Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ

คู่มือการดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ

Published by nfenk.nongnang.Thabo, 2020-06-08 04:01:11

Description: คู่มือการดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ

Search

Read the Text Version

เร่อื งท่ี 1 ความรูพ้ ื้นฐานเกย่ี วกับการดูแลสุขภาพ การดูแลสขุ ภาพเบือ้ งต้น การดูแลสขุ ภาพเบื้องตน้ ทุกคน ทุกวัยควรรักษาสุขภาพให้แข็งแรงอยู่เสมอ และสร้างภมู คิ ุมกันโรค ดว้ ยการรกั ษาความสะอาดใน รา่ งกาย รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์หรือให้ครบห้า หมู่ ออกก าลงั กายเสมอ พักผ่อนใหเ้ พียงพอ พยายามลดความเครียด ลดการสูบบุหรี่ และดื่มแอลกอฮอล์ ถ้า ทุก ท่านปฏบิ ตั ไิ ดต้ ามน้จี ะปลอดภัยจากโรคภัยตา่ งๆ มสี ขุ ภาพร่างกายแข็งแรงตลอดไป โดยธรรมชาติของมนษุ ย์ เมื่อเกิดปัญหาต่างๆ ขึ้น ในชีวิต ก็จะพยายามหาทางแก้ปญั หาดว้ ยตวั เอง เป็นอันดับแรก เม่อื รวู้ ่า ไม่สามารถแกป้ ญั หาได้เอง ก็จะแสวงหาความช่วยเหลือจากผ้อู ืน่ ในเรอ่ื งความ เจบ็ ปวุ ย หรือปัญหาสุขภาพก็เช่นเดยี วกนั ทุกคนต้องการที่จะดแู ลตนเอง ให้มีสขุ ภาพดอี ยู่เสมอ ดงั นั้น กลา่ วได้วา่ \"การดูแลสขุ ภาพตนเอง เป็นกจิ กรรมทบี่ ุคคลแต่ละคนปฏิบัติ และยดึ เป็นแบบแผนในการปฏบิ ัติ เพ่ือใหม้ ีสขุ ภาพด\"ี อาจแบง่ ขอบเขตการดูแลสุขภาพตนเอง เปน็ 2 ลกั ษณะคือ*************************** 1. การดแู ลสขุ ภาพตนเองในสภาวะปกติ เป็นการดูแลสุขภาพตนเอง และสมาชิกในครอบครัว ใหม้ ี สขุ ภาพแข็งแรง สมบูรณอ์ ยู่เสมอ ไดแ้ ก่ การดแู ลส่งเสรมิ สขุ ภาพ เพอ่ื ใหส้ ุขภาพแข็งแรง สามารถดําเนนิ ชวี ติ ไดอ้ ยา่ งปกตสิ ขุ เช่น การออกกําลงั กาย การสร้างสุขวิทยาสว่ นบคุ คลท่ีดี ไมด่ ่ืมสรุ า ไมส่ ูบบหุ รี่ หลกี เลย่ี งจาก สิง่ ทีเ่ ปน็ อนั ตรายต่อสขุ ภาพ การปอู งกนั โรค เพื่อไมใ่ หเ้ จบ็ ปวุ ยเปน็ โรค เช่น การไปรบั ภูมิคมุ้ กันโรคตา่ งๆ การ ไปตรวจสขุ ภาพ การปูองกันตนเองไมใ่ หต้ ดิ โรค 2. การดแู ลสขุ ภาพตนเองเม่ือเจบ็ ปวุ ย ไดแ้ ก่ การขอคําแนะนํา แสวงหาวามร้จู ากผูร้ ู้ เช่น อาสาสมัคร สาธารณสุขต่างๆ ในชมุ ชน บุคลากรสาธารณสุข เพื่อให้ได้แนวทางปฏบิ ัติ หรือการรักษาเบ้ืองตน้ ให้หาย จาก ความเจ็บปุวย ประเมินตนเองได้ว่า เม่ือไรควรไปพบแพทย์ เพ่อื รักษาก่อนที่จะเจบ็ ปุวยรุนแรง และปฏิบัติตาม คาํ แนะนาํ ของแพทย์ หรอื บคุ ลากรสาธารณสขุ เพื่อบรรเทาความเจบ็ ปวุ ย และมีสุขภาพดีดงั เดมิ การที่ ประชาชนทว่ั ไปสามารถดูแลสขุ ภาพตนเองได้นั้น จําเปน็ ตอ้ งมีความรู้ คึ วามเขา้ ใจในเรอ่ื ง การดูแลสุขภาพ ต้ังแตย่ งั ไมเ่ จ็บปุวย เพือ่ บาํ รงุ รักษาตนเอง ให้สมบูรณแ์ ขง็ แรง รจู้ ักที่จะปูองกันตวั เอง มใิ ห้เกิดโรค และเมอื่ เจ็บปุวยกร็ ู้วิธที จี่ ะรักษาตัวเอง เบื้องตน้ จนหายเป็นปกติ หรือรู้ว่า เม่อื ไรต้องไปพบแพทย์ หรือเจา้ หน้าท่ี สาธารณสุข การปฏบิ ัตติ นในชีวิตประจาวนั สขุ ภาพของคนเราจะดหี รอื เสอ่ื มนั้น ขน้ึ อยกู่ บั ความสมบูรณ์แขง็ แรง ของอวยั วะตา่ งๆ เช่น ผวิ หนัง ตา หู จมกู และฟัน ซงึ่ เป็นอวยั วะภายนอกรา่ งกาย ท่ีเราควรดูแลรกั ษาใหอ้ ยู่ในสภาพท่ดี ี และแขง็ แรง เพราะถา้ เส่อื มโทรม หรอื ผิดปกติ จะส่งผลกระทบตอ่ อวยั วะสว่ นอ่นื ๆ ได้ ดังนั้น เราต้องระวงั รักษาสว่ นต่างๆ ของ รา่ งกายให้สะอาด ตลอดจนการออกกาํ ลงั กาย และการพกั ผ่อน เพอื่ ทําใหร้ ่างกายมคี วามสมบูรณ์ แข็งแรง และมผี ลทาํ ให้จติ ใจเบกิ บาน แจม่ ใส สามารถดํารงชวี ิตอยใู่ นสงั คมได้ อยา่ งมคี วามสขุ การดูแลสุขภาพตนเอง ให้มีสุขภาพสมบรู ณ์ และแข็งแรงอยู่เสมอ จะตอ้ งปฏิบัตกิ จิ กรรม ในด้านการสง่ เสริม สุขภาพอย่างสมํ่าเสมอ ในชีวิตประจาํ วัน โดยยึดหลกั สขุ บญั ญัติ 10 ประการ และสํารวจสุขภาพตนเอง ดังนี้ 1. ดูแลรักษารา่ งกาย และของใชใ้ หส้ ะอาด 1) อาบน้าํ ทกุ วนั อย่างนอ้ ยวนั ละ 2 ครง้ั การอาบนํา้ ให้สะอาด จะตอ้ งใช้สบฟู่ อกทุกสว่ นของ รา่ งกายให้ท่วั และมีการขัดถูขีไ้ คล บริเวณลําคอ รักแร้ แขนขา ง่ามน้ิวมือ ง่ามนิว้ เท้า ขาหนีบ โดยเฉพาะ ค่มู ือการดูแลสขุ ภาพสาหรบั ผู้สงู อายุและครอบครวั 1

อวัยวะเพศ ตอ้ งรักษาความสะอาดเป็นพเิ ศษ หลงั จากนัน้ ล้างด้วยนํา้ และเช็ดตัวให้แหง้ ดว้ ยผ้าที่สะอาด จะ ช่วยใหร้ ่างกายสะอาด และสดชนื่ 2) สระผม อย่างน้อยสปั ดาห์ละ 2 ครง้ั การสระผมช่วยให้ผสม และหนงั ศีรษะสะอาด ไม่สกปรก หรอื มกี ลิ่นเหม็น โยใชส้ บู่ หรอื แชมพูสระผมจนสะอาด แล้วเช็ดผมใหแ้ ห้ง หรอ้ มท้งั หวีผมให้เรยี บรอ้ ย การ หมัน่ หวผี ม จะชว่ ยนวดศีรษะใหเ้ ลือดมาเล้ยี งศีรษะมากข้นึ และต้องลา้ งหวี หรือแปรงให้สะอาดเสมอ การไม่ สระผม หรือสระผมไมส่ ะอาด ทําให้เปน็ ชนั นะตุ รังแค และเกดิ อาการคนั เกิดโรคผิวหนงั และเชื้อราบนหนัง ศีรษะ ทําให้เกิดผมรว่ ง และเสยี บคุ ลกิ ภาพ 3) การรักษาอนามัยของดวงตา ดวงตาเป็นอวัยวะสําคัญ เราควรหวงแหน และให้ความเอาใจใส่ ควร ปฏบิ ัตดิ ังน้ี  อา่ น หรือเขยี นหนังสือในระยะห่างประมาณ 1 ฟุต โดยมีแสงสว่างเพยี งพอ แสงเขา้ ทางด้าน ซ้าย หรือตรงขา้ มกับมอื ทีถ่ นดั หากรูส้ กึ เพลยี สายตา ควรพกั ผอ่ นสายตา โดยการหลบั ตา หรอื มองไปไกลๆ ชวั่ ครู่  ดโู ทรทัศน์ในระยะห่างอย่างนอ้ ย 1 เมตรคร่ึง  บาํ รุงสายตาดว้ ยการรบั ประทานอาหารทมี่ คี ุณคา่ เช่น มะละกอสุก ฟักทอง ผกั บงุ้ เปน็ ต้น  ใสแ่ วน่ กนั แดด ถ้าจําเปน็ ต้องมองในท่ีๆ มแี สงสว่างมากเกนิ ไป  ตรวจสายตาอยา่ งน้อยปลี ะ 1 คร้ัง โดยแผ่นทดสอบสายตา (E-Chart) ถา้ สายตาผิดปกติ ให้ พบจกั ษแุ พทย์ เพ่อื ตรวจสอบ และประกอบแวน่ สายตา 4) การรักษาอนามยั ของหู หเู ปน็ อวยั วะท่ีสําคญั อย่างหนงึ่ ของร่างกาย ทจี่ ะตอ้ งเอาใจใส่ดแู ลให้ ถกู ต้อง ดงั น้ี  เชด็ บริเวณใบหู และรูหู เท่าที่น้วิ จะเข้าไปได้ ห้ามใช้ของแข็งแคะเขีย่ ใบหู รูหู  คนที่มปี ระวัตวิ า่ มกี ารอกั เสบของหู ต้องระวงั ไม่ให้นํ้าเข้าหูเด็ดขาด  หากมีน้าํ เข้าหู ให้เอียงหูขา้ งน้นั ลง นาํ้ จะคอ่ ยๆ ไหลออกมาได้เอง หรือใช้ไมพ้ ันสาํ ลเี ชด็ บรเิ วณช่องหดู า้ นนอก  ถา้ เปน็ หวดั ไม่ควรสั่งนํา้ มกู แรงๆ เพราะจะทาํ ให้เชอ้ื โรคจากจมูก หรอื คอ ถูกดนั เขา้ ไปในหู ช้นั กลาง ทาํ ใหเ้ กิดการติดเช้ือ และเกดิ เป็นโรคหูน้ําหนวก  เมอ่ื มแี มลงเข้าหู อยา่ พยายามแคะ ให้ใชน้ ํา้ มนั มะกอก หรือนาํ้ มันพชื หยอดหูทิ้งไว้ช่ัวขณะ แมลงจะเคลื่อนไหวไมไ่ ด้ และตายในทีส่ ุด ควรพบแพทยเ์ พ่ือเอาแมลงออก  หลีกเลย่ี งจากการถูกกระทบกระแทกหูโดยแรง หรือการตบหู เพราะจะทําใหแ้ ก้วหู และ กระดกู ภายในหหู ลุด เกดิ การสูญเสียการไดย้ นิ ตามมา รวมท้งั การหลีเลย่ี งเสยี งอกึ ทกึ และ เสยี งดังมากๆ อาจทําให้หูพิการได้  ตอ้ งรู้จักสังเกตอาการผดิ ปกติของหู และการไดย้ นิ อยู่เสมอ หากมีอาการผิดปกติ เชน่ รู้สึก ปวดหู เจ็บหู คันหู หูอือ้ มีน้าํ หรือหนองไหลจากหู เวยี นศีรษะ มีเสยี งดังรบกวนในหู การได้ ยินเสียงนอ้ ยลง หรอื ได้ยินไมช่ ัด ต้องรบี ไปพบแพทยเ์ ฉพาะทาง หู คอ จมกู ทนั ที 5) การรักษาอนามยั ของจมกู ขอ้ ควรปฏบิ ัติดังนี้  ไมถ่ อนขนจมกู เพราะจะทําให้จมูกอกั เสบได้  ถ้าเปน็ หวัดเรอื้ รัง หรือมีเลือดกาํ เดาออกบ่อยๆ ต้องพบแพทย์เพื่อตรวจรักษา  ห้ามใส่เมลด็ ผลไม้ หรือส่งิ แปลกปลอมอ่นื เข้าไปในรจู มกู คมู่ อื การดแู ลสุขภาพสาหรบั ผสู้ งู อายุและครอบครัว 2

 การไอหรือจาม ตอ้ งใชผ้ ้าเช็ดหนา้ ปิดปาก จมูก เพ่ือปอู งกันการแพรก่ ระจายของเชอ้ื โรคใน อาการ เป็นผลให้ผู้อนื่ ติดโรคได้  ตอ้ งสงั่ นาํ้ มกู ใส่ในผ้า หรือกระดาษเชด็ หนา้ ทส่ี ะอาด 6) ตดั เล็บมือเล็บเทา้ ให้สน้ั อย่เู สมอ มือและเท้าเปน็ ส่วนหนึ่งของรา่ งกายที่สาํ คัญ ตอ้ งมกี ารดูแลรักษา ไมป่ ลอ่ ยให้เล็บมือเล็บเท้ายาว การปล่อยให้เลบ็ ยาว โดยไมด่ ูแลความสะอาด จะทําให้เชือ้ โรคทส่ี ะสมอยู่ตาม ซอกเล็บ ติดไปกบั อาหาร เปน็ การนําเชื้อโรคเขา้ สู่ร่างกายทาปากโดยตรง ทําให้เกดิ โรคอุจจาระร่วง กอ่ น และ หลงั รบั ประทานอาหาร และหลงั จากเข้าส้วมแล้ว ตอ้ งล้างมอื ด้วยสบ่ใู ห้สะอาดทกุ ครั้ง และตอ้ งสวมรองเท้า เมอื่ ออกจากบ้าน 7) ถา่ ยอจุ จาระเปน็ เวลาทกุ วนั ควรฝึกขับถ่ายอจุ จาระใหเ้ ปน็ เวลาทุกวัน ในตอนเชา้ อย่าใหท้ ้องผูก บอ่ ยๆ เพราะจะทาํ ใหเ้ กิดโรคริดสีดวงทวาร และเป็นมะเร็งในลําไสใ้ หญไ่ ด้ 8) ใส่เส้ือผ้าท่ีสะอาด ไม่อับชื้น และใหค้ วามอบอุ่นเพียงพอ การรักษาความสะอาดของเส้ือผา้ เคร่ืองนงุ่ ห่ม และเครอื่ งนอนเป็นสง่ สาํ คญั เส้อื ผา้ ทใ่ี ช้แลว้ ทง้ิ ช้ันนอกและช้ันใน ตอ้ งมีการทําความสะอาดด้วย สบู่ หรอื ผงซกั ฟอกทุกคร้งั นําไปผึ่งหรอื ตากแดดให้แหง้ ประการสําคัญ การสวมเส้ือผา้ ต้อใช้ให้เหมาะสมกับ สภาพอากาศ ไมใ่ ส่เสอื้ ผ้าซ้ําๆ หรือซกั ไมส่ ะอาด อับชนื้ เพราะจะทาํ ใหเ้ กิดโรคผิวหนังได้ 2. รกั ษาฟนั ให้แขง็ แรง และแปรงฟันทุกวันอย่างถูกต้อง แปรงฟันอยา่ งนอ้ ยวนั ละ 2 ครั้ง หลกี เลย่ี งขนมหวาน เชน่ ลูกอม แปรงฟัน หรือบ้วนปากหลงั รบั ประทานอาหาร ไมใ่ ช้ฟนั ขบเคี้ยวของแข็ง 3. ล้างมอื ให้สะอาดก่อนรบั ประทานอาหาร และหลงั การขับถ่าย ควรล้างมอื ใหส้ ะอาดทุกคร้ัง ก่อนและหลงั การปรุงอาหาร รวมท้งั กอ่ นรับประทานอาหาร และหลงั การขบั ถา่ ย เปน็ การปอู งกนั การแพรเ่ ชือ้ และติดเช้อื โรคได้ ควรลา้ งมอื ให้ถูกวธิ ี ดังนี้  ใหม้ ือเปียกน้าํ ฟอกสบู่ ถูให้ทว่ั ฝุามือ ดา้ นหนา้ และดา้ นหลังมอื  ถูตามง่ามน้วิ มือ และซอกเลบ็ ให้ทวั่ เพอื่ ให้สิ่งสกปรกหลุดออกไป พร้อมทัง้ ถกู ขอ้ มอื  ลา้ งน้าํ ให้สะอาด แลว้ เชด็ มือให้แห้งดว้ ยผา้ ที่สะอาด 4. รบั ประทานอาหารสกุ สะอาด ปราศจากสารอนั ตราย และหลีกเลยี่ งอาหารรสจัด สฉี ูดฉาด  เลอื กซื้ออาหารสด สะอาด ปลอดสารพิษ โดยคาํ นึงถงึ หลัก 3 ป. คอื ประโยชน์ ปลอดภัย ประหยดั  ปรงุ อาหารท่ถี กู สุขลกั ษณะ และใชเ้ ครือ่ งปรงุ รสทีถ่ ูกตอ้ ง โดยคาํ นงึ ถึงหลัก 3 ส. คอื สงวน คุณค่า สกุ เสมอ สะอาดปลอดภัย  รบั ประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ เพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการของร่างกาย  รับประทานอาหารปรุงสกั ใหม่ และใช้ช้อนกลางในการรบั ประทานอาหารร่วมกัน  หลกี เลยี่ งการรบั ประทานอาหารสกุ ๆ ดิบๆ อาหารรสจดั อาหารใส่สีฉูดฉาด  ดื่มนา้ํ สะอาดอย่างนอ้ ยวันละ 8 แกว้ 5. งดบุหรี่ สุรา สารเสพย์ติด การพนนั และการสาส่อนทางเพศ  ไมเ่ สพสารเสพย์ติดทกุ ชนิด เชน่ บุหรี่ สรุ า ยาบา้ กญั ชา กาว ทนิ เนอร์  งดเล่นการพนนั ทกุ ชนดิ  ไมม่ ั่วสุมทางเพศ คมู่ อื การดแู ลสุขภาพสาหรับผู้สงู อายุและครอบครัว 3

