาจาก นางสาวจามรีซ้ือแชมพูย่ีห้อหน่ึง ตลาด 1 ถุงระบุว่าบรรจุ 1 กิโลกรัม แต่ มาจากห้างสรรพสินค้าชื่อดัง แต่เมื่อ เมอ่ื กลับมาถึงบ้านแลว้ ลองชง่ั ดู ปรากฏว่า กลับมาใช้ปรากฏว่า ทาให้เกิดอาการคัน นา้ มันพชื มีน้าหนกั เพียง 8 ขีด ศีรษะและผมร่วงเกอื บหมดศีรษะ 1. กรณศี กึ ษาที่ 1 และ 2 ผบู้ ริโภคมีสทิ ธิในการไดร้ ับการคมุ้ ครองสิทธผิ ู้บรโิ ภคในเรือ่ งใด กรณศี ึกษาท่ี 1 กรณศี ึกษาที่ 2 2. ผูบ้ ริโภคทงั้นสาอยงณคนัฐควุวฒริซป้ือฏนิบ้าัตมติ ันเพชืช่นมไราจเมาอื่ กมีปัญหาจากการซอ้ืนสาินงคส้าวจามรีซื้อแชมพูย่ีห้อหน่ึง ตลาด 1 ถุงระบุว่าบรรจุ 1 กิโลกรัม แต่ มาจากห้างสรรพสินค้าช่ือดัง แต่เม่ือ เมอ่ื กลับมาถึงบ้านแล้วลองชัง่ ดู ปรากฏว่า กลับมาใช้ปรากฏว่า ทาให้เกิดอาการคัน น้ามันพชื มีนา้ หนกั เพยี ง 8 ขดี ศรี ษะและผมร่วงเกือบหมดศีรษะ

โ ร ง เ รี ย น ม ห า ว ชิ ร า วุ ธ จั ง ห วั ด ส ง ข ล า สั ง ค ม ศึ ก ษ า 3 ม . 2 | 61 กจิ กรรมท่ี 3 ใหน้ ักเรยี นอ่านขอ้ ความท่ีกาหนดให้ แลว้ วิเคราะหว์ า่ ผู้บริโภคแตล่ ะคนกระทา ตามสิทธิของผบู้ ริโภคในด้านใด เพราะเหตใุ ด (มฐ. ส 3.1 ม.2/4) 1. ตุ๊กตาซ้ือขนมปังจากร้านขายของชาแห่งหนึ่ง ปรากฏว่าไม่มีการระบุวัน เดือน ปีที่ผลิตและวันหมดอายุ ตกุ๊ ตาจงึ นาขนมปังไปเปล่ยี นทีร่ า้ นคา้ 2. นายปฐพีซ้ือรถยนต์จากนายสมศักด์ิ จึงได้ทาสัญญาซื้อขายโดยมีการตกลงขอแก้ไขสัญญาร่วมกันว่าจะ ชว่ ยกันออกคา่ ใช้จ่ายในการโอนกรรมสทิ ธร์ิ ถยนต์คนละครง่ึ กบั ผขู้ าย 3. วรพิชชาซ้ือนมจากร้านค้าใกล้บ้านมาดื่ม แล้วปรากฏว่านมเสีย ทั้งๆท่ีข้างกล่องระบุว่ายังไม่หมดอายุ เธอจงึ นานมไปคืนท่ีรา้ นและขอเงนิ คืน 4. นางสาวกุลจิราต้องการซื้อกาแฟ แต่เม่ือไปท่ีร้าน กลับพบว่าทางร้านบังคับขายกาแฟคู่กับ ครีมเทียม ไม่ไดแ้ ยกขายกาแฟอยา่ งเดียว ทาใหเ้ ธอไมซ่ ้อื กาแฟจากร้านดงั กลา่ ว 5. นายปวเรศต้องการซื้อเครอ่ื งออกกาลังกายประเภทลู่วิ่งจากห้างสรรพสินค้ามาใช้ แต่เมื่อนามาใช้ประมาณ 10 วัน ปรากฏว่าขณะที่ใช้เคร่ืองออกกาลังกาย สายพานของลู่วิ่งขาด และทาให้ได้รับบาดเจ็บ เธอจึงนา เร่ืองไปรอ้ งเรยี นเพ่อื ให้เจา้ ของผูผ้ ลติ รับผดิ ชอบทนั ที