6. สร้างความสัมพนั ธใ์ นครอบครวั ใหอ้ บอุ่น  ทกุ คนในครอบครวั ชว่ ยกนั ทํางานบ้าน  มีการปรกึ ษาหารือ และแสดงความคิดเห็นร่วมกัน  การเผือ่ แผ่นา้ํ ใจซ่ึงกนั และกัน  การทําบญุ และได้ทาํ กิจกรรมสนุกสนานร่วมกนั 7. ปอ้ งกันอบุ ตั ิเหตดุ ้วยความไมป่ ระมาท  ดแู ล ตรวจสอบ และระมัดระวงั อปุ กรณเ์ ครอ่ื งใชภ้ ายในบ้าน เชน่ ไฟฟูา เตาแกส๊ ของมคี ม ธปู เทยี นทีจ่ ดุ บชู าพระ และไม้ขีดไฟ  ระมัดระวงั เพ่ือปอู งกนั อุบัติภัยในที่สาธารณะ เชน่ การใชถ้ นน โรงฝึกงาน สถานที่กอ่ สร้าง และชมุ ชนแออดั เป็นตน้ 8. ออกกาลงั กายสม่าเสมอ และตรวจสุขภาพประจาปี การออกกําลังกายช่วยใหร้ า่ งกายแข็งแรง เจริญเติบโตสมวัย กระตนุ้ ใหก้ ระดูกยาวข้นึ และเขง็ แรง ข้ึน ทาํ ให้สูงสงา่ บุคลกิ ดี และยังชว่ ยผอ่ นคลายความเครยี ด จากการทํางาน ตลอดจนเพิ่มภมู ติ ้านทานแก่ รา่ งกาย โดย  ออกกําลังกายอย่างนอ้ ยสัปดาห์ละ 3 วัน ครงั้ ละ 20-30 นาที  ออกกําลงั กาย และเล่นกีฬาให้เหมาะสมกบั สภาพรา่ งกาย และวัย  ตรวจสอบสุขภาพประจําปีอยา่ งน้อยปลี ะครง้ั 9. ทาจิตใจใหร้ า่ เรงิ แจ่มใสอยเู่ สมอ  พกั ผอ่ น และนอนหลับให้เพยี งพอ  จดั สง่ิ แวดล้อมท้ังในบ้าน และนอกบา้ นใหน้ ่าอยู่  มองโลกในแงด่ ี ใหอ้ ภยั และยอมรับขอ้ บกพร่องของคนอน่ื  เมอ่ื มีปัญหาไมส่ บายใจ ควรหาทางผอ่ นคลาย ในทางที่ถกู ต้องเหมาะสม 10. มสี านกึ ตอ่ ส่วนรวม รว่ มสร้างสรรคส์ งั คม ใช้ทรพั ยากร เช่น น้ํา ไฟ อยา่ งประหยัด หลกี เลย่ี งการใช้วัสดุ อุปกรณท์ ีก่ ่อให้เกดิ พษิ ต่อ สงิ่ แวดลอ้ ม เชน่ ถุงพลาสตกิ โฟม ตลอดจนการร่วมมอื กัน รักษาความสะอาด และเปน็ ระเบยี บของสถานท่ี ทํางาน และทีพ่ ัก เป็นตน้ สาเหตุ กลไกการเกดิ การหายของโรค กลไกการเกิดและการหายของโรค อาการเจ็บปุวย คือ เม่ือมีต้นเหตุอย่างน้อย ข้อใดข้อหนึ่ง เกดิ ขึน้ ทีเ่ ป็นพิษ อันตราย ระคาย ไมส่ บายในร่างกาย เชน่ เม่ือร่างกายกระทบอันตรายจากภาวะร้อนหรือเย็น เกิน ตามหลกั วิทยาศาสตร์กจ็ ะเกดิ การทําลายโครงสรา้ งและโครงรูปของเซลล์ เซลล์ก็จะทําหน้าท่ีผิดปกติจาก เดิม อาจทําหน้าที่มากไปหรือน้อยไปหรือไม่ทําหน้าท่ีหรือทําหน้าท่ีผิดเพ้ียนไปจากปกติ ประกอบกับ ประสาทไขสันหลังอัตโนมัติกระตุ้นให้เกิดการเกร็งตัวของกล้ามเน้ือ (รีเฟล็กซ์) เพื่อหนีพิษหรือขับพิษ การ เกรง็ ตวั ของกล้ามเน้อื จะยงิ่ รุนแรงมากขึน้ ตามความรุนแรงของพิษ อันตราย สง่ิ ระคาย สิง่ ไม่สบายน้ันๆ ถ้าพิษ มากเกินจนไม่สามารถขับออกได้หมด จะเกิดการเกร็งตัวค้าง เลือดลมไหลเวียนไม่สะดวก สารอาหารและ คู่มอื การดูแลสุขภาพสาหรับผู้สงู อายแุ ละครอบครวั 4

พลังงานที่เปน็ ประโยชน์ไหลเวียนเขา้ เซลล์ไม่ได้ ของเสียไหลเวยี นออกจากเซลล์ไม่ได้(เซลล์ทํางานตลอดเวลา จะเกดิ ของเสียตลอดเวลา) ทาํ ใหเ้ ซลลเ์ สอ่ื ม ประกอบกบั เซลล์เม็ดเลอื ดขาวซง่ึ ทาํ หนา้ ท่ใี นกลไกฟาโกไซโตซีส คือ กลไกการโอบมะเร็ง เนื้องอก เซลล์ ที่ผิดปกติ เช้ือโรคและพิษต่างๆ แล้วหล่ังเอนไซม์/น้ําย่อยต่างๆ มาสลาย แล้วขับออกจากร่างกาย โดยกลไก รีเฟล็กซ์ของเซลล์ ซึ่งทําให้เราไม่เจ็บปุวย เม่ือเม็ดเลือดขาวและเซลล์ต่างๆ ถูกทําลายจากพิษร้อนเย็นไม่สมดุล หรือถูกทาํ ลายด้วยพิษอ่ืนๆ ทําให้โครงสร้างและโครงรูปของเซลล์เสีย เซลล์ก็จะเสียหน้าที่ ไม่สามารถกําจัดพิษ ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ พิษต่างๆ ก็จะสะสมค้างอยู่ในร่างกาย ทําให้เซลล์เส่ือมและตายก่อนเวลาอันควร การทํางานของอวัยวะต่างๆก็เสื่อม จึงทําให้เกิดโรคได้ ทุกโรคหรือเกิดอาการเจ็บปุวยได้ทุกอาการหรือเกิด ความเส่ือมได้ทุกเซลล์ทุกอวัยวะของร่างกาย จุดใดท่ีอ่อนแอ และมีพิษมากก็จะเกิดอาการก่อน แล้วค่อย ลกุ ลามไปจุดอ่นื ๆ ถ้าไมไ่ ด้รบั การแกไ้ ข โดยท่อี กุศลและความกงั วล จะทาํ ใหโ้ รคและความเสอื่ มรุนแรงยงิ่ ข้ึน ดังน้นั ถา้ เรามีวธิ ีการระบายสิ่งท่พี ษิ รอ้ นหรือเยน็ เกนิ นั้นออก พร้อมกบั การไม่เพ่ิมพิษร้อนหรือเยน็ เกิน น้ันเขา้ ไป เซลลเ์ มด็ เลอื ดขาวและเซลลต์ ่างๆ กจ็ ะมโี ครงสรา้ งและโครงรปู ตามปกติ ทําหน้าท่ีได้ตามปกติ อย่าง มีกําลังและประสิทธิภาพมากขึ้นในการสลายพิษตามกลไกฟาโกไซโตซีสและเกร็งตัวขับพิษต่างๆ ออกไปจาก ร่างกาย เมื่อพิษถูกกําจัดออกจากร่างกายจนทุเลาเบาบางลงหรือหมดไป พร้อมกับการไม่เพิ่มพิษเข้าไป กล้ามเน้ือก็จะคลายตัว เพราะไม่ต้องบีบ ไม่ต้องเกร็งตัวขับพิษออก เลือดลมก็จะไหลเวียนสะดวก สารอาหารและพลังงานทเี่ ปน็ ประโยชนส์ ามารถเขา้ ไปหลอ่ เล้ยี งเซลลไ์ ด้และของเสยี ระบายออกจากเซลล์ได้ ยิ่ง ถา้ ทําพร้อมกับการ ละบาป บําเพ็ญกุศลและฝึกสะสมใจไร้กังวล ก็จะช่วยทําให้โรคและอาการเจ็บปุวยต่างๆ ทุเลาหรอื หายไป สง่ เสริมใหร้ า่ งกายและจิตใจมสี ุขภาวะที่ดียง่ิ ขน้ึ สาเหตขุ องการมีอายสุ ั้น อายุยืน โรคมาก และโรคน้อย อาการร้อนหรือเย็นเกินใดที่มีลักษณะเด่นซ้ํากัน เวลาวินิจฉัยแยกภาวะร้อนเย็น ให้สังเกตอาการ อื่นๆ ท่ีแตกต่างกันประกอบการวินิจฉัย ห รือวินิจฉัยจากพฤติกรรมร้อนเย็นย่ิงถูกต้องท่ีสุด พระพุทธเจ้าตรัสข้อความสําคัญท่ีเกี่ยวกับสาเหตุของการมีโรคน้อยว่า “เป็นผู้มีอาพาธน้อย มีทุกข์ น้อย ประกอบด้วยเตโชธาตุอันมีวิบากเสมอกัน ไม่เย็นนัก ไม่ร้อนนัก เป็นอย่างกลางๆ ควรแก่ ความเพียร ฯ” (พระไตรปิฎก เล่ม 11 ข้อที่ 293) แสดงว่า พระพทุ ธเจ้าทรงค้นพบวา่ การปรับสมดุลร้อนเย็น จะทําให้มีโรคน้อย มีทุกข์น้อย ส่งผล ใหม้ ีสภาพร่างกายพรอ้ มท่จี ะประกอบความเพยี ร ซ่ึงกค็ อื ร่างกายทีแ่ ข็งแรงนัน้ เอง พระไตรปฎิ ก เลม่ 11 ข้อ 131 พระพุทธเจา้ ตรัสวา่ ดูกรภกิ ษทุ ้ังหลาย ตถาคตเคยเป็นมนุษย์ในชาติ กอ่ น ภพก่อน กาํ เนิดก่อน เป็นผู้มีสมาทานม่ันในกุศลธรรม มีสมาทานไม่ถอยหลังในกายสุจริต ในวจีสุจริต ในมโนสุจริต ในการบาํ เพญ็ ทาน ในการสมาทานศีล ในการรักษาอุโบสถ(ปฏิบัติศีลท่ีสูงขึ้น) ในการปฏิบัติดีใน มารดา ในการปฏิบัติดีในบิดา ในการปฏิบัติดีในสมณะ ในการปฏิบัติดีในพรหม ในความเป็นผู้เคารพต่อ ผใู้ หญ่ในสกุล และในธรรมเปน็ อธิกศุ ลอ่ืนๆ วินจิ ฉัยอาการปว่ ยจากพฤตกิ รรมก่อโรค ดงั นน้ั การที่จะมีสขุ ภาพดหี รือทาํ ใหค้ วามเจ็บปุวยลดน้อยลง จึงต้องแกป้ ญั หาที่ตน้ เหตุ คือ ลดละเลิก พฤติกรรมทท่ี ําใหภ้ าวะรอ้ นเย็นของรา่ งกายไมส่ มดลุ และทําพฤติกรรมทท่ี าํ ใหภ้ าวะร้อนเย็นของร่างกาย สมดุล ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปนี้ ค่มู อื การดแู ลสขุ ภาพสาหรบั ผสู้ งู อายแุ ละครอบครัว 5

อาการเจบ็ ปว่ ย การเจบ็ ปุวยแบง่ ไดเ้ ป็น 5 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ 1. อาการของภาวะรอ้ นเกนิ อาการเด่นทมี่ กั เกดิ เมอื่ มภี าวะร้อนเกนิ ได้แก่ ปากคอแห้ง กระหายนาํ้ ปวด บวม แดง รอ้ น ตึง แข็ง มึน ชา แผลพพุ อง ผืน่ คนั ปัสสาวะเขม้ ปรมิ าณน้อย อุจจาระแข็ง กาํ ลังตก ชพี จรเต้นแรง ไฟไหม้ น้าํ รอ้ น ลวก แมลงสตั วก์ ัดตอ่ ย เรมิ งูสวดั การตดิ เช้ือตามอวยั วะต่างๆ เป็นต้น เมือ่ มีภาวะรอ้ นเกิน ให้แก้ด้วยการใชส้ ง่ิ ท่มี ฤี ทธิ์เย็นเท่าที่รู้สึกสบาย ลดหรอื งดสิ่งทีม่ ฤี ทธิ์ร้อน เทา่ ทร่ี ู้สึกสบาย 2. อาการภาวะเย็นเกิน อาการเดน่ ท่มี ักเกิดเมอื่ มภี าวะเย็นเกนิ ไดแ้ ก่ ปากคอชมุ่ ไม่กระหายน้าํ รสของนํา้ จืดผิดปกติ ปวด เหย่ี ว ซีด เยน็ ตงึ แขง็ มึน ชา ท้องอดื หัวตอ้ื มอื เยน็ เทา้ เยน็ หนาวส่ัน ปัสสาวะใสปรมิ าณมาก อุจจาระเหลว กาํ ลงั ตก ชีพจรเตน้ เบา ถา้ มีภาวะเย็นเกิน ใหแ้ กด้ ว้ ยการใช้สิ่งท่มี ีฤทธิ์ร้อนเทา่ ทรี่ ู้สึกสบาย ลดหรอื งดสิง่ ทม่ี ีฤทธเ์ิ ย็นเทา่ ท่ี รสู้ ึกสบาย 3. อาการรอ้ นเกนิ และเยน็ เกนิ ท่ีเกดิ ขนึ้ พร้อมกนั มีไขส้ งู รว่ มกบั เยน็ มอื เย็นเทา้ หรอื หนาวสั่น ปวดศีรษะ ตวั ร้อนรว่ มกับทอ้ งอืด ในร่างกายมี บางส่วน ปวด บวม แดง รอ้ น บางส่วน ปวด เหย่ี ว ซดี เยน็ เป็นตน้ วธิ ีแก้ทัง้ ภาวะร้อนและเยน็ เกดิ ขึน้ พรอ้ มกัน คอื ใช้สิ่งทีม่ ีฤทธิเ์ ยน็ โดยผ่านไฟหรอื กดนํา้ ร้อนใส่ หรืออาจผสม สงิ่ ทีม่ ฤี ทธ์ิรอ้ นเท่าทรี่ ้สู กึ สบาย ลดหรอื งดส่ิงทีม่ ฤี ทธเิ์ ยน็ สดเทา่ ทร่ี ู้สึกสบาย 4. อาการของภาวะร่างกายที่มสี าเหตุเกิดจากร่างกายร้อนเกนิ ตีกลบั เป็นอาการเยน็ เกิน (เย็นหลอก) สาเหตุจากรอ้ นแตม่ ีสภาพตีกลับจนเกิดอาการเยน็ เกนิ เม่ือใช้สงิ่ ที่มฤี ทธร์ิ ้อนแก้ อาการจะย่ิงแย่ไป กว่าเดมิ แต่พอใช้ส่ิงท่มี ฤี ทธิเ์ ยน็ กลับรสู้ ึกสบาย ก็ใหใ้ ชส้ ง่ิ ทมี่ ีฤทธเ์ิ ยน็ เพราะต้นเหตเุ กดิ จากรอ้ น ดังที่ พระพุทธเจ้าตรสั ว่า ละเหตทุ กุ ขไ์ ดเ้ ปน็ สุขในที่ท้ังปวง (พระไตรปฎิ ก เล่มที่ 25 ขอ้ 59) ละทุกข์ทง้ั ปวงได้ เป็น ความสุข (พระไตรปฏิ ก เล่มที่ 25 ข้อ 33) จะเหน็ ได้วา่ พระพทุ ธเจา้ พบวา่ การดับทุกข์ทต่ี ้นเหตุจะทําให้ทุกข์ ดบั และเกดิ ความสขุ ขึน้ 5. อาการของภาวะร่างกายทม่ี ีสาเหตุเกิดจากร่างกายเย็นเกนิ ตีกลบั เปน็ อาการร้อนเกิน (รอ้ นหลอก) คือ ตน้ เหตุจากเย็นแตม่ ีสภาพตกี ลบั จนเกดิ อาการร้อนเกิน เมือ่ ใช้สง่ิ ท่มี ีฤทธิ์เยน็ แก้ อาการจะยง่ิ แย่ ไปกว่าเดมิ แตพ่ อใช้สิ่งทีม่ ฤี ทธริ์ อ้ นกลับรู้สึกสบาย กใ็ ห้ใช้ส่งิ ทม่ี ฤี ทธร์ิ ้อน เพราะตน้ เหตุเกดิ จากเยน็ การดับ ทุกข์ที่ตน้ เหตุจะทาํ ให้ทุกข์ดับและเกิดความสขุ ข้ึน พฤติกรรม รอ้ นเกิน สมดุลร้อน-เยน็ เยน็ เกนิ 1. อารมณ์ ความเครียด ความเรง่ รีบ เรง่ รดั เร่งร้อน ละบาป บําเพญ็ บญุ อารมณเ์ ฉยๆ ดูดาย ไม่ คดิ ไมพ่ ดู ไม่ทาํ อะไร ความ ความวิตกกงั วล ความไมโ่ ปรง่ ไม่ เพม่ิ พูนใจไร้กงั วล มากเกนิ จนเกิดอาการไม่ สบาย โล่ง ไมส่ บายใจ ความไม่พอใจ ความมุ่ง ไม่กลวั ตาย ไม่กลวั ร้าย อาฆาต พยาบาท ความโลภ โกรธ โรค ไมเ่ รง่ ผล ไม่ หลง ยึดเกิน เอาแตใ่ จตัวเอง ฟูุงซา่ น กังวล คมู่ อื การดแู ลสขุ ภาพสาหรบั ผ้สู งู อายุและครอบครัว 6