โ ร ง เ รี ย น ม ห า ว ชิ ร า วุ ธ จั ง ห วั ด ส ง ข ล า สั ง ค ม ศึ ก ษ า 3 ม . 2 | 62 กิจกรรมท่ี 4 ให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปน้ใี หถ้ ูกตอ้ ง (มฐ. ส 3.1 ม.2/4) 1. คาวา่ “ผูบ้ ริโภค” หมายถงึ อะไร 2. คาวา่ “สทิ ธิผ้บู รโิ ภค” คืออะไร 3. การคมุ้ ครองผบู้ ริโภคคอื อะไร 4. เพราะเหตุใดจึงตอ้ งมีการบัญญัติกฎหมายคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคขึน้ 5. สิทธทิ ี่จะได้รบั ข้อมลู ขา่ วสารเกยี่ วกับการบรโิ ภคสนิ ค้าและบรกิ ารมีความสาคัญอย่างไร 6. สิทธิท่จี ะไดร้ บั ความปลอดภัยจากสนิ ค้าและบรกิ าร ผูบ้ ริโภคควรจะได้รบั ทราบเกย่ี วกบั อะไรบ้าง 7. ในการทาสญั ญาซอื้ ขายสินค้า และบรกิ าร ผ้บู ริโภคควรคานึงถึงอะรบา้ ง 8. เพราะเหตุใดการคุ้มครองสทิ ธผิ บู้ ริโภคจงึ มคี วามสาคัญต่อประชาชนทุกคน 9. ผู้ประกอบการมกี ารโฆษณาสรรพคุณของสนิ ค้าผา่ นส่อื เกนิ ความเป็นจริง ผู้บริโภคควรทาอย่างไร 10. ถ้าไม่มีกฎหมายคุ้มครองสทิ ธิผูบ้ รโิ ภคสังคมจะเปน็ อย่างไร

โ ร ง เ รี ย น ม ห า ว ชิ ร า วุ ธ จั ง ห วั ด ส ง ข ล า สั ง ค ม ศึ ก ษ า 3 ม . 2 | 63 กิจกรรมท่ี 5 ใหน้ ักเรียนตอบคาถามตอ่ ไปน้ีให้ถูกตอ้ ง (มฐ. ส 3.1 ม.2/4) 1. พระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองผูบ้ ริโภคคอื อะไร 2. พระราชบัญญตั คิ ้มุ ครองผู้บรโิ ภคฉบบั ปัจจบุ ันคอื ฉบบั ใด 3. พระราชบัญญัตคิ ้มุ ครองผ้บู รโิ ภคมสี าระสาคัญในการค้มุ ครองผู้บริโภคเกยี่ วกบั เรื่องใด 4. หนว่ ยงานคุม้ ครองผ้บู รโิ ภคต้งั ขึ้นเพ่ืออะไร 5. สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผูบ้ ริโภค หรือ สคบ. มีเปา้ หมายสาคญั ในการให้บรกิ ารประชาชน ในเร่ืองใด

โ ร ง เ รี ย น ม ห า ว ชิ ร า วุ ธ จั ง ห วั ด ส ง ข ล า สั ง ค ม ศึ ก ษ า 3 ม . 2 | 64 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 9 ระบบเศรษฐกจิ การพ่งึ พา การแข่งขันทางเศรษฐกิจในทวปี เอเชยี กจิ กรรมท่ี 1 ใหน้ กั เรียนตอบคาถามต่อไปน้ี (มฐ. ส 3.2 ม.2/1) 1. ระบบเศรษฐกจิ หมายถงึ อะไร หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 9 ระบบเศรษฐกิจ การพงึ่ พา การแข่งขันทางเศรษฐกจิ ในทวปี เอเชยี 2. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมมลี กั ษณะอย่างไร 3. ในยุคปจั จุบันการพ่งึ พาทางเศรษฐกิจในภูมภิ าคเอเชยี มลี ักษณะอยา่ งไร 4. ทรัพยากรธรรมชาตใิ ดบ้างท่ีมคี วามสาคัญตอ่ ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ จงยกตัวอย่างมา 5. ยกตวั อยา่ งสินค้าส่งออกทีส่ าคัญของประเทศไทย