พฤติกรรม ร้อนเกนิ สมดลุ ร้อน-เย็น เย็นเกิน 2. อาหาร - มสี ารพิษ - ไร้สารพษิ -ไมป่ รุงรสเลย - มีเน้อื สตั ว์ - รสจัด - ไม่มเี นอื้ สตั ว์ -กินอาหารกลมุ่ เย็นมาก - กินอาหารกลุม่ ร้อนมากเกนิ - เคยี้ วไม่ละเอียด - ปรงุ รสเลก็ นอ้ ย เกนิ เท่าทพี่ ลังชีวติ เต็ม -เค้ยี วละเอียดนานเกนิ - จัดสัดสว่ นของ พอดี อาหารกลุม่ ร้อนและ “จนเกดิ อาการไม่ เย็นเท่าที่พลงั ชวี ติ สบาย” เต็ม - เคีย้ วละเอียดดี 3. การออก - ออกกาํ ลังทใ่ี ช้แรงมากเกินจนเกิด - ออกกาํ ลังกายที่ใช้ - ไมอ่ อกกําลังกายจน กาํ ลงั กาย อาการไมส่ บาย กายบริหาร - กลั้นลมหายใจมากไปจนเกดิ อาการไม่ แรงเทา่ ทพี่ อดีพลัง เกิดอาการไมส่ บาย และอิริยาบถ สบาย ชีวิตเต็ม - ปล่อยลมหายใจออก (ลกั ษณะการ - ใชอ้ วัยวะของร่างกายทํางานแลว้ - กดจุดลมปราณ ทางปาก จมกู มากเกนิ ทาํ งาน) ไม่คลาย ไม่ดดั กล้ามเน้อื ใหเ้ ข้า สภาพเดมิ จนเกดิ อาการไม่สบาย โยคะ กายบรหิ าร พอดจี นเกิดอาการ - ปรบั การหายใจเข้า ไมส่ บาย และผ่อนลมหายใจ - ใช้อวัยวะของร่างกาย ออก เหมาะกบั สภาพ ทาํ งานแลว้ คลาย/ดัด รา่ งกายเท่าท่พี อดี กลา้ มเนอื้ มากเกินพอดี สบาย จนเกดิ อาการไมส่ บาย - ใช้อวยั วะของ รา่ งกายทาํ งานแล้ว คลาย/ดัดกล้ามเนอื้ ใหเ้ ข้าสภาพเดมิ 4. การสัมผัส - สงิ่ แวดลอ้ ม ดนิ นา้ํ อากาศมีสารพิษ มี - ส่ิงแวดลอ้ ม ดิน - สงิ่ แวดลอ้ ม ดนิ นาํ้ มลพษิ ตา่ งๆ พลงั ร้อนมากจนเกดิ อาการไม่สบาย นาํ้ อากาศ อากาศมพี ลงั เย็นมากจน ไรส้ ารพิษ เม่อื สัมผัส เกดิ อาการไม่สบาย แลว้ รู้สึกสบาย หรอื ปรับสมดลุ รอ้ น-เย็น ของส่ิงแวดล้อมให้ รา่ งกายรู้สึกสบาย หรือปรบั รา่ งกายให้ รูส้ กึ สบายเมอื่ สัมผัส ส่ิงแวดลอ้ มนั้นๆ ค่มู อื การดูแลสขุ ภาพสาหรบั ผสู้ งู อายแุ ละครอบครวั 7

พฤตกิ รรม ร้อนเกิน สมดุลรอ้ น-เยน็ เย็นเกนิ - ไม่การสัมผัส - สิง่ แวดล้อม ดิน น้าํ 5. การสัมผัส - การสมั ผัสเครื่องยนต์ เครือ่ งไฟฟูา เครือ่ งยนต์ เครือ่ ง อากาศมีพลงั เย็นมากจน เคร่ืองยนต์ เคร่ืองอเิ ลคโทรนคิ ส์ มากเกินความ ไฟฟูา เครื่องอเิ ลค เกดิ อาการไมส่ บาย เครื่องไฟฟาู สมดุลจนเกดิ อาการไม่สบาย โทรนิคส์ หรือ เครือ่ งอิเลค จดั สรรเวลาเมอื่ - การระบายพษิ หรือลด โทรนิคส์ จําเป็นตอ้ งสัมผัส พิษในรา่ งกาย ดว้ ยวิธีท่ี มลพษิ ดงั กลา่ วเทา่ ที่ ทําให้ร่างกายเยน็ ลง 6. การระบาย - การระบายพษิ หรือลดพษิ ในรา่ งกาย ร้สู ึกสบาย หรอื ปรบั จนเกิดอาการไม่สบาย พิษหรือลด (ใชย้ าเม็ดท่ี ๑-๖) ด้วยวิธีท่ีทําให้ร่างกาย สมดุลร้อนเย็นของ ร่างกายให้รู้สกึ สบาย พษิ ในร่างกาย ร้อนข้นึ จนเกดิ อาการไมส่ บาย เม่อื สมั ผัสมลพิษ -เพยี รมากเกนิ พกั น้อยเกนิ จนเกิด ดังกล่าว อาการไม่สบาย - การระบายพษิ หรอื ลดพษิ ในรา่ งกาย ดว้ ยการปรบั สมดลุ ร้อนเยน็ ตามสภาพ ร่างกาย ณ ปัจจุบนั เทา่ ที่สบาย 7. การเพียร -ไมถ่ อนพษิ ร้อนหรอื ไม่พักผอ่ นหลับนอน -การเพียรเต็มที่ การ เพยี รนอ้ ยเกนิ พกั มาก การพัก ในชว่ งไฟกาํ เรบิ ( 4 ทุม่ ถงึ ตี 2 ) พักพอดี -เพยี รใหห้ นัก พกั ให้ เกินจนเกิดอาการไม่ พอ “เท่าท่พี ลังชีวิต สบาย เตม็ ” -ถอนพิษรอ้ นหรอื พกั ผอ่ นหลับนอน ในช่วงไฟกาํ เริบ ( 4 ทุ่มถึงตี 2 ) คู่มือการดแู ลสุขภาพสาหรับผูส้ งู อายุและครอบครวั 8

พฤติกรรม ร้อนเกิน สมดุลร้อน-เยน็ เย็นเกนิ 8. บาป/ -ไมป่ ฏบิ ัตศิ ลี 5 (ไม่ละบาป -ปฏบิ ตั ิศีล 5 -ไมป่ ฏบิ ัติศีล 5 อกศุ ล บุญ/กุศล ไมบ่ ําเพ็ญบุญ ไมเ่ พมิ่ พนู ใจไรก้ ังวล) (ละบาป บําเพ็ญบญุ (ไม่ละบาป ไม่บําเพ็ญ เพมิ่ พนู ใจไรก้ ังวล) บุญไมเ่ พิม่ พูนใจไรก้ งั วล) -ไม่ปฏิบัติศีล 5 (ไม่ละบาป 1. ไมฆ่ ่าสัตว์ ไมก่ ิน -ไมป่ ฏิบตั ศิ ลี 5 (ไมล่ ะ ไมบ่ ําเพญ็ บุญ ไม่เพิม่ พนู ใจไร้กังวล) สตั ว์ ไมค่ า้ ขายมิจฉา บาปไมบ่ ําเพญ็ บุญ ไม่ วณิชา 5 เพ่ิมพนู ใจไร้กงั วล) บูรณาการองคค์ วามรใู้ นการแก้ปัญหา 2. ไม่ลกั /ไม่ขโมย/ไม่ สุขภาพ ไปสูก่ ารแก้ปัญหาที่ปลายเหต(ุ ไม่ ฉ้อโกง บูรณาการองคค์ วามรู้ใน ถกู สมดุลรอ้ นเย็น ณ สภาพปัจจบุ ัน ทั้ง ลดความโลภด้วยการ การแก้ปญั หาสขุ ภาพ ด้านรูปธรรมและนามธรรม โดยโตง่ ไป รู้จักให้ทานแบ่งปัน ไปสูก่ ารแก้ปัญหาท่ี ในทางรอ้ นเกนิ จนเกดิ อาการไมส่ บาย) ข้าวของ/แรงกาย/ ปลายเหต(ุ ไมถ่ กู สมดุล ใช้สิง่ ท่ีราคาแพง หาไดย้ าก ทําได้ยาก ความรู้ ร้อนเยน็ ณ สภาพ และแตล่ ะคนทําเอาเองไมไ่ ด้ ตอ้ งพ่ึงผ้อู ่นื ใหผ้ ้อู ืน่ ปัจจบุ นั ทั้งด้านรปู ธรรม เป็นหลัก 3. ไม่ประพฤติผดิ ใน และนามธรรม โดยโตง่ กามคุณ 5 คอื ลด/ ไปในทางเยน็ เกนิ จนเกดิ ละ/เลกิ ในรูป รส อาการไม่สบาย) ใช้สิง่ ท่ี กลิน่ เสยี ง สมั ผสั ท่ี ราคาแพง หาไดย้ าก ทาํ เป็นภัย รวมถึงการ ไดย้ าก และแตล่ ะคนทํา สัมผัสผวั เขา เมยี ใคร เอาเองไม่ได้ ตอ้ งพึง่ ผู้อ่นื ลกู ใคร และลดละ เป็นหลัก เลกิ การสมสู่(เมถุน) 4. ไมใ่ ช้วาจาที่ไมด่ ี 5. ไม่มวั เมาในส่ิงที่ เปน็ ภยั ต่อชวี ติ กรณีท่ีมีภาวะร้อนเกินและเยน็ เกนิ เกดิ ขนึ้ พรอ้ มกนั ใหก้ ดน้ําร้อนใสน่ ้าํ สมนุ ไพรฤทธ์เิ ยน็ หรอื นําไปต้มให้เดือดก่อนดมื่ หรืออาจนาํ สมุนไพรฤทธริ์ ้อนมาผสมกอ่ นดมื่ กไ็ ด้ เชน่ นํา้ ต้มขม้ิน น้ําตม้ ขงิ ตะไคร้ กระชาย กระเพราะมาผสม เป็นต้น กรณที มี่ ีภาวะเย็นเกินอยา่ งเดียว ใหง้ ดสมุนไพรฤทธิ์เยน็ รับประทานสมนุ ไพรฤทธิ์รอ้ นในปริมาณท่ีสมดุลพอดี อาจรบั ประทานสด แห้งหรอื นาํ ไปต้มกไ็ ดเ้ พ่อื แก้ภาวะเยน็ เกนิ เช่น ขม้ิน ขงิ ขา่ ตะไคร้ กระชาย กระเพรา พรกิ พริกไทย กระเทียม หวั หอม เครอื่ งเทศ พืชทม่ี ีกลน่ิ ฉุนหรือมรี สเผด็ เป็นต้น ยาเม็ดที่ 2 กัวซาหรือขดู ซาหรือขูดพิษหรือขูดลม คู่มือการดแู ลสุขภาพสาหรบั ผสู้ งู อายแุ ละครอบครัว 9

เรอ่ื งท่ี 2 การปรับสมดลุ ของร่างกายด้วยอาหารและสมนุ ไพร การรบั ประทานอาหารปรบั สมดุลร่างกาย พระพทุ ธเจา้ ตรสั ไวว้ า่ \" อาหารเป็นหนงึ่ ในโลก \" อาหารทส่ี มดุล ก็จะได้สขุ ภาพดีที่หนึง่ อาหารไม่สมดุล กจ็ ะได้สขุ ภาพเสียที่หนง่ึ ตัวอย่างอาหารทม่ี ผี ลตอ่ สขุ ภาพ ผู้ปว่ ยมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ ทา่ นหน่ึงอยภู่ าคเหนอื มีอาการ ปัสสาวะเปน็ เลือด ไดไ้ ปจ้ที ่ีโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึง่ เสยี ค่ารักษาพยาบาล 5 หม่นื บาท เมื่อผ่านไประยะหนงึ่ เลือดก็ออกมาอกี ในขณะท่ีผูป้ ุวยกําลังเดนิ ทาง มาเข้าค่ายท่ีผู้เขียนจดั ผู้ปุวยได้ปรึกษามาทมี งานสขุ ภาพ จงึ ได้แนะนําวา่ เปน็ ภาวะรอ้ นเกนิ ใหห้ าสงิ่ ทม่ี ีฤทธ์เิ ย็นรับประทานผูป้ ุวยไดเ้ ฉากว๊ ยซ่งึ มฤี ทธิ์เยน็ มารบั ประทาน ปรากฏวา่ จาก ปัสสาวะเปน็ เลือดสนี ํา้ ลา้ งเน้อื กค็ ่อย ๆ ใสขนึ้ เรอ่ื ย ๆ จนเป็นปกติ (เลอื ด หยุดไหล) ภายใน 4 ชว่ั โมง จะเหน็ ได้ ว่า การไปจี้ที่โรงพยาบาลเสียค่ารักษาพยาบาล 5 หมื่นบาท แตก่ ารรู้อาหารร้อน-เย็นแล้วปรับสมดุลตวั เสยี ค่าใช้จา่ ยซื้อเฉากว๊ ยแค่ 5 บาท ลูกศษิ ย์ของผ้เู ขยี นท่านหนงึ่ เปน็ พยาบาลวชิ าชีพ มอี าการปวดศรีษะ เม่อื รู้ว่าเกิดจากภาวะรอ้ น เกดิ แตไ่ ม่อยากรักประทานยาแก้ปวดเพราะ รวู้ า่ ยาแก้ปวดทุกชนดิ ที่เป็๋นเคมพี ษิ ต่อรา่ งกาย จงึ ไปเอามงั คุด ซงึ่ มี ฤทธ์เิ ยน็ มารบั ประทาน ประมาณ 6 ลูก อาการปวดศรีษะกห็ ายไป ผูป้ ว่ ยเอดส์ มีตมุ่ หนองเริมงสู วัดขึน้ ทัง้ ตวั หมอท่านหนึง่ ที่ดูแลผปู้ ุวยอยู่ ไดโ้ ทรมาปรกึ ษาผเู้ ขียน ผเู้ ขียนจงึ บอกว่า เปน็ ภาวะร้อนเกิน ให้ถอนพษิ ร้อน ชว่ งเวลาตอ่ มา หมอท่านนั้นได้มากลา่ วคาํ ขอบคณุ ผู้เขยี น และบอกวา่ หลังจากที่ปฎบิ ตั แิ ค่ 2 วัน อาการดงั กลา่ วก็ยบุ ลง ผู้เขียนจึงถามวา่ ทําอย่างไร หมอท่านนัน้ ตอบวา่ ตม้ ฟัก ต้มถว่ั เขยี วให้รับประทาน (ฟกั และถว่ั เขียว มฤี ทธ์ิเย็น) อีกกรณี มอี ยู่ครงั้ หนึง่ ผูเ้ ขียนไปรบั ประทานจับฉ่าย (ซ่งึ มฤี ทธ์ริ อ้ นมาก จากนา้ํ มนั และการอุน่ ซ้ํา ๆ) เกิดอาการหอู อื้ (หดู บั ตบั ไหม้/ตับรอ้ น) ผู้เขียนจงึ แกไ้ ขด้วยการเอาสม้ ตาํ รสไม่จัด(มีฤทธเิ์ ยน็ ) มารบั ประทาน อาการทเุ ลาและหายภายใน 5 นาที จากน้ันผู้เขยี นกร็ ับประทานจับฉ่ายอกี อาการหอู ือ้ ก็กับมาอกี พอรับประทานส้มตําแก้ อาการหอู ้อื ก็หายไปอีก แต่ถา้ เป็นเร้ือรงั อาจต้องใช้เวลาบา้ ง การปรับสมดุลดว้ ยกม็ ักจะทุเลาหรือหายไปอยา่ งรวดเรว็ แต่ถ้าเปน็ เรือ้ รัง อาจตอ้ งใช้เวลาบ้าง การปรับสมดุล ดว้ ยอาหาร จึงเปน็ ส่ิงจําเป็นทส่ี ําคัญมากอีกอยา่ งหนึ่งท่นี า่ ฝึกฝนเรียนรดู้ งั รายละเอยี ดต่อไปน้ี 1. เพ่ิมการรับประทาน ผัก ผลไมท้ ่ไี มห่ วานจดั และโปรตีนจากถวั่ หรอื ปลา (สําหรบั ผู้ทไ่ี มส่ ามารถงด 10 เน้ือสัตว)์ 2. ควรปรงุ อาหารด้วยการต้มหรือน่งึ ปรงุ รสไมจ่ ดั จนเกนิ ไป ถา้ เป็นไปได้ ควรปรงุ รสอย่ใู นระดับ คูม่ ือการดแู ลสขุ ภาพสาหรับผู้สงู อายแุ ละครอบครัว