โ ร ง เ รี ย น ม ห า ว ชิ ร า วุ ธ จั ง ห วั ด ส ง ข ล า สั ง ค ม ศึ ก ษ า 3 ม . 2 | 65 กจิ กรรมท่ี 2 ให้นักเรียนจับค่รู ะบบเศรษฐกจิ กับขอ้ ความทีก่ าหนดให้สัมพันธ์กัน โดยนา ระบบเศรษฐกิจแต่ละประเภทมาเตมิ หน้าข้อความให้ถูกต้อง (มฐ. ส 3.2 ม.2/1) ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนยิ ม ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม ระบบเศรษฐกจิ แ1บ.บทรุนะนบยิ มบเศรษฐกจิ แบบระเบสบรเศนี ริยษฐมกหจิ แรบอื บรสะงั คบมบนยิ เมศรษฐกิจแบบตลราะดบบเศรษฐกิจแบบผสม 2. รฐั เป็นศูนยก์ ลางในการวางแผนด้านการจดั สรรทรพั ยากร 3. รฐั เปน็ เจา้ ของกรรมสิทธใิ์ นทรพั ยส์ ินและเปน็ เจ้าของปัจจยั การผลิต 4. เอกชนเป็นผผู้ ลิต รัฐแทรกแซงและมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมเศรษฐกจิ ทสี่ าคญั ของ ประเทศ 5. ประเทศสว่ นใหญ่ในทวปี ยโุ รปและอเมริกา 6. การกระจายรายได้ไม่เท่าเทยี มกนั 7. ระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนิยมและระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนยิ มรวมกนั 8. ประเทศจีน เวยี ดนาม เกาหลเี หนือ 9. ประชาชนขาดเสรภี าพในการทาธุรกิจตามศักยภาพของตนเอง 10. ผบู้ รโิ ภคไดบ้ รโิ ภคสนิ คา้ ท่ีดีมคี ุณภาพไดม้ าตรฐาน ราคาถูก สินค้ามคี วาม หลากหลาย 11. ขาดแรงจูงใจในการพฒั นาและสร้างสรรค์สิ่งใหมๆ่ 12. เอกชนมเี สรีภาพในการทากิจกรรมด้วยตนเอง มีอานาจการตดั สนิ ใจด้านการ ผลิตและจาหน่าย 13. รัฐบาลเปน็ ผู้กาหนดราคาสินค้า 14. รัฐบาลเปิดโอกาสใหม้ กี ารแขง่ ขนั แตร่ ฐั เขา้ ไปแทรกแซงเพอ่ื ป้องกันการผกู ขาด และเพื่อความเป็นธรรม 15. ผูกขาดและแทรกแซงรฐั บาล 16. เอกชนเป็นเจ้าของทรัพย์สินและเจ้าของปัจจัยการผลติ 17. ได้รบั แรงจงู ใจในการผลิต ส่งผลตอ่ ศกั ยภาพและความสามารถในการทางาน 18. แรงจงู ใจสาหรับเอกชนมีนอ้ ยเพราะขน้ึ อยูก่ ับนโยบายทไ่ี ม่แน่นอนของรฐั บาล 19. ประชาชนเข้าถงึ บริการของรัฐด้านสาธารณูปโภค การศกึ ษา การสาธารณสุข และการบริการด้านอืน่ ๆ 20. ประชาชนมีบทบาททางเศรษฐกจิ ชดั เจนในการแขง่ ขันกันผลิตสินค้าท่ีมีคุณภาพ และประชาชนสามารถเลอื กบริโภคสินค้าไดต้ ามความต้องการ