ประมาณ 10-30 % ของที่เคยปรงุ อาจปรุงมากหรือน้อยกว่านี้ตามความสมดุลพอดขี องรา่ งกาย ณ ปัจจุบันนั้น ๆ ซงึ่ ตัวช้ีวัดของความสมดุลพอดี คือ ความรู้สกึ สบายเบากาย มกี าํ ลัง หรือถ้าผู้ที่ติดรสจดั มาก ก็ค่อย ๆ ลดรส จัดของอาหารลง ให้มากที่สดุ เทา่ ท่ีจะพอรบั ประทานไดโ้ ดยไม่ลาํ บากนกั 3. งดหรอื ลดการรบั ประทานอาหารทห่ี วานจัด เช่น ของหวาน น้ําหวาน น้าํ อัดลม เคร่ืองบาํ รงุ กําลัง ผลไมห้ รอื นํา้ ผลไม้ทห่ี วานจัดอาหารท่ีเค็มจัด เช่น ปลาร้า ผักดอง เนอ้ื เค็ม ไข่เค็ม อาหารทปี่ รงุ เคม็ มาก และ อาหารทม่ี ผี งชรู สมาก (มกี ารวจิ ยั ของกระทรวงสาธารณสุขพบว่า อาหารท่มี โี ซเดียมมากเกิน เคม็ จัดหรอื มีผงชู รสมากทาํ ให้เกิดความดันโลหิตสงู หัวใจโตน้าํ หนกั เพม่ิ ไตเส่อื ม ภูมิต้านทานลด และรหสั พนั ธกุ รรมผดิ ปกต)ิ อาหารท่มี ีไขมันสูง เช่น อาหารผัดทอด เนือ้ สัตว์ท่ีมีไขมันสงู ได้แก่ เนอ้ื หมู วัว ควาย ไกพ่ นั ธุ์เน้อื อาหารทะเล เปน็ ต้น และอาหารที่ปรงุ รสอืน่ ๆ จดั เกนิ ไป เชน่ เผ็ด เปรย้ี ว ขม ฝาด เป็นตน้ ลด ละ เลกิ การสูบบหุ รี่และเคร่ืองดม่ื ท่ีมีแอลกอฮอล์ ชา กาแฟ นา้ํ อดั ลม เครอ่ื งดม่ื เกลือแร่ เครื่องด่มื บํารุงกาํ ลังตา่ ง ๆ นา้ํ หมกั ข้าวหมาก รวมถึงอาหารท่ีมีวติ ามนิ นอ้ ย แตม่ โี ซเดยี มหรอื ไขมนั สงู เกนิ ได้แก่ อาหารแปรรูปหรือสําเร็จรูปตา่ ง ๆ เชน่ บะหมก่ี ึ่งสําเรจ็ รปู ขนมอมขนมกรบุ กรอบ ขนมปงั อาหาร กระป๋อง ไส้กรอก หมูยอ กุนเชยี ง ปลาเคม็ เนอื้ เค็ม ไข่เค็ม ของหมกั ดอง อาหารทะเล (จะมที งั้ ไขมนั และ โซเดียมสูง) เปน็ ตน้ 4. หลักปฎิบัติ 4 อยา่ ง ในการรับประทานอาหาร เพ่ือสขุ ภาพท่ดี ี 1. ฝึกรบั ประทานอาหารตามลาํ ดับ 2. เค้ียวอาหารใหล้ ะเอียดกอ่ นกลนื 3. รับประทานในปรมิ าณทีพ่ อดีรู้สกึ สบาย 4. กลนื ลงคอให้ได้ เพราะอาหารสขุ ภาพมกั จะไม่อรอ่ ย ยกเว้น ผู้ท่มี บี ญุ บารมีมากหรือผู้ทฝี่ ึก รับประทานบอ่ ย ๆจะรู้สึกอรอ่ ยไปเอง เทคนคิ ท่สี าคัญในการรับประทานอาหารให้อร่อย คอื **รอให้รสู้ กึ หิวมาก ๆ ก่อนแลว้ คอ่ ยลงมอื รบั ประทาน **หมนั่ ระลกึ ถงึ ประโยชน์ของอาหารสุขภาพให้มาก **หม่ันระลกึ ถึงผลเสียของอาหาร ที่ไมส่ มดลุ หรอื เป็นพิษใหม้ าก กรณที มี่ ีภาวะรอ้ นเกิน ในมอื้ หลัก 1 มอื้ ใน 1 วนั อาจเป็นชว่ งเช้าหรือเท่ียงก็ได้ มเี ทคนคิ การรับประทาน อาหารตามลําดับ คอื ลําดบั ท่ี 1 ดมื่ นา้ํ สมนุ ไพรปรบั สมดลุ เชน่ นํา้ ย่านาง ฯลฯ ลําดับท่ี 2 รับประทานผลไม้ฤทธิ์เย็น เช่น กล้วยน้ําว้า แก้วมังกร กระท้อน สับปะรด ส้มโอ ชมพู่ มงั คดุ แตงโม แตงไทย ฯลฯ ลําดับท่ี 3 รับประทานผักฤทธเิ์ ย็นสด เชน่ ออ่ มแซบ(เบญจรงค)์ ผักบ้งุ แตง กวา้ งตงุ้ สายบวั ผักกาด ฮ่องเต้ ผกั กาดขาว ผกั สลัด ลําดบั ท่ี 4 รับประทานข้าวจ้าวพร้อมกบั ข้าว โดยรบั ประทานข้าวกลอ้ งหรอื ขา้ วซ๋อมมือ ควรงดหรอื ลดคาร์ โบไฮเดรท ท่มี ีฤทธริ์ ้อนมาก เช่น ข้าวเหนยี ว ข้าวแดง ข้าวดํา ข้าวอาร์ซี ข้าวสาลี ข้าบาเลย์ เผอื ก มนั กลอย ลําดบั ที่ 5 รับประทานต้มถวั่ หรือธัญพืชฤทธิเ์ ย็น เช่น ถวั่ ขาว ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ถว่ั ลนั เตา ถ่วั โชเล่ย์ ขาว ลูกเดือย คมู่ ือการดูแลสุขภาพสาหรับผูส้ งู อายแุ ละครอบครวั 11

กรณที มี่ ีภาวะเยน็ เกนิ แทรกขน้ึ มา ใหก้ ดนํา้ ร้อนใสส่ มนุ ไพรฤทธเ์ิ ย็นหรอื ต้งั ไฟให้ร้อนก่อนรบั ประทาน ลดหรือ งดสิง่ ท่ีมีฤทธ์เิ ย็น รับประทานผกั หรืออาหารผ่านไฟใหม้ ากขน้ึ เพ่ิมส่งิ ทมี่ ีฤทธ์ิรอ้ นเข้าไป ตามสภาพร่างกายที่ รับประทานแลว้ รสู้ ึกสบาย การรบั ประทานสมุนไพรปรบั สมดลุ กรณที มี่ ภี าวะรอ้ นเกิน ดื่มน้าํ สมุนไพรฤทธิเ์ ย็น หรอื ที่เรียกวา่ นํ้าคลอโรฟลิ ดส์ ดจากธรรมชาต/ิ น้ํา เขยี ว น้ําย่านาง วธิ ีทาทานา้ สมุนไพรท่ีมีฤทธเิ์ ย็น 1. ใบย่านางเขยี ว 5 - 20 ใบ 2. ใบเตย 1 - 3 ใบ 3. บวั บก คร่ึง - 1 กาํ มือ 4. หญา้ ปักกงิ่ 3 - 5 ต้น 5. ใบออ่ มแซบ (เบญจรงค)์ ครึ่ง - 1 กํามือ 6. ผักบุง้ คร่งึ - 1 กาํ มอื 7. ใบเสลดพังพอน คร่ึง - 1 กํามอื 8. หยวกกลว้ ย ครึง่ - 1 คบื 9. ว่านกาบหอย 3 - 5 ใบ จะใช้อย่างใดอยา่ งหนง่ึ หรือหลายอย่างรวมกันกไ็ ด้ โขลกใหล้ ะเอียดหรือ ขย้ีผสมกับนํ้าเปล่า 1-3 แก้ว (บางครง้ั อาจผสมน้าํ มะพร้าว นาํ้ ตาล นํ้ามะนาว นา้ํ มะขาม (เพอื่ ทาํ ให้ด่ืมไดง้ า่ ยในบางคน) กรองผ่านกระชอน เอานา้ํ ทไ่ี ด้มาด่ืม คร้ังละประมาณ ครึ่ง-1 แก้ว วันละ 1-3 ครั้ง ก่อนอาหารหรือ ตอนท้องว่างหรือด่ืมแทนนํ้า ตอนทรี่ ้สู ึกกระหายน้ํา ปริมาณการด่ืมและความเข้มข้นของสมุนไพร อาจมากหรือ น้อยกว่านี้ก็ได้ ตามความ ต้องการของร่างกาย ณ เวลาน้ัน ๆ โดยดูความ พอดีได้จาก ความรู้สึกท่ีกลืนง่าย ไม่ฝืดไม่ฝืนไม่พะอืดพะอม และความสบายตัว กรณีท่ีดื่มนํ้าสมุนไพรฤทธิ์เย็นสดแล้วรู้สึกไม่สบาย ให้กดน้ําร้อนใส่นํ้าสมุนไพรฤทธ์ิเย็น หรอื นาํ ไปต้มให้เดือด ก่อนด่มื หรืออาจนาํ สมนุ ไพรฤทธ์ิรอ้ นมาผสมก่อนดื่มก็ได้ เช่น นํานํ้าต้มขม้ิน ขิง ตะไคร้ มาผสม เป็นต้น หรืออาจด่ืมสมนุ ไพรฤทธิ์ร้อนอย่างเดียวกไ็ ด้ ถา้ ดืม่ แล้วร้สู กึ สบาย กลไกการถอนพษิ จากร่างกายดว้ ยสมุนไพรฤทธิเ์ ยน็ คือร่างกายถกู ทําลายจากความรอ้ นด้วยสาเหตหุ ลัก 5 ประการ หรอื จากสาเหตอุ น่ื ๆ เม่ือเรารบั ประทานสมุนไพรฤทธ์ิเย็นเข้าไปตามหลกั วิทยาศาสตร์ พิษร้อนในร่างกายก็จะ แผ่มาที่สมุนไพรฤทธ์ิเย็นและความเย็นจากสมุนไพรก็จะแผ่ไปท่ีเซลลเ์ นอ้ื เย่ือของร่างกาย ทําให้เส้นประสาทและเซลล์ เนือ้ เย่อื ของร่างกายที่ถูกเผาจนปวดแสบปวดร้อน ตงึ แขง็ (เหมือนเนอ้ื น่มิ ๆ ท่ถี ูกต้มหรือย่างจนแขง็ ) ผิดรูปไปจากปกติ เมื่อถูกเผามาก ๆ ก็จะผุพัง ไม่สามารถทําหนา้ ท่ีได้ตามปกติ จึงเกิดโรคภยั ต่าง ๆ น้ันเริ่มเย็นลง เม่ือร่างกายเยน็ ลง ไมม่ ีความร้อนท่ีมากเกนิ เผาทําลาย เสน้ ประสาทกไ็ ม่ปวด ไมแ่ สบไมร่ ้อน เซลล์เน้อื เย่อื กไ็ ม่ ถกู ทําลาย เซลล์เนือ้ เยอ่ื ของกล้ามเนือ้ ก็คลายตัวเข้าสู่ภาวะปกติ เมด็ เลอื ดขาวกแ็ ขง็ แรง เพราะไม่ถูกความร้อนเผาทํา ร้าย จึงสามารถทาํ หนา้ ที่ขบวนการฟาโกไซโตซีสได้อย่างมีประสิทธิภาพ คอื เม็ดเลอื ดขาวไปโอบเช้ือโรค สงิ่ แปลกปลอม และเซลล์ทีห่ มดสภาพหรอื ผิดปกตใิ นร่างกาย แล้วหลั่งเอม็ ไซม์(น้ําย่อย)ออกมายอ่ ยสลาย จากนนั้ กข็ บั ออกจากร่างกาย ทางช่องระบายของเสีย ทําใหโ้ รคภัยไข้เจ็บลดนอ้ ยลงหรือหายไป คมู่ อื การดูแลสุขภาพสาหรบั ผ้สู งู อายุและครอบครัว 12

เรอ่ื งท่ี 3 การระบายพิษทางผวิ หนังดว้ ยวธิ ีกัวซา กัวซา เป็นการแพทยด์ ้ังเดมิ ของชาวไทยภเู ขา ชาวจนี พม่า ลาว เวียดนาม กมั พชู า มาเลเซีย และประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มปี ระสิทธิภาพโดดเดน่ ในการเอาพษิ ออกจากร่างกาย โดยระบายพลงั งาน ท่เี ปน็ พิษจากเลอื ดทีถ่ กู กระตุ้นให้เคลอื่ นทีม่ าระบายพษิ ทผี่ วิ หนัง ทาํ ให้ สามารถบรรเทาอาการไมส่ บายไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ประโยชน์ของการกัวซา - เรยี นรงู้ า่ ย สามารถทําไดด้ ว้ ยตนเอง ทาํ ไดท้ กุ เวลา ทุกสถานที่ ไมม่ ผี ล แทรกซอ้ นใด ๆ ทงั้ สน้ิ - ชว่ ยลดอาการปวดหัวตวั รอ้ น เปน็ ไข้ เปน็ หวัด ไอเฉยี บพลนั /เรื้อรัง - ลดอาการเจ็บปวดมึนชาตามส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกาย - เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพระบบภูมิค้มุ กนั ในร่างกาย สรา้ งความแข็งแรงใหเ้ ซลลโ์ ดยการเพิม่ ออกซิเจน และระบายของเสียในเซลล์ ทัง้ เซลลข์ องเมด็ เลือดและเซลลอ์ ืน่ ๆ ของร่างกาย โดยระบายพลงั งาน ทเ่ี ปน็ พษิ ออกมาพรอ้ มกับเลือดทถ่ี ูกกระตนุ้ ใหเ้ คลอื่ น มาระบายพษิ ที่ผวิ หนงั วิธีกัวซา - ควรทําการกวั ซาในสถานท่โี ล่งโปร่ง และลมไม่โกรกจัด - ใชข้ ี้ผ้งึ ย่านาง ขผ้ี งึ้ เสลดพังพอน ข้ผี ง้ึ แกห้ วดั ยาหม่องดาํ นํา้ มนั เขียว นา้ํ มนั เหลอื ง นาํ้ มันพชื นาํ้ สมนุ ไพรฤทธ์ิเยน็ หรือนํา้ เปล่า อยา่ งใดอย่างหนง่ึ ทาบนผวิ หนังกอ่ นขดู ซา ในบริเวณที่รู้สึกไมส่ บายหรือบริเวณ ท่ีถอนพิษจากรา่ งกาย ได้ดี เชน่ บรเิ วณหลงั แขน ขา เป็นต้น แมไ้ มม่ สี มุนไพรทาเลย กส็ ามารถขูดซาไดเ้ ลย โดยท่ีไม่ต้องทาอะไร ก็ช่วยถอนพิษได้ (ถ้ารู้สกึ หนาวเยน็ ควรใชน้ าํ้ อนุ่ น้าํ มันพืช หรอื ข้ีผึง้ ท่ไี มเ่ ยน็ เกินไป ทา กอ่ นขูดซาหรือขดู ซา โดยทไี่ มต่ อ้ งทาอะไรเลยกไ็ ด้) - ใช้อปุ กรณ์เรยี บง่าย เชน่ ช้อน ชาม เหรยี ญ ไมข้ อบเรยี บหรือ วสั ดขุ อบเรียบต่าง ๆ ขูดได้ ทั้งท่ผี วิ หนงั ตรง ๆ หรอื จะขูดผ่านเสอื้ ผา้ ก็ได้ - การกัวซาควรเริม่ จากด้านซ้ายกอ่ นเสมอ ยกเว้น เกดิ อาการไม่สบายเดน่ ชัดทีด่ ้านขวา มากกว่าด้านซา้ ยก็ให้ขูด ดา้ นขวากอ่ น ค่มู ือการดแู ลสขุ ภาพสาหรบั ผู้สงู อายแุ ละครอบครัว 13

- การขดู แต่ละคร้ังใหล้ งนํา้ หนักแรงพอสบายไม่แรงเกิน ไมเ่ บาเกนิ ความแรงทไ่ี ดผ้ ลดนี นั้ ให้ลงน้ําหนกั ไปค่อนข้าง แรงหน่อยเทา่ ท่ีจะ ไม่เจบ็ /ไมท่ รมารมากเกินไป อาจไม่ รสู้ กึ เจบ็ เลยหรอื รู้สกึ เจ็บเล็กน้อยใน ขดี ท่ีทนได้ โดยไมย่ ากไมล่ ําบากกไ๋็ ดล้ งลงนํ้าหนกั สมาํ่ เสมอ - การขูดทีพ่ อดีคอื ขูดให้ผิวมสี แี ดง จนกว่าจะไมแ่ ดง ไป กว่านน้ั หรือขดู จดุ ละประมาณ10-50 คร้งั อาจขดู มาก หรือนอ้ ยกวา่ นี้กไ็ ด้เท่าทร่ี สู้ ึกสบาย - หลงั ทํากวั ซา ควรเกิน 4-8 ชั่วโมงข้ึนไปจึงสามารถ อาบนํา้ ได้ ถ้าจําเปน็ ทจี่ ะตอ้ งอาบนา้ํ ทนั ทีหลงั กัวซา ก็ ควรอาบนาํ้ อุน่ หรอื เช็ดตวั ด้วยน้าํ อุ่นหรอื จาํ เปน็ ท่ีจะต้อง อาบน้ําอาจอาบน้าํ ธรรมดา หลังกัวซาอย่างน้อย 30 นาที เพื่อใหเ้ ลอื ดทเี่ คล่ือนมาบริเวณ ผิวหนังมีเวลา ระบายพษิ ออกไปไดม้ ากถา้ เรารีบอาบนาํ้ เย็นเรว็ เกินไป เส้นเลอื ดจะหดตัวบบี เลอื ด ที่ยังระบายพษิ ไดไ้ มม่ า กลบั คืนไปสู่เซลล์เน้ือเยื่อและอวัยวะภายในของเรา ทํา ใหร้ ะบายพษิ ไดน้ ้อย ทิศทางของการกัวซา ขดู ศรษี ะ ขูดจากกลางศรษี ะจนถึงตนี ผม จนทว่ั ศรษี ะ ขูดใบหน้าบรเิ วณใบหนา้ ใหเ้ อากง่ึ กลางระหวา่ งคิ้วเปน็ จุดศูนย์กลาง แล้วขดู ออกไปเปน็ รัศมวี งกลมทกุ ทิศทกุ ทางหรอื ขูดออกด้านขา้ งกไ็ ดส้ าํ หรบั บริเวณตาใหห้ ลับตา ลง แล้วขดู เบา ๆจากหัวตามาหางตาและให้ท่วั บริเวณรอบตาท้ังหมด ลงนา้ํ หนักและปรมิ าณการขูดแคพ่ อรูส้ ึก สบาย คู่มอื การดูแลสขุ ภาพสาหรับผ้สู งู อายุและครอบครวั 14

ขดู แผน่ หลัง สว่ นท่ีชดิ กระดกู สันหลัง ขดู ตั้งแต่ต้นคอยาวลงมาจนถึงเอว ฟืน้ ท่ีแผ่นหลงั ส่วนท่เี หลอื ให้ขูดออกข้าง ขูดบริเวณลาตวั ด้านหน้า เร่ิมจากกลางหน้าอกให้ขูดลง ใตไ้ หลด่ า้ นหน้าให้ขูดออกข้าง หรือขดู ลงก็ได้ ใต้ราว นมขดู ตามร่องซ่ีโครงเฉยี งเขา้ หาสะดอื บริเวณท้องขดู ลงหรือขูดเขา้ หาสะดอื ก็ได้ ขดู คอ แขน มือ สะโพก ขา เท้าและจุดท่ีไมส่ บายอน่ื ๆ หรือจุดทจ่ี าทิศทางการขูดไมไ่ ด้ ใหข้ ูดลงหรือขูด ตามทิศท่เี ราขูดแล้วรสู้ ึกสบาย เพราะสภาพทเี่ กิดการบาํ บัดรักษาคอื สภาพทีร่ สู้ กึ สบายตามหลกั ปฎิบตั เิ พ่ือ ความแขง็ แรงอายุยนื ในพระไตรปฎิ ก อนายุสสสตู ร ข้อท่ี 1 การรูจ้ ักทําความสบายแก่ตนเอง ข้อควรร้ขู องการกวั ซา 1. การใชแ้ รงขดู ควรสมํ่าเสมอ ควรขูดจนเหน็ รอย จุดแดงปรากฎขนึ้ มาจนกว่าจะไม่แดงไปกวา่ นน้ั (หากขดู สักพกั แล้วไมแ่ ดงกย็ ้ายจดุ ขูดได้) หรอื ขูดจนบริเวณทขี่ ดู นน้ั รสู้ กึ สบายข้นึ จากน้ันจงึ ขดู ตําแหน่งอื่น ตอ่ ไป 2. บางครัง้ หลังจากขดู แลว้ 2-3 วัน ตาํ แหน่งที่ขูดอาจจะมอี าการระบมปรากฎขน้ึ ซึง่ ถือวา่ เป็นเรือ่ ง ปรกติ หลังขูดจนเกดิ รอยแดง ณ จดุ น้ัน ๆ ออกมาแล้ว เราสามารถแปลผลได้ดังนี้ 1. สีชมพหู รอื สีแดงเรอื่ ๆ แสดงว่า ดี 2. เปน็ ปนื้ แสดงว่า พิษเร่ิมสะสม 3. เป็นจา้ํ เหมือนไข้เลอื ดออก แสดงว่า พษิ สะสมนานแล้ว ในทางแพทย์ทางเลือก เรยี กว่า ลมแตก 4. ถา้ เปน็ ลักษณะช้ํา แสดงว่า มีพิษสะสมมาก ยง่ิ ถา้ ช้าํ จนถงึ ข้นั สีมว่ งหรือสดี าํ ในทางแพทยท์ างเลือกถอื วา่ มีพิษมากถงึ ข้ันมะเรง็ ซ่ึงการตรวจ ในทางการแพทย์แผนปัจจบุ นั อาจพบว่าเปน็ มะเร็งหรอื ไม่ก็ได้ ซึง่ จากประสบการณข์ องผูเ้ รยี บเรยี งพบวา่ คูม่ อื การดแู ลสขุ ภาพสาหรับผูส้ งู อายุและครอบครัว 15

ผูป้ วุ ยทแ่ี พทยแ์ ผนปัจจุบันวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็ง มากกว่า ร้อยละ 80 มกั ขดู ซาพบสีมว่ งหรือสดี าํ การกัวซาจึง เป็นทั้งการวนิ จิ ฉัยโรคและการรกั ษาโรค ไปพรอ้ มกัน ส่วนใหญไ่ ม่เกิน 7 วัน รอยแดงน้นั มักจะยบุ หายไป มกั จะมคี าํ ถามว่าเม่อื กัวซาแลว้ จะกวั ซาอกี ครง้ั เม่ือไหร่ คําตอบก็คือ เมื่อรู้สึกไม่สบายอกี ครัง้ ถ้าเปน็ ผ้ปู วุ ยหนกั อาจจะกัวซาทกุ วันหรอื กัวซาวันละหลายคร้งั กไ็ ด้ ถ้าการกัวซาน้ันทาํ ให้ผูป้ วุ ยร้สู กึ สบายตวั ขนึ้ 3. ไมค่ วรขดู ในจุดทีเ่ ป็นแผลฝหี นองหรือจุดที่เมอ่ื ถูกขดู แล้วรู้สกึ ไม่สบายเจ็บปวดแสบร้อน ทรมานมากเกนิ ไป แตส่ ามารถขดู ตรงข้ามกบั จุดท่ีไมส่ บายนัน้ ๆ กส็ ามารถรักษาจุดท่ีไม่สบายนัน้ ได้ คมู่ ือการดแู ลสขุ ภาพสาหรับผูส้ งู อายแุ ละครอบครัว 16

เรื่องท่ี 4 การระบายพษิ ดว้ ยการสวนลา้ งลาไส้ใหญ่ การสวนลา้ งลาไส้ใหญ่ (ดที อกซ์) เป็นการปรับสมดุลดว้ ยการลา้ งพิษ 3 อย่าง ออกจากลําไส้ใหญ่ ไดแ้ ก่ 1. พษิ ของเนือ้ อุจจาระทีห่ มกั หมม 2. นํ้าที่เป็นพษิ อันเกดิ จากทุกอวัยวะใน ร่างกายสง่ สงิ่ ท่เี ป็นพิษมากาํ จดั ที่ตบั ตบั กร็ ะบายส่งไป ท่ลี าํ ไส้เล็กแล้วก็สง่ ตอ่ ไปลําไสใ้ หญ่ 3. พิษของพลงั งานความรอ้ นท่เี ป็นของเสีย จากทกุ อวัยวะในรา่ งกาย ซึ่งส่งมาระบายทล่ี ําไสใ้ หญ่ มากกว่าที่อ่นื ๆ จะเห็นได้วา่ หมอแผนปจั จบุ ัน ถ้าวดั ไขท้ างทวาร เม่ือวดั อุณหภมู ิไดเ้ ท่าไหร่ จะตอ้ งลบออก 0.5 องศาเซลเซยี ส ในขณะท่กี ารวัดไข้ในทีอ่ ่ืน ๆ ไมล่ บ ออก เพราะที่ลาํ ไสใ้ หญม่ ีความร้อน มากกว่าท่ีอื่นใน รา่ งกายถึง 0.5 องศาเซลเซียส แมห้ มอจนี ไมว่ า่ ผูป้ วุ ย จะเปน็ โรคอะไร กน็ ยิ มฝงั เข็ม หรอื กดจุดท่ี จุดเหอกู่ ตรงบริเวณกึ่งกลางระหว่างนว้ิ โปงู กบั นว้ิ ชี้ของมือ วัด เข้ามาด้านหลงั มอื จาก งา่ มมือหนึง่ ข้อนวิ้ โปูง เปน็ จุด ระบายพษิ จาก ลําไส้ใหญ่ท่ีดมี าก ซง่ึ มกั จะทําใหอ้ าการไมส่ บาย ในรา่ งกายไม่วา่ จะเป็นอวัยวะใดก็ตามลดลง อย่างรวดเรว็ ผูป้ ุวยที่อาการหนกั ทําวันละ 1-2 คร้ัง ส่วนคนทว่ั ไปทาํ สัปดาห์ละ 1-3 คร้งั หรอื เทา่ ที่รา่ งกายร้สู ึก สบาย พิษท้ังสามประการนั้น จะเกิดขึ้นเป็นธรรมชาติของร่างกายทุกวัน ถ้าไม่รีบระบายออก หรือมีการ หมักหมม สะสมมากเกินไป ก็จะถูกดูดซึมกลับหรือแพร่กระจายกลับไปทําลาย ทุกอวัยวะในร่างกาย ทําให้ ร่างกายทรุดโทรม และเจ็บปุวย ในทางตรงกันข้ามการสวนล้างสําไส้ใหญ่(ดีทอกซ์)น้ันจะสามารถขับและ ระบายพิษทง้ั สามประการออกจากรา่ งกายได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว และพลังงานของสมุนไพรที่ถูก กันที่เราใส่เข้าไปใน ลําไส้ใหญ่ ก็จะเคลื่อนไปดับพิษปรับสมดุล ทุกอวัยวะในร่างกายได้อย่างรวดเร็ว จึงเป็น ส่วนหน่งึ ท่ที าํ ให้รา่ งกายแข็งแรงข้ึนอย่างรวดเรว็ วธิ ที า เลือกสมนุ ไพรท่ีเหมาะสม คือ เมือ่ ใชท้ ําดีท๊อกซแ์ ล้วรู้สึกสดช่นื โปรง่ โลง่ สบาย ตัวอยา่ งสมนุ ไพร เช่น - ใบเตย 1 ใบ - ออ่ มแซบครึง่ กาํ มอื - ย่านาง 1-3 ใบ - นา้ํ มะนาว คร่ึง-1 ช้อนโต๊ะ - น้าํ มะขามครง่ึ กาํ มือ - มะขามเปยี ก 1-3 ฝัก - ใบสม้ ปอุ ยครง่ึ กํามือ - กาแฟ 1 ชอ้ นชา - บอระเพ็ด 1 ข้อนวิ้ มือ - ลกู ใตใ้ บ 1 ตน้ - ฟาู ทะลายโจร 1 ยอด (ยาวครงึ่ -1 คืบ) เป็นต้น คู่มือการดแู ลสุขภาพสาหรับผ้สู งู อายุและครอบครวั 17