โ ร ง เ รี ย น ม ห า ว ชิ ร า วุ ธ จั ง ห วั ด ส ง ข ล า สั ง ค ม ศึ ก ษ า 3 ม . 2 | 66 กิจกรรมท่ี 3 ให้นกั เรยี นวิเคราะห์ข่าวเกีย่ วกบั การแข่งขนั ทางการค้าระหว่างประเทศใน ทวีปเอเชยี แลว้ เขียนสรุป (มฐ. ส 3.2 ม.2/2) “มงั กร” ทบุ “ซามูไร” ขึ้นแทน่ อนั ดับ 2 มหาอานาจเศรษฐกิจโลก ซามไู รเสียแชมปย์ ักษ์ใหญ่หมายเลข 2 ของโลกทางเศรษฐกิจให้กับมังกร หลงั ภาค การส่งออกของจีน สุดฟูเฟ่อื ง จนสง่ อานิสงส์ จดี ีพี เบยี ดแซง คาดอีก 10 ปขี ้างหน้าขน้ึ ทาบชนั้ ลุงแซม สานักงานขา่ วต่างประเทศรายงานว่าสาธารณรัฐประชาชนจีน หรอื จนี แผ่นดินใหญ่สามารถ ตาแหน่ง มหาอานาจทางเศรษฐกิจอนั ดับท่ี 2 ของโลกแทนทีญ่ ี่ปุน่ ภายหลงั จากอัตราการ ขยายตวั ทางเศรษฐกิจตลอด ทงั้ ปี 2553 ทผ่ี ่านมายงั คงขยายตัวอย่างต่อเนอื่ ง จนมีมลู ค่าผลิตภณั ฑ์ มวลรวมภายในประเทศ หรือ จดี ีพี รวม แล้วสงู สุดถงึ 5.879 ล้านลา้ นดอลลาร์สหรฐั ฯ รายงานข่าวแจ้งวา่ ปัจจัยที่ทาให้มูลค่าทางเศรษฐกิจของญป่ี ุ่นนอ้ ยกว่าจีนแผ่นดินใหญ่ จนเป็นผลทา ให้จีนขึ้นมาแซงหน้าญ่ีปุ่นได้นั้น มาจากตัวเลขการส่งออกในไตรมาสที่ 4 ระหว่าง เดือนตุลาคม - ธันวาคม ปรับตัวลดลงไปจากท่ีประมาณการก่อนหน้าถึงร้อยละ 1.1 ไปอยู่ท่ีร้อยละ 2.4 นอกจากน้ีตัวเลขการบริโภค ของประชาชนชาวญ่ีปนุ่ ในชว่ งไตรมาสที่ 4 น้ี กป็ รับตัวลดลง เชน่ กนั ซึง่ เปน็ ผลสืบเนอ่ื งมาจากภาวะเศรษฐกิจ ในญีป่ นุ่ ยังคงซบเซาสวนทางกับจีนแผน่ ดนิ ใหญ่ ท่ีเศรษฐกจิ ขยายตวั อย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ภาคการ ผลิตท่ีฟูเฟื่องอย่างมาก หลังได้รับ ปัจจัยบวกจากภาคการส่งออก ทั้งนี้สถานการณ์ข้างต้นถือเป็นคร้ังแรกใน รอบ 4 ทศวรรษ ท่ีญ่ีปุ่น ถูกชาติอ่ืนๆ แย่งตาแหน่งประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ไปครอง นับต้ังแต่ สงครามโลกคร้ังที่ 2 เป็นต้นมา พร้อมกันนี้บรรดานักวิเคราะห์ได้แสดงทรรศนะด้วยว่า หาก สถานการณ์ในจีนแผ่นดินใหญ่มีอัตราการขยายตัวอย่างต่อเนื่องเช่นน้ี คาดว่าในอีก 10 ปีข้างหน้า เศรษฐกิจ ของจนี แผน่ ดนิ ใหญจ่ ะมีขนาดใหญ่เทียบเท่ากบั เศรษฐกจิ ของสหรัฐฯ ซึ่งถือเปน็ ขนาด เศรษฐกิจท่ใี หญท่ ส่ี ดุ ของ โลก ทม่ี า : หนงั สือพมิ พ์สยามรฐั วันองั คารที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 แหล่งท่ีมาของขา่ ว พาดขา่ ว ประเดน็ ขา่ ว

โ ร ง เ รี ย น ม ห า ว ชิ ร า วุ ธ จั ง ห วั ด ส ง ข ล า สั ง ค ม ศึ ก ษ า 3 ม . 2 | 67 กิจกรรมท่ี 4 ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามต่อไปนี้ใหถ้ กู ตอ้ ง (มฐ. ส 3.2 ม.2/3) 1. ทรพั ยากรธรรมชาตมิ ีความสาคญั ทางเศรษฐกิจอยา่ งไร 2. นา้ มนั มคี วามสาคัญทางเศรษฐกิจอย่างไร ประเทศท่ีผลติ น้ามันไดม้ ากมีความไดเ้ ปรียบอยา่ งไร 3. ประเทศที่สามารถผลิตน้ามนั ได้มากทส่ี ุดในโลก มลี ักษณะเศรษฐกิจอยา่ งไร 4. ประเทศท่มี ีทีด่ ินกวา้ งใหญ่ มีความอดุ มสมบรู ณ์มคี วามไดเ้ ปรยี บทางเศรษฐกิจอยา่ งไร 5. ถ่านหนิ มคี วามสาคัญต่อภาคการผลิตอย่างไร 6. ทรพั ยากรทนุ หมายถึงอะไร มีความสาคญั ตอ่ การผลิตสนิ คา้ และบริการอยา่ งไร 7. เม่อื ป่าไมล้ ดลง การผลิตทต่ี อ้ งใชไ้ ม้มผี ลกระทบอย่างไร และมแี นวทางแก้ปญั หาอย่างไร 8. ประเทศท่ีมีแรงงานทีม่ ีคุณภาพมากได้เปรียบทางการผลติ อย่างไร 9. ทองคามคี วามสาคัญทางเศรษฐกิจของโลกอย่างไร 10. ประเทศทม่ี ีทรัพยากรธรรมชาติมากมีความได้เปรียบและเสยี เปรยี บทางเศรษฐกิจอยา่ งไร