ให้เลือกใชส้ มนุ ไพรอย่างใดอย่างหน่งึ ท่ถี กู กับรา่ งกายเรา คือ พอทําดีทอกซ์แล้วรู้สึกสดชื่น โปร่ง โล่ง เ บ า ส บ า ย ตั ว ถ้ า ใ ช้ แ ล้ ว ไ ม่ ส บ า ย ก็ แ ส ด ง ว่ า ไ ม่ ถู ก กั บ ค น นั้ น ณ เ ว ล า นั้ น ค ว ร ง ด เ สี ย นําสมนุ ไพรต้มในนา้ํ เปลา่ เดอื ดประมาณ 5-10 นาที แล้วผสมนํ้าธรรมดาให้อุ่นหรือใช้ใบสมุนไพรสด ขยก้ี บั นา้ํ เปล่า กรองผา่ นกระชอน นาํ นํ้าทีไ่ ด้ ไปใส่ขวดหรือถงุ ท่ีเป็นชดุ สวนล้างลําไส้ โดยท่ัวไปใช้น้ําสมุนไพร 500-1,500 ซ.ี ซี. เปดิ น้ําใหว้ ิ่งตามสายเพื่อไล่อากาศออกจากสายแล้วล็อคไว้ จากนั้น นําเจลหรือวาสลีนหรือ นาํ้ มนั พืชหรอื วา่ นหางจระเข้ทาที่ปลายสายสวน ประมาณ 1 ซม. เพื่อหลอ่ ล่นื หรืออาจใช้ปลายสายสวนจุ่มใน น้ําก็ได้ ต่อจากน้ันค่อย ๆ สอดปลายสายสวน เข้าไปที่รูทวารหนัก สอดให้ลึกเข้าไป ประมาณเท่านิ้วมือเรา (ประมาณ 3-5 นว้ิ ฟตุ ) ยกหรือแขวนขวดสมุนไพรสูงจากทวารประมาณ 2 ศอก ค่อย ๆ ปล่อยน้ําสมุนไพรให้ ไหลเข้าไปในลําไส้ใหญ่ของเรา โดยใส่ ปริมาณนํ้าเท่าที่ร่างกายเรารู้สึกสบายท่ีทนได้ โดยไม่ยากไม่ลําบาก เกินไป แล้วใช้มือนวดคลึงท่ีท้อง พอปวดอุจจาระก็ไปถ่ายระบายออกในขณะท่ีทําดีทอกซ์ เราสามารถนอน (ส่วนใหญ่นิยมนอนทํา) น่ังหรือยืนทําก็ได้ตามความเหมาะสมของสภาพร่างกายและสถานที่ ในกรณีท่ีคนกลั้นได้เก่ง เมื่อรู้สึกปวดถ่ายครั้งแรกให้กล้ันไว้ก่อน เพื่อให้ลําไส้บีบตัว ส่ิงสกปรกท่ีติด บรเิ วณผนงั ลาํ ไส้จะไดห้ ลดุ ออกมาทนี่ าํ้ ดที อกซ์ ซง่ึ สว่ นใหญม่ ักไมเ่ กนิ ครง่ึ นาทกี ็จะหายปวด พอปวดอีกคร้ังก็ไป ถ่ายออกจะทําให้พิษถูกระบายออกได้ดี ส่วนผู้ที่ไม่มีกําลังกล้ัน พอปวดคร้ังแรกก็ให้ไปถ่ายระบายออกเลย โดยไม่ต้องคํานึงถึงระยะเวลาการกลั้น เฉล่ียไม่ควรเกิน 20 นาที************************ สําหรับผู้ปุวยที่อาการหนัก อาจทําดีทอกซ์ วันละ 1-2 ครั้ง อาจมากหรือน้อยกว่า ตามสภาพของ ร่างกาย คือ ทําเท่าท่ีรู้สึกสบาย ส่วนคนทั่วไป ทําดีทอกซ์เฉล่ีย สัปดาห์ละ 1-3 ครั้ง หรือตามสภาพร่างกาย คอื ทาํ เทา่ ท่ีรู้สึกสบาย****************************************************************************** สาหรับกรณีที่มีการผ่าตัดสาไส้ ควรรอให้แผลหายดีอย่างน้อยหลังผ่าตัด 3 เดือนขึ้นไป จึงค่อยทํา ดที อกซ์ โดยคร้งั แรก ๆ ให้ใช้นาํ้ ดที อกซ์น้อย ๆ แคพ่ อรสู้ ึกปวดระบายถา่ ยท้องก่อน พอลําไส้ปรับสภาพดีแล้ว จงึ คอ่ ยเพ่มิ นา้ํ ดที อกซ์ในปรมิ าณทร่ี ูส้ กึ สบาย (ทนไดโ้ ดยไมย่ ากไม่ลําบาก)******************************** ถ้าทาดที อกซแ์ ล้วรู้สกึ ไม่สบายมกั เกดิ จาก 1. สมนุ ไพรน้ันไม่ถูกกับร่างกายเรา เช่น บางคนเวลาใช้กาแฟทําดีทอกซ์แล้วจะรู้สึกใจสั่นอ่อนเพลีย ก็แสดงว่าคนนั้นไม่ถูกกับกาแฟ ถ้าใช้กาแฟทําดีทอกซ์แล้วรู้สึกสบาย ก็แสดงว่าคนน้ันถูกับกาแฟ 2. ใช้สมุนไพรเขม้ ข้นเกินไป ทาํ ให้สมุนไพรเคลื่อนเข้าร่างกายเร็วและมากเกินไป เพราะช่องทางของ ลาํ ไส้ใหญน่ ้ัน เป็นเส้นทางลมปราณที่สําคัญมาก เนื่องจากเป็นช่องทางท่ีพลังงานจะเคล่ือนเข้า-ออกเร็วมาก ดังน้ันชอ่ งทางน้ี ควรใช้สมุนไพรเจือจางแค่พอดสี บายจะดีทสี่ ดุ 3. เลอื กใช้นํา้ ไม่ถกู กนั ณ เวลานั้น บางคนถูกกบั นํ้าอนุ่ บางคนถกู กับนํา้ อุณหภมู ิธรรมดา ใหด้ ทู ่ี ความรูส้ ึกสบายเป็นหลกั 4. ปริมาณนา้ํ มากเกนิ ไป ใหใ้ สน่ าํ้ ในปรมิ าณทรี่ สู้ กึ สบายหรือทนไดโ้ ดยไม่ยากไม่ลาํ บาก 5. แขวนขวดสูงเกินไป ปล่อยนํ้าเข้าไปในลําไส้ แรงและเร็วเกินไป มักจะทําให้ปวดท้อง คล่ืนไส้ อาเจยี นหรอื เวียนศรษี ะไดง้ ่าย ดังนั้น ควรค่อย ๆ ปล่อยนํ้าเข้าไปในลําไส้ช้า ๆ เท่าท่ีรู้สึกสบาย กรณีที่แขวนขวดสูง ควรใช้เทคนิค การบบี หรอื หักสายดที อกซ์ แลว้ คอ่ ย ๆ ปล่อยนา้ํ เขา้ ไปในลําไส้ช้า ๆ ในปริมาณทีเ่ ราร้สู กึ สบาย 6. กลนั้ อุจจาระนานจนร้สู กึ ทรมานเกนิ ไป ใหก้ ลั้นในจดุ ทเ่ี รารู้สึกทนได้โดยไม่ยากไม่ลําบากเกินไป คู่มือการดูแลสุขภาพสาหรับผ้สู งู อายุและครอบครัว 18

เรอื่ งท่ี 5 การระบายพษิ ทางมอื เท้า และส่วนต่างๆ ของร่างกาย การแช่มือแชเ่ ทา้ ในนา้ สมุนไพร ให้ใช้สมุนไพรฤทธิเ์ ยน็ ประมาณ คร่ึง- 1 กํามอื เช่น - ใบเตย - เบญจรงค์(อ่อมแซบ) - ผักบงุ้ - บัวบก - ย่านาง - รางจืด - ใบมะขาม - ใบส้มปุอย - กาบหรือใบหรือหยวกกล้วย เป็นต้น จะใชส้ มุนไพรอยา่ งใดอย่างหนง่ึ หรือหลายอยา่ งรวมกันก็ได้ ตม้ กบั นา้ํ 1 ขนั (ประมาณ 1 ลิตร)เดอื ดประมาณ 5-10 นาที แล้วผสมนํา้ ธรรมดาใหอ้ นุ่ แค่พอ รู้สกึ สบาย ถ้าไม่มสี มนุ ไพรเลย กใ็ ชน้ ้าํ เปล่าตม้ ให้เดอื ดแล้วผสมนา้ํ ธรรมดาให้อนุ่ กไ็ ด้ จากน้นั แชม่ ือแช่เท้า แคพ่ อท่วมข้อมือขอ้ เท้า 3 นาที แลว้ ยกขึ้นจากนํ้าอุน่ 1 นาที ทาํ ซํา้ จนครบ 3 รอบ โดยทําวนั ละประมาณ 1-2 ครงั้ ถา้ ไมค่ ่อยมเี วลาทาํ เฉลยี่ สัปดาห์ละ 1-3 คร้ัง ถา้ ใชส้ มนุ ไพรฤทธ์ิเย็นต้มแล้วรู้สกึ ไม่สบายกป็ รบั ใช้สมุนไพรฤทธิ์ร้อนตม้ ถ้าร้สู กึ สบายกว่า ในกรณีที่ แชน่ า้ ต้มสมุนไพรแล้วมอี าการไมส่ บาย กใ็ ห้งดเสีย แสดงว่าสภาพร่างกายตอนน้ันไม่ถูก กับน้าํ อ่นุ นาํ้ รอ้ น อาจแชน่ ้ําธรรมดาหรอื นา้ํ สมนุ ไพรสดที่ไมผ่ ่านความรอ้ นแทน ถ้าทําแล้วรู้สกึ สบาย โดยแช่ นาน เทา่ ท่รี สู้ กึ สบาย กลไกการถอนพิษกค็ ือ ร่างกายมีธรรมชาติของการระบายพลงั งานท่ีเป็นพษิ จาํ นวนมากออกทางมอื เทา้ อยู่แล้วจะเห็นได้วา่ แพทยโ์ บราณหลายประเทศมกี ารกดจดุ หรอื ขูดระบายพิษจากมือและเท้า เม่ือคนเราใช้ มือและเท้าในกจิ วัตรประจําวนั กล้ามเนอ้ื เส้นเอน็ ท่ีมอื และเท้าก็จะเกิดสภาพแขง็ แรงเกรง็ คา้ ง ทาํ ให้ขวาง เส้นทางการระบายพษิ จากรา่ งกาย การแชใ่ นนาํ้ อุ่นจะชว่ ยให้กลา้ มเนื้อเส้นเอ็นทแ่ี ขง็ แกร่งคา้ งคลายตัว พลังงานทเี่ ปน็ พษิ ในร่างกายจึงจะระบายออกได้ดี ทําให้สุขภาพดีขึน้ จากการเก็บสถติ ิ ณ ปจั จบุ นั พบวา่ เม่อื แชใ่ นนํา้ อุ่นพลังงานพษิ ทอี่ ดั อยูใ่ นรา่ งกายจะเคลื่อนออก ภายใน 3 นาที หลังจากนน้ั พิษของน้าํ อนุ่ นา้ํ รอ้ นจะเคลือ่ นเข้าไปทาํ รา้ ยรา่ งกายเม่ือแชน่ ้าํ อุ่นนานเกนิ 3 นาที จึงมกั จะพบวา่ มีอาการออ่ นเพลยี หรอื ไมส่ บายในรา่ งกาย หลายคนที่เคยมีประสบการณ์ไปแช่น้ําดโปุง เดอื ด หรือนา้ํ พุร้อนถา้ แช่นานเกนิ 3 นาที พอขึน้ มาจากการแช่ ก็มักจะมอี าการออ่ นเพลียหรือไม่สบายต่าง ๆ เพราะ พษิ จะเคลอ่ื นออกไดแ้ ค่ประมาณ 3 นาที จากน้ันพิษของน้ําอุน่ จะเคลอ่ื นเข้าทาํ รา้ ยร่างกาย ดังน้ัน คนท่มี ีความรู้กจ็ ะแชน่ ้าํ อนุ่ แค่ 3 นาที แล้วขึ้นจากนํ้าอุ่น 1 นาที เมื่อรา่ งกายเย็นดีแล้ว พลังงานพษิ รอ้ นในรา่ งกายกจ็ ะเคล่ือนสวนทางกับความเย็น เม่ือเราแช่ในนา้ํ อุ่นอกี ครั้ง กลา้ มเน้ือก็จะคลายตวั พลงั งานพิษร้อนกจ็ ะเคลื่อนออกจากร่างกายได้มาก ผู้เขียนพบวา่ พิษสามารถเคลอ่ื นออกได้มากเพยี ง 3 รอบ หลังจากน้ัน ถ้าเรายงั แช่น้ําอนุ่ ต่ออกี พษิ นาํ้ อนุ่ ก็จะเคล่อื นเข้าไปทําร้ายร่างกาย ค่มู ือการดูแลสุขภาพสาหรบั ผสู้ งู อายุและครอบครวั 19

การระบายพษิ ด้วยวิธนี าสมนุ ไพรมาสมั ผัสกบั รา่ งกาย การพอก ทา หยอด ประคบ อบ อาบ ด้วยสมุนไพรท่ถี กู กนั คือเมื่อ ใชแ้ ลว้ รสู้ ึกสบาย เช่น พอกด้วยกากสมุนไพรฤทธิ์เย็น หรือพอกทาด้วยผงถ่านที่ใช้ก่อ ไฟทัว่ ไปผสมกับนาํ้ สมุนไพรฤทธ์ิเย็น (อาจผสมดนิ สอพองหรือน้าํ ปัสสาวะด้วย ก็ได้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการถอนพิษได้ดียิ่งข้ึน) โดยพอกทาทุก 4-6 ชั่วโมงหรืออาจพอกทาทิ้งไว้ทั้งคืนก็ได้ ถ้าใช้สมุนไพรฤทธิ์เย็นแล้วรู้สึกไม่ สบายก็ปรับใช้สมุนไพรฤทธ์ิร้อน ถ้ารู้สึกสบายกว่า********************** ก ร ณี ที่ มี ภ า ว ะ ร้ อ น เ กิ น * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * การถอนพิษด้วยการพอก/ทาด้วยสมุนไพรฤทธิ์เย็น โดยนําสมุนไพรฤทธิ์เย็น เช่น ใบเตย เบญจรงค์(อ่อมแซบ) ผักบุ้ง บัวบก ย่านาง รางจืด วุ้นว่านหาง จระเข้ ใบมะขาม ใบส้มปุอย กาบหรือใบหรือหยวกกล้วย เป็นต้น จะใช้อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง รวมกันก็ได้ มาหน่ั หรือโขลกให้แตกพอประมาณ อาจใช้กากสมุนไพรทีเ่ หลือจากการทํานา้ํ สมนุ ไพรฤทธิ์เยน็ ก็ได้ อาจใชผ้ ้าชบุ นา้ํ สมุนไพรฤทธ์ิเยน็ ก็ได้ อาจใช้ดนิ คลุกกบั น้าํ ใหเ้ หลวเหมือนตมก็ได้ อาจใชน้ ํ้าสมุนไพรฤทธิ์เย็นสด คลุกกับดินสอพองหรือปูนเค้ียวหมากหรือ แปูงฝุนท่ีใช้ทาหน้าทาผิว ให้พอเหลวก็ใช้ได้ อาจใช้น้ําสกัดด้วย การกล่ันสมุนไพรฤทธ์ิเยน็ นํา้ มันเขยี ว นํา้ มนั เหลือง น้ํามันพิมเสนการบูร เมนทอล ข้ีผง้ึ ย่านาง-เบญจรงค์ ข้ีผึ้ง เสลดพงั พอน ขี้ผงึ้ แก้หวดั ยาหม่องดํา ก็สามารถใช้ได้************************************************** กรณีที่มภี าวะร้อนเกินและเย็นเกินเกิดขึ้นพร้อมกัน*************************************************** ให้ใช้สมุนไพรฤทธิ์เย็นผ่านไฟ หรือสมุนไพรท้ังร้อนแล้วเย็นผ่านไฟ เช่น นําสมุนไพรฤทธิ์เย็นหรือ สมุนไพรท้ังร้อนและเย็น ต้มให้เดือด 5-10 นาที แล้วผสมน้ําธรรมดาให้อุ่น ใช้อาบหรือนําผ้าชุบบิดให้หมาด วางประคบบริเวณที่ไมส่ บาย หรอื อาจนาํ สมนุ ไพรฤทธ์เิ ย็นหรอื สมุนไพรทงั้ ร้อนและเยน็ หั่นให้เล็กหรือโขลกพอ แตก หอ่ เป็นลูกประคบ นึ่งให้ร้อน วางประคบ บริเวณที่ไม่สบาย ถ้ารู้สึกร้อนเกินไปก็ใช้ผ้ารองที่ผิวหนังก่อน ประคบก็ได้ กรณีท่มี ภี าวะเยน็ เกนิ อย่างเดยี ว ใหพ้ อก ทา ประคบหรอื อบดว้ ยสมนุ ไพรฤทธ์ิรอ้ น เชน่ ขมิน้ ขงิ ขา่ ตะไคร้ ไพล ใบมะกรูด เกลือ นํา้ มนั พืช นาํ้ มันสัตว์ชนิดต่าง ๆ ขีผ้ ้ึงขม้นิ ขี้ผึง้ ไพล ขผ้ี ้ึงน้ํามนั งา ข้ผี ึ้งน้ํามันระกํา เป็นตน้ คู่มือการดแู ลสขุ ภาพสาหรบั ผูส้ งู อายแุ ละครอบครัว 20

เรอื่ งท่ี 6 การดูแลสขุ ภาพจิต การสร้างเสรมิ สขุ ภาพจติ วยั ผูใ้ หญ่และผ้สู ูงอายุ 10 วิธบี รหิ ารจิต เพือ่ คณุ ภาพชีวิตทยี่ อดเยยี่ ม เรยี นรูว้ ิธบี รหิ ารสมองและจิตใจให้แจม่ ใสและเตรียมพร้อมสําหรบั ทกุ วัน เพ่ืออารมณท์ สี่ ดใสและสมอง ที่ปลอดโปร่ง การท่จี ะมีสขุ ภาพกายใจทแ่ี ข็งแรงและแจม่ ใสนน้ั ไม่ใชเ่ พราะการออกกาํ ลงั กายทางร่างกายเพียงอย่าง เดียว แต่ยังหมายถึงการบริหารจิตอีกด้วย ซึ่งวิธีการบริหารจิตก็ไม่ใช่เรื่องยาก อย่างเช่นที่ นพ.สุรเกียรติ อาซานานุภาพ ได้เปิดเผยเอาไว้ในหนังสือหมอชาวบ้าน ขอบอกเลยว่าแต่ละวิธี ง่ายและดีต่อสุขภาพกายใจ การบริหารจิตมีผลต่อสุขภาพกาย สมอง และจิตใจพอ ๆ กับการบริหารกาย โดยเฉพาะอย่างย่ิงมีผลต่อการ พัฒนาสมองด้วยการกระตุ้นให้เกิดการงอกใหม่และการปรับวงจรใหม่ของเซลล์สมอง ซึ่งมีผลต่อการพัฒนา จติ ใจใหส้ มบูรณ์ และมคี วามสขุ สงบเย็นอีกต่อหนึ่ง การบริหารจติ ควรทาให้เปน็ กิจวัตรในชวี ติ ประจาวนั ซ่ึงพอรวบรวมไว้ 10 วธิ ี ดังนี้ 1. ออกกาลังกาย เช่น ว่ิงเหยาะ เดินเร็ว ปั่นจักรยาน ว่ายน้ํา เต้นแอโรบิก ฝึกชี่กง รํามวยจีน (ไทเ่ ก๊ก) ฝกึ โยคะ เป็นต้น ในการออกกําลังกายสามารถบริหารจิตไปในตัว โดยการใช้สติระลึกรู้อยู่กับจังหวะ การเคล่ือนไหว ในช่วงแรกอาจใช้วธิ นี บั (เชน่ นบั ซ้าย-ขวา นับ 1-2 หรือ 1 ถึง 10 กับจังหวะก้าว) เป็นตัวช่วย จนสตมิ น่ั กไ็ มต่ ้องนบั 2. นอนหลบั ให้เพยี งพอ ประมาณ 6-8 ช่ัวโมง การ น อ น หลับดีมีผลต่อ ก าร พัฒ น าสมอ ง หลีกเลีย่ งการอดนอนและการมอี ารมณเ์ ครยี ดติดตอ่ กนั นาน ๆ เพราะมผี ลลบต่อร่างกาย สมองและจิตใจ 3. บรโิ ภคอาหารสขุ ภาพตามหลักธงโภชนาการ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ การลดหวาน มัน เค็ม หันมากิน ปลา กนิ ผักและผลไม้ใหม้ าก ๆ ไขมนั โอเมกา้ 3 ในปลา (เชน่ ปลาดุก ปลาซ่อน) มีผลดีต่อการสร้างเซลล์สมอง ใหม่ และหลีกเลี่ยงการบริโภคสุรา ยาสูบ และสารเสพติด****************************************** 4. หม่ันเรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ โดยการอ่าน การฟัง การค้นคว้า การหาประสบการณ์ใหม่ ๆ การคิด ใคร่ครวญ การถาม การบันทึกตามหลัก \"สุ. จิ. ปุ. ลิ.\" ควบคู่กับการฝึกใช้ความคิดเป็นประจํา เช่น การฝึก แก้ปญั หา การเลน่ ไพ่ การเลน่ เกมตา่ ง ๆ 5. ฝึกสมาธิ เช่น ฝึกอานาปานสติ สวดมนต์ ไหว้พระ เดินจงกรม ทําละหมาด อธิษฐานจิตวันละ อย่างน้อย 1-2 ครั้ง นานคร้ังละ 5-10 นาที ช่วยให้จิตใจม่ันคงสงบนิ่ง ไม่วอกแวก ฟูุงซ่าน ขาดสมาธิ หรือใจ ลอยงา่ ย ควรรกั ษาจิตทน่ี งั่ แต่ตน่ื รู้ไว้ตลอดเวลาของการปฏบิ ตั สิ มาธิ อย่าให้นานจนหลับหรือเข้าสู่ภวังค์ จะทํา ใหจ้ ติ เฉ่อื ยเนือย นํามาใชง้ านในการรับรสู้ ่งิ เร้าอย่างรูเ้ ทา่ ทันไม่ได้ ซ่ึงต่างจากสติ 6. เจริญสติ-รู้ตัวกับอิริยาบถและกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ระลึกรู้ตัวอยู่กับการน่ัง นอน ยืน เดิน การ เคลื่อนไหวจงั หวะขณะออกกาํ ลังกายตา่ ง ๆ การทํากจิ วตั รประจําวัน เช่น แปรงฟัน อาบนํ้า ด่ืมนํ้า กินอาหาร เคีย้ วขา้ ว ลา้ งจาน กวาดบา้ น ถูบ้าน ซกั ผ้า รดี ผ้า ให้มีความตนื่ ร้อู ยกู่ บั ปัจจบุ ันขณะ เม่ือจิตอยู่กับปัจจุบัน ก็จะสงบเย็น มีความสุข มีประสิทธิภาพในการทํากิจที่อยู่ตรงหน้า ไม่หวนคิด เสียใจกับเร่ืองที่เกิดขึ้นมาแล้วในอดีต หรือคิดกลัวกังวลกับเรื่องอนาคตที่ยังมาไม่ถึง ทําให้จิตใจฟูุงซ่าน เป็น ทุกข์ เครียด สูญเสยี พลังสมองโดยเปล่าประโยชน์ คูม่ อื การดแู ลสขุ ภาพสาหรบั ผู้สงู อายแุ ละครอบครัว 21

7. ฝึกใช้ลมหายใจเป็นระฆังแห่งสติ เราสามารถตามรู้ลมหายใจเข้า-ออกในการทําอานาปานสติ ในการเจริญสตติ า่ ง ๆ และอาจเสรมิ ดว้ ยการตามร้ลู มหายใจเข้าออกท่ีเป็นธรรมชาติ ไม่ต้องปรุงแต่งลมหายใจ ให้ยาวให้ลึกกว่าปกติ เพียง 1-3 รอบ โดยเข้ากับออก 1 คร้ังเท่ากับ 1 รอบ โดยไม่ต้องหลับตา หรือบริกรรม แบบการทาํ สมาธิ ควรทาํ ใหบ้ อ่ ย ๆ เทา่ ท่รี ู้สกึ ตวั ต้งั แต่ต่นื เชา้ จนเขา้ นอน ทําจนเปน็ นิสัย ต่อไปก็สามารถใช้ลม หายใจเพียง 1 รอบเป็นระฆังเตือนสติก่อนทํากิจกรรมต่าง ๆ เรียกว่า \"ต้ังสติก่อนสตาร์ท\" หรือเวลามีอารมณ์ เครยี ดเกดิ ข้ึน ก็สามารถใชล้ มหายใจเตือนตัวเองใหเ้ กดิ สตริ ูต้ ัว และควบคมุ อารมณ์ทีเ่ กดิ ขนึ้ นนั้ ให้ระงับบรรเทา หายไปได้ทันที************************************************************************************* 8. ฝกึ พักใจและสมองเป็นระยะ ๆ ในแตล่ ะวนั เช่น หยุดคิด โดยหันมาช่ืนชมธรรมชาติ หรือศิลปะ นานคร้ังละ ½ ถึง 1 นาที, ตามดูห้วงว่างระหว่างความคิด ลมหายใจเข้าออกและเสียงต่าง ๆ, หามุมสงบใน บ้าน ในทที่ าํ งาน หรือในสวน นัง่ ปล่อยวางอารมณอ์ ย่างเงียบ ๆ หรือตามรู้ลมหายใจประกอบ นาน 5-10 นาที เปน็ ตน้ การพกั ใจและสมอง ช่วยใหม้ พี ลงั ในการทาํ งานได้ไมเ่ หนอื่ ยลา้ 9. เจริญปญั ญาจากการสังเกตธรรมชาติของสรรพส่ิง ว่าล้วนเกิดขึ้นด้วยเหตุปัจจัยมากมายท่ีมีการ แปรเปล่ียน ไม่คงท่ีตลอดเวลา จนเห็นด้วยปัญญาตนว่า \"ทุกสิ่งล้วนมีการเกิดขึ้น-ต้ังอยู่-ดับไป\" เป็นธรรมดา ไม่ควรยืดม่ันถือม่ันในสิ่งใด ๆ ทั้งสิ้น ควรใช้ปัญญามองทุกส่ิงตามความเป็นจริงตามเหตุปัจจัย เง่ือนไข หรือ บริบทในขณะน้ัน แล้วจัดความสัมพันธ์หรือเข้าไปเก่ียวข้องกับส่ิงต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับเหตุปัจจัย เง่ือนไข หรือบรบิ ทนั้น ๆ ก็จะเกดิ ความราบร่นื กลมกลนื ประสบผลดี ไมท่ กุ ข์ ไมเ่ ครยี ดและเป็นสุข 10. ฝึกคิดดี-พูดดี-ทาดี ให้เป็นนิสัย ช่วยถ่วงดุลกับธรรมชาติของจิตท่ีมักคิดลบซึ่งเป็นไปตามกลไก ลมองท่ีมักถกู ครอบงาํ ดว้ ยความมีอัตตาตัวตน นสิ ยั ความเคยชินเดมิ และอารมณล์ บ นอกจากนี้ควรหม่ันมีจติ อาสาทาํ งานเพ่อื คนอ่ืนโดยไม่หวังส่ิงตอบแทนช่วยเหลือเกื้อกูลคนอ่ืน, ฝึกฟัง คนอื่น และเขา้ ใจคนอ่นื , ร้จู ักใช้ปยิ วาจา รวมท้งั รจู้ กั พูดชนื่ ชม ให้กาํ ลังใจผู้คนรอบข้าง, ฝึกตามดูรู้ทันความคิด อารมณ์ ความรู้สึกทเี่ กดิ ขึ้นในใจ ซ่ึงจะชว่ ยให้ควบคุมตวั เองไดด้ ี หมั่นมองตน ทบทวนตัวเองทกุ วัน วันละหลายครั้ง หรือหลังเสร็จจากการทากิจต่าง ๆ มองให้เห็นจุด แข็ง (เพ่อื ใหก้ าลังใจตัวเอง) และจุดอ่อน (เพอ่ื การปรับเปลีย่ นและพัฒนาตน), หมน่ั นกึ ขอบคุณผู้คนและส่ิงต่าง ๆ (ท้งั ส่ิงมีชวี ติ และมชี ีวติ และไมม่ ชี ีวติ ) ที่เกือ้ หนุนให้ชีวิตเราปลอดภยั และเติบโตมาด้วยดี ทั้งหมดนี้เพื่อฝึกการ รู้ตนควบคุมตน และลดละอัตตาตัวตน 7 ขอ้ ดีสมาธิท่ีมีต่อสุขภาพ การน่งั หลับตา สัง่ การใหส้ มองหยุดคดิ เรอ่ื งราวต่าง ๆ เพียงแค่ 5 นาที ไมเ่ พียงแตจ่ ะช่วยใหเ้ รามี สตมิ ากข้นึ แลว้ ยังสง่ ผลให้สขุ ภาพกายและใจของเราดขี ้ึนจนนา่ ตกใจอีกดว้ ย ใครทีม่ ักชอบมเี รื่องเครียด เรือ่ งให้ตอ้ งคิดมาก เร่ืองให้ต้องกังวลมาบ่ันทอนสุขภาพจิตใจของเราบ่อย ๆ จนบางทีกระทบถึงสุขภาพกายทําให้เราปุวยออด ๆ แอด ๆ ด้วย เราขอแนะนําเลยว่า ให้ลองน่ังสมาธิดู เพราะจากข้อมูลในเว็บไซต์ Businessinsider.com เผยว่า การน่งั สมาธินั้นมีพลังมหัศจรรย์ที่จะฟื้นฟูสุขภาพ กายและใจของเราแข็งแรงขน้ึ โดยทีเ่ ราแทบไมต่ ้องพง่ึ พายาปฏิชวี นะใด ๆ เลย แต่จะจรงิ เท็จแค่ไหน ต้องไปไข ข้อข้องใจกนั ดู 1. ทาใหจ้ ิตใจแจม่ ใส เบกิ บานขึน้ การนัง่ สมาธิเปน็ ประจําทุกวนั นนั้ ข้อดีอย่างแรกท่เี ราจะไดร้ ับก็คือ มีสุขภาพจิตดีขึ้น สามารถจัดการกับด้านลบของตัวเองได้ เช่น เศร้า โกรธ เครียด หดหู่ กลัว และความวิตก กงั วล ซ่ึงจากผลการวจิ ยั ทถี่ ูกตีพมิ พใ์ นวารสาร Social Cognitive and Affective Neuroscience เผยว่า การ นัง่ สมาธเิ ป็นการกระตุ้นสมองใหเ้ กดิ การเรยี นรู้มากขึน้ ยับย้งั การทาํ งานของสมองส่วนกลาง หรือสว่ นทีเ่ รียกว่า คู่มือการดูแลสุขภาพสาหรับผูส้ งู อายุและครอบครวั 22

อมิกดาลา (Amygdala) ทําหน้าท่ีสร้างอารมณด์ ้านลบ เชน่ โมโห เกลยี ด เศร้า กลัว และกระวนกระวายใจ ให้ ทาํ งานน้อยลง ดว้ ยเหตุนี้ คนทน่ี ง่ั สมาธเิ ปน็ ประจําสว่ นใหญม่ แี นวโนม้ เปน็ คนมอี ารมณแ์ ปรปรวนน้อยกว่าคนที่ ไมค่ ่อยนง่ั สมาธิ หรือไมเ่ คยนง่ั สมาธเิ ลย 2. ความจาดขี นึ้ ตารางงานของใครในแตล่ ะวนั มเี ร่อื งยบิ ย่อยให้จดจําเยอะ ทําให้บางคร้ังหลง ๆ ลืม ๆ เรื่องสําคัญบางเร่อื งไปโดยไมร่ ู้ตวั ขอแนะนาํ เลยวา่ ให้น่งั สมาธอิ ย่างนอ้ ยวันละ 10 นาทใี หไ้ ด้ทุกวัน เพราะมี ผลการวจิ ัย เผยว่า ผูท้ ี่นง่ั สมาธิเป็นประจํา เช่น พระสงฆ์ หรือ นักปฏิบัติธรรม ส่วนใหญ่จะมีสติในการใช้ชีวิต มากขึ้น สามารถจดจํารายละเอียดปลกี ยอ่ ยถงึ สง่ิ ท่ีต้องทาํ ในแต่ละวันไดด้ ี ส่วนหนึ่งเปน็ เพราะพวกเขามีการฝึก สมองใหค้ ิดจดจอ่ อยู่กบั เรื่องราวในปัจจุบนั จึงทําให้พวกเขาขหี้ ลงขี้ลืมน้อยมาก 3. เราจะร้สู กึ เหน็ อกเห็นใจผ้อู นื่ มากข้นึ การนง่ั สมาธจิ ะทาํ ใหเ้ ราเปน็ คนใจเย็นลง ใช้เหตุผลมากกว่า ใช้อารมณ์ ดว้ ยเหตุน้จี ึงสามารถเข้าใจความรู้สกึ ของผอู้ ืน่ ได้มากขึ้น จากผลการวิจัยส่วนใหญ่ เผยว่า ผู้ที่ฝึกฝน สมาธเิ ป็นประจาํ เช่น พระสงฆ์ หรือนักปฏิบัติธรรม ส่วนใหญ่จะเป็นคนใจเย็น สงบนิ่ง และมีจิตใจท่ีเอ้ือเฟ้ือ เผื่อแผ่ สาเหตุเปน็ เพราะคล่นื สมองอัลฟุาทําการเชื่อมโยงกับความรู้สึกผ่อนคลาย และเป็นสมาธิ ทําให้ไม่เกิด ความรู้สึกนึกคิดในอารมณ์ด้านลบ เช่น โกรธ เศร้า อิจฉาริษยา เครียด และกังวล ซ่ึงเป็นอารมณ์ท่ีนําไปสู่ ความคดิ อคติ หรือ คดิ ขัดแย้งกับฝาุ ยตรงขา้ มอยา่ งไมม่ ีเหตผุ ล 4. สุขภาพสมองแขง็ แรงขึ้น การน่งั สมาธชิ ว่ ยฟน้ื ฟสู ุขภาพสมองใหม้ คี วามแข็งแรงขึ้นได้ เห็นได้จาก หลายงานวิจยั ท่ีมีความเห็นตรงกันว่า การนั่งสมาธิติดต่อกันนาน 8 สัปดาห์ส่งผลดีต่อสุขภาพสมอง โดยท่ีเรา จะสามารถจดจําอะไรได้มากข้ึน สามารถจัดการกับอารมณ์ด้านลบของตัวเองได้ดีข้ึน เช่น ซึมเศร้า เครียด กังวล เปน็ ต้น ซง่ึ อารมณ์ด้านลบเหลา่ นี้แหละท่ีจะเป็นตัวบั่นทอนสุขภาพสมองให้ถดถอยลงเร่ือย ๆ เช่น ข้ีลืม พูดจาตดิ ขดั อารมณแ์ ปรปรวน คิดอ่านชา้ เป็นต้น 5. หัวใจกแ็ ข็งแรงขนึ้ ดว้ ย ความเครยี ดเปน็ ศัตรตู วั ฉกาจของสุขภาพหวั ใจอยา่ งมากเลยนะคะ เพราะ ทกุ ๆ คร้งั ทเ่ี รารสู้ กึ เครยี ดขนึ้ มา ความดันเลือดในร่างกายของเราจะสูงข้ึนตามไปด้วยค่ะ หากเป็นแบบนี้บ่อย ๆ สขุ ภาพหวั ใจต้องแย่แน่ เอาเป็นว่า ขอให้ลองใช้วิธีน่ังสมาธิจัดการกับความเครียดดู เพราะจากผลการวิจัย ของ สมาคมโรคหวั ใจแหง่ สหรฐั อเมรกิ า เผยว่า การน่ังสมาธสิ ามารถลดระดับฮอร์โมนเครียดในร่างกายได้ ซ่ึงมี ผลโดยตรงต่อความดันในเลือดให้ลดลงด้วย น่ันหมายถึงว่า หากหลอดเลือดหัวใจมีการไหลเวียนของเลือดอยู่ ในระดบั ทป่ี กติแลว้ หัวใจก็ไม่ต้องทํางานหนักขน้ึ 6. เจ็บป่วยยาก บางครั้งอาการเจ็บปุวยท่ีเรามีน้ัน อาจเป็นผลกระทบมาจากสุขภาพใจของเราที่ กาํ ลงั ออ่ นแอนะคะ ซึง่ สามารถสงั เกตได้งา่ ยมากเลยคือ อาการเจบ็ ปุวยท่ีมาจากจิตใจอ่อนแอน้ัน กินยาเท่าไรก็ ไมห่ ายขาด แคอ่ าการทเุ ลาลงแคน่ ้นั หากเปน็ อย่างน้ีละก็ หันมานั่งสมาธดิ ดู ีกวา่ คะ่ เพราะจากผลการวิจัย เผย วา่ การนัง่ สมาธชิ ่วยกระตุ้นระบบภมู ิคุ้มกนั โรค ทําให้เราเจ็บปุวยยากขึ้น โดยผู้ท่ีนั่งสมาธิติดต่อกัน 8 สัปดาห์ นั้นมคี วามเสย่ี งเป็นโรคไขห้ วดั ยากกวา่ คนทไี่ มเ่ คยนัง่ สมาธเิ ลย นอกจากน้ีแล้ว การน่ังสมาธิยังส่งผลให้วัคซีนมี ประสทิ ธภิ าพดีขน้ึ อกี ดว้ ย โดยท่ใี นรายทน่ี ่ังสมาธนิ ัน้ ร่างกายจะตอบสนองกบั วัคซนี ได้ดกี ว่า 7. ช่วยชะลอวยั จากผลการวิจยั ในกลมุ่ อาสาสมัครผรู้ อดชีวติ จากโรคมะเรง็ เผยว่า การน่ังสมาธิเป็น การเพิม่ ความยาวใหก้ ับสายดีเอน็ เอของโครโมโซมแห่งวยั หรอื ทเี่ รียกว่า เทโลเมยี ร์ (Telomere) เพราะการนั่ง สมาธจิ ะกระตุ้นใหร้ า่ งกายหลั่งเอนไซม์เทโลเมอรเรส (Telomerase) ออกมาซ่อมแซมส่วนของเทโลเมียร์ที่ถูก ทาํ ลาย ไม่ให้สายเทโลเมยี รห์ ดสน้ั ลงไปเร่ือย ๆ จงึ สามารถชะลอความเส่อื มของเซลลไ์ ด้ ในทางกลับกัน หากร่างกายของเรามีสายเทโลเมียร์ที่หดส้ันลงเร่ือย ๆ ก็จะส่งผลให้เซลล์ต่าง ๆ ภายในร่างกายเส่ือมก่อนวัยอันควร จึงทําให้เรามีโอกาสปุวยเป็นโรคท่ีเกิดจากความเสื่อมของเซลล์ เช่น คู่มือการดูแลสขุ ภาพสาหรับผ้สู งู อายุและครอบครัว 23

โรคมะเร็ง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคอัลไซเมอร์ และโรคเบาหวาน เป็นต้น ด้วยเหตุน้ีเอง คนที่นั่งสมาธิเป็น ประจําจึงดอู ่อนกว่าวยั ไมค่ ่อยมีปญั หาสขุ ภาพ ทัง้ นี้ การน่งั สมาธเิ พ่อื ใหไ้ ด้ผลทด่ี ตี ่อสขุ ภาพกายและใจของเราอย่างแท้จริงน้ัน ควรต้ังใจทาให้ได้เป็น ประจาทกุ วัน เร่มิ ต้นแรก ๆ อาจลองทาแค่ 5 นาทีดกู ่อนกไ็ ด้ เพ่ือเป็นการปรับความเคยชินให้ร่างกายฝึกอยู่ใน ความสงบ ซ่งึ หากเราสามารถทาได้เป็นประจาทุกวันแล้ว ก็ค่อยเพ่ิมเวลาให้มากขึ้นก็ได้ หากใครทาตามที่เรา แนะนาแล้ว รับรองเลยค่ะว่า สขุ ภาพกายและใจของคณุ จะดขี น้ึ จนนา่ ประหลาดใจ มาฝกึ สมาธิเบ้อื งตน้ กันดีกว่า เคยไหม? บางคร้ังที่เราเจอปัญหา หรืออะไรมาสะกิดใจเพียงนิดเดียว ก็เกิด อาการควบคุมจิตใจไม่ได้ เกิดความฟุ้งซ่าน วุ่นวาย มเี รอ่ื งรบกวนไปเสียหมด น่ันเพราะไม่ เคยรับการบําบัดทางจิต หรือลองฝึกสมาธิมา กอ่ น หลายคนท่เี คยลองฝึกจิต หรอื ฝกึ สมาธิ จะ สามารถควบคุมอารมณ์ตนเองได้ดีกว่าคนอื่นๆ และยังมสี ติ ทําอะไรด้วยความไม่ประมาทด้วย วันน้ี เราขอชวนเพ่ือน ๆ มาลองฝึก สมาธิเบ้ืองต้นกันดู ซ่ึงโดยปกติแล้ว \"สมาธิ\" มีหลา ยประเภท แต่สมาธิที่ฝึกง่ายท่ีสุด ป ร ะ ห ยั ด เ ว ล า แ ล ะ ไ ด้ ผ ล ที่ สุ ด ต า ม ที่ พระพุทธเจ้าทรงแนะนําให้ปฏิบัติ ก็คือ \"อานา ปานสติ\" หรือการกําหนดลมหายใจเข้าออก ที่ เราส่วนใหญ่ก็เคยได้ยินกันมาบ้างแล้วน่ันเอง โดยหลักการฝึกสมาธิเบ้ืองต้นแบบง่าย ๆ ให้ทําตามข้ันตอน ตอ่ ไปนี้ กอ่ นฝึกสมาธิ 1. ควรอาบนา้ํ ลา้ งหน้า ล้างมือ ล้างเทา้ กอ่ น เพ่ือให้ตัวรู้สึกสบายมากที่สุด เมื่อร่างกายสงบ จิตใจจะ สงบได้ง่ายขน้ึ 2. หาสถานทีส่ งบ ไมม่ คี นพลกุ พล่านจอแจ อากาศถา่ ยเท เย็นสบาย เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ถึงสมาธไิ ด้เรว็ มากข้ึน 3. พยายามตัดความกังวลทุกอย่างออกไป เช่น ควรจัดการงานที่คั่งค้างอยู่ในเสร็จก่อนเริ่มทําสมาธิ เพ่อื ไม่ใหห้ ว่ งหนา้ พะวงหลงั 4. อย่าตั้งใจมากเกินไป ว่าจะต้องให้ได้ขั้นนั้น ขั้นน้ี เพราะจะยิ่งทําให้เกิดความเคร่งเครียดมากข้ึน จติ ใจจะพะวงไปแตอ่ นาคต ไมส่ ามารถควบคุมจิตใจใหอ้ ยู่ ณ ปัจจุบนั ขณะฝึกสมาธิ ควรปฏิบัตติ นดงั น้ี 1. กราบบชู าพระรตั นตรยั ระลึกถึงพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดา ครูบาอาจารย์ เพ่ือเป็น การเตรียมตัวเตรียมใจ 2. ควรนั่งทําสมาธิในท่าขัดสมาธิ นั่งขัดสมาธิ ขาขวาทับขาซ้าย มือขวาทับมือซ้าย น้ิวชี้ขวาจรด น้ิวหัวแม่มือซ้าย วางไว้บนตัก หลังตรง ศีรษะตรง ไม่ควรน่ังพิง เพราะจะทําให้ง่วงได้ง่าย กรณีเป็นคนปุวย คมู่ ือการดูแลสุขภาพสาหรับผสู้ งู อายแุ ละครอบครัว 24

หรอื คนท่ีไมส่ ามารถน่งั ทา่ ขดั สมาธไิ ด้ กส็ ามารถน่งั บนเกา้ อแี้ ทนได้ จากนน้ั ทอดตาลงตา่ํ อย่าเกร็ง เพราะจะทํา ใหร้ า่ งกายปวดเม่อื ย แลว้ คอ่ ย ๆ หลับตาลง 3. ส่งจิตไปให้ท่ัวร่างกาย ว่ามีกล้ามเน้ือส่วนใดเกร็งอยู่หรือไม่ แล้วค่อย ๆ ผ่อนคลายกล้ามเน้ือส่วน นั้น พยายามกําหนดลมหายใจเขา้ ออกให้ลกึ ๆ มี \"สติ\" อยูก่ ับลมหายใจ ตรงจดุ ท่ลี มกระทบปลายจมูก 4. เมื่อเร่มิ ฝึกสมาธใิ หม่ ๆ ควรใช้เวลาแต่น้อยกอ่ น เช่น 5-15 นาที จากนั้นเมื่อฝึกบ่อย ๆ แล้วจึงค่อย เพ่ิมระยะเวลาขนึ้ ไปเร่ือย ๆ เพื่อให้ร่างกายและจิตใจค่อย ๆ ปรับตัวตาม หากรู้สึกปวดขา หรือเป็นเหน็บ ให้ พยายามอดทนใหม้ ากทสี่ ุด หากทนไม่ไหวจงึ ค่อยขยบั แตค่ วรขยับให้นอ้ ยที่สดุ เพราะการขยับแต่ละคร้ังจะทํา ให้จิตใจกวัดแกว่ง ทําให้สมาธิเคลื่อนได้ แต่ถ้าหากอดทนจนอาการปวด หรือเป็นเหน็บเกิดข้ึนเต็มที่แล้ว อาการเหลา่ นัน้ จะหายไปเอง แลว้ จะเกดิ ความรูส้ กึ เบาสบายข้ึนมาแทนที่ 5. หากเกดิ เสียงดังขึน้ มา ไมว่ า่ จะเป็นเสียงคนพูด เสียงสิ่งของกระทบกัน ให้ถือว่าไม่ได้ยินอะไร และ อย่าไปใส่ใจกับมัน 6. หากเกิดอะไรขนึ้ อยา่ ตกใจ และอย่ากลัว เพราะท้ังหมดเป็นอาการของจิตท่ีเกิดข้ึน ให้ตั้งสติเอาไว้ ในม่นั คง ทําจิตใจให้ปกติ หากเห็นภาพทน่ี ่ากลัวใหส้ วดแผ่เมตตาให้สิ่งเหล่านั้น หรือนึกถึงสิ่งศักดิ์สิทธ์ิที่เรายึด ไว้เป็นท่ีพึ่งทางใจ ถ้าภาพเหล่านั้นไม่หายไป ให้ต้ังสติเอาไว้ หายใจยาว ๆ แล้วถอนสมาธิออกมา เม่ือจิตใจ ม่ันคงเป็นปกติแลว้ จงึ คอ่ ยทาํ สมาธิใหมอ่ ีกครงั้ โดยควรสวดมนตไ์ หวพ้ ระ อธิษฐานให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ช่วยคุ้มครอง การปฏบิ ตั ขิ องเราดว้ ย 7. เมื่อจะออกจากสมาธิ ให้สังเกตดูว่า ใจของเราเป็นอย่างไร แล้วแผ่เมตตาให้สรรพสัตว์ท้ังหลาย อุทิศส่วนกุศลทีไ่ ดจ้ ากการทําสมาธนิ ้นั ให้กับเจ้ากรรมนายเวร ผู้มีพระคุณของเรา แล้วหายใจยาว ๆ ลึก สัก 3 รอบ ก่อนคอ่ ย ๆ ถอนสมาธชิ ้า ๆ ค่อย ๆ ลืมตาข้ึน วิธหี ายใจทถ่ี กู ต้อง หลายคนท่กี ําลงั ฝึกสมาธิอาจประสบปัญหาไมร่ วู้ ิธกี ารหายใจเข้า-ออกท่ีถูกต้อง เราจึงมีคําแนะนําดี ๆ จาก แพทย์ผู้เชี่ยวชาญจากโรงพยาบาลรามาธิบดี ที่ให้ความรู้ไว้ใน เฟซบุ๊ก Rama Update มาบอกถึงวิธีฝึก กายหายใจ โดยหลงั จากน่ังตวั ตรง ขัดสมาธิแล้ว ให้กําหนดลมหายใจ ซึ่งการหายใจเข้า-ออกน้ัน ควรแบ่งเป็น 3 จังหวะ ดังนี้ จังหวะแรก : สูดหายใจใหย้ าวถึงสะดอื จงั หวะทีส่ อง : กลน้ั หายใจคา้ งไว้ นับ 1-5 เพ่อื อดั อากาศไวใ้ นปอดให้เตม็ ท่ี จังหวะที่ 3 : ค่อย ๆ หายใจออกอยา่ งชา้ ๆ ทําอย่างนีซ้ ้าํ กัน 3 ครง้ั จากนั้น ใช้น้ิวชี้ขวาอุดรูจมูกขวาไว้ หายใจเข้าทางรูจมูกซ้าย แล้วเปลี่ยนมาใช้น้ิวช้ีซ้ายอุดรูจมูกซ้าย หายใจออกทางรูจมูกขวา จากน้ัน เปล่ียนมาใช้น้ิวชี้ขวาอุดรูจมูกขวา หายใจออกทางรูจมูกซ้าย แล้วกลับมา หายใจเข้าทางรูจมกู ซา้ ยอีกครงั้ ทาํ สลับกันไปมาอย่างนี้รวม 10 คร้ัง จากนั้น หายใจเข้า-ออก ปกติ ด้วยรูจมูกท้ังสองข้าง อีก 5 คร้ัง โดยทาํ ช้าๆ ไมต่ อ้ งรีบร้อน คมู่ อื การดูแลสุขภาพสาหรบั ผสู้ งู อายุและครอบครวั 25

เรอื่ งที่ 7 สมุนไพรเพือ่ วัยสงู อายุ ความสูงอายเุ ป็นผลรวมของพฒั นาการและการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนในชีวิตมนุษย์นับตั้งแต่เกิดจนสิ้นอายุขัย คําว่า ผู้สูงอายุมักใช้เรียกบุคคลท่ีมีอายุ 60 ปีข้ึนไป ผู้ที่ใกล้เข้าสู่วัยนี้มักจะพบกับความเปล่ียนแปลง ความเส่ือมถอย ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม แต่ในทฤษฎีการแพทย์แผนไทย ไดแ้ บ่งอายุคนเป็น 3 วยั คือ 1) ปฐมวัย อายุ 0 – 16 ปี 2) มัชฉิมวัย อายุ 16 – 32ปี 3) ปจั ฉิมวยั คืออายตุ งั้ แต่ 32 ปี จนสิน้ อายุขยั จากการแบ่งดังกล่าวจะเห็นว่าผู้ท่ีมีอายุ 32 ปีข้ึนไปอยู่ในวัยสูงอายุ ซ่ึงต้องเตรียมร่างกาย จิตใจ ให้ พร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงท่ีจะเกิดขึ้น แม้ว่าจะดูว่าอายุเพียงแค่น้ียังแข็งแรงอยู่ แต่ถ้ามองอีกมุมหนึ่งการ ดาํ รงชวี ติ ดว้ ยความไม่ประมาท ตั้งแต่อายุน้อย ๆ จะทําให้ชีวิตปรับตัวให้เข้ากับธรรมชาติที่ควร จะเป็นไปได้ ดกี วา่ การดํารงชีวติ ท่ีขาดเปูาหมายทด่ี ี พอเข้าส่วู ยั สูงอายุแลว้ มาแกไ้ ขปัญหากพ็ บว่า สายเสียแลว้ การแพทยแ์ ผนไทย แม่วา่ จะดไู ม่ทนั สมยั นัก แตถ่ า้ มองกนั ลึก ๆ แล้วมีความละเอียดออ่ นลึกซ้ึง ที่น่าสนใจ และ ไม่ไดแ้ ตกตา่ งจากกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มากนัก ถ้าเราผสมผสานกันระหว่างการใช้ชีวิตและแบบใหม่ และแบบดั้งเดิมใหเ้ หมาะสม เราจะมสี ุขภาพทางจติ ท่ดี ี อย่างไรก็ตามเราก็คงจะหลีกเลี่ยงวัยสูงอายุไม่ได้แม้ว่าจะแบ่งแบบเก่าหรือใหม่ เราจะต้อง พบกับ ความเปล่ียนแปลงของร่างกายแน่นอน สถาบันการแพทย์แผนไทยจึงได้ตระหนักถึงการดูแล สุขภาพของ ผู้สูงอายุ ในฉบับน้ีจึงขอนําเสนอสมุนไพรเพ่ือวัยสูงอายุ และผู้ที่ใกล้เข้าสู่วัยสูงอายุ โดย แบ่งเป็นกลุ่มอาการ ดังนี้ 1. สมุนไพรบารุงกระดกู เนื่องจากผู้สูงอายุมักพบปัญหาเกี่ยวกับการสูญเสียแคลเซี่ยมที่กระดูก ทําให้ความแข็งแรงของกระดูกลดลง กระดูกเปราะและหักง่าย ดังน้ันหลักในการดูแลทั่วไปคือให้ร่างกายได้รับแคลเซียมอย่างเพียงพอ โดยเฉล่ีย ประมาณวันละ 800 มิลลิกรัม อาหารท่ีควรรับประทาน ได้แก่ นม ปลาปุน หรือปลาเล็กปลาน้อย กุ้งแห้ง นอกจากนย้ี ังมีผกั ใบเขียวหลายชนดิ ท่ีมีปริมาณแคลเซียมสงู และหางา่ ย ราคาถูก ไดแ้ ก่ 1) ใบยอ มแี คลเซยี ม 469-841 มลิ ลกิ รัม/100 กรมั สรรพคณุ ทางยาไทย รสขม แก้ไข้ บํารุงธาตุ แก้ท้องร่วง แก้ปวดข้อ ใบยอนํามาประกอบอาหารได้หลายชนิด เชน่ ห่อหมก แกงออ่ มแกงปาุ เปน็ ต้น 2) ช้าพลู มีแคลเซียม 601 มิลลิกรัม/100 กรัม นอกจากนี้ในใบช้าพลูยังมีฟอสฟอรัส เหล็ก และ วิตามนิ ต่าง ๆ ขอ้ ควรระวงั ไมค่ วรรับประทานใบช้าพลูทุกวัน เพราะในใบช้าพลูมีสารออกซาเลท สูงถึง 691 มิลลกิ รัม/100 กรัม ถ้ารับประทานปรมิ าณมากจะทําให้เกิดโรคนวิ่ ได้ 3) มะขาม ฝักมะขามอ่อน มีแคลเซียม 429 มิลลิกรัม