โ ร ง เ รี ย น ม ห า ว ชิ ร า วุ ธ จั ง ห วั ด ส ง ข ล า สั ง ค ม ศึ ก ษ า 3 ม . 2 | 68 กจิ กรรมท่ี 5 ให้นกั เรยี นศึกษาค้นคว้าเก่ียวกบั ตลาดท่แี บง่ ตามระดับการแข่งขนั แต่ ละประเภท โดยเขียนอธิบายลักษณะพร้อมยกตัวอยา่ งธุรกิจที่มี ลักษณะของตลาดในแตล่ ะประเภท (มฐ. ส 3.2 ม.2/4) ตลาดแขง่ ขนั สมบูรณ์ ลักษณะสาคญั ยกตวั อย่าง ตลาดผกู ขาด ลกั ษณะสาคัญ ยกตวั อยา่ ง ตลตาลดากดึง่ แแขขง่่งขขนันั สกม่งึ ผบูกรู ขณา์ ด ลลักกั ษษณณะะสสาาคคญัญั ตลาดผูกขาด ยยกกตตัวัวออยย่าา่ งง ลักษณะสาคญั

โ ร ง เ รี ย น ม ห า ว ชิ ร า วุ ธ จั ง ห วั ด ส ง ข ล า สั ง ค ม ศึ ก ษ า 3 ม . 2 | 69 สบื คน้ ขอ้ มูล บรรณานุกรม กนก จันทรา. (2560). ภูมิศาสตร์ภูมิภาคของทวีปยุโรปและแอฟริกา (โครงการจัดทาตาราเรียนของสมาคม ผู้ปกครองและครโู รงเรยี นสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย). กรุงเทพมหานคร : ไซเบอร์พริ้นท์ กรปุ๊ . กวี วรกวิน, พระมหามนัส กิตฺติสาโร และณัทธนัท เลี่ยวไพโรจน์. (2560). สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สถาบนั พัฒนาคณุ ภาพวิชาการ (พว.). ดารงค์ ฐานดี และคณะ. (2562). สาระภูมิศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 2. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์. ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์ และคณะ. (2562). สาระเศรษฐศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน.์ ธีระ นชุ เปี่ยม และคณะ. (2554). สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : แม็ค. ธวัช ทันโตภาส, ขวัญนภา สุขคร และสมมต สมบูรณ์. (2560). สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : วฒั นาพาณิชย์. สุธาทิพย์ ชวนะเวสสกุล, ภาวดี พันธรักษ์, ระวิวรรณ ตั้งตรงขันติ และภาณุภัทร วงศ์วรปัญญา. (2562). ชดุ สัมฤทธมิ์ าตรฐาน ภูมิศาสตร์ ม.2. กรงุ เทพมหานคร : อักษรเจรญิ ทศั น์. บรุ ินทรวรวิทย์ พว่ นอุย๋ . (2562). เอกสารประกอบการพัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ สาระการเรียนรทู้ ่ี 5 ภมู ิศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้สัง คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. กรุงเทพมหานคร : โรงเรยี นรตั นโกสินทรส์ มโภชบางขุนเทยี น. ราชบณั ฑิตยสถาน. (2552). พจนานุกรมศพั ทเ์ ศรษฐศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : ราชบณั ฑิตยสถาน. ศึกษาธิการ, กระทรวง และสานักพิมพ์ร่วมด้วยช่วยกัน. (2544). ทฤษฎีใหม่ในหลวงชีวิตพอเพียง. กรงุ เทพมหานคร : กระทรวง และสานกั พมิ พร์ ว่ มด้วยชว่ ยกัน. อานนท์ ผกากรอง.(2551). การผลิตและการบริโภคในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร : สานักงานแห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.

โ ร ง เ รี ย น ม ห า ว ชิ ร า วุ ธ จั ง ห วั ด ส ง ข ล า สั ง ค ม ศึ ก ษ า 3 ม . 2 | 70 ภาพ : http://oknation.nationtv.tv ภาพ : http://oknation.nationtv.tv ภาพ : https://pbs.twimg.com ภาพ : https://pbs.twimg.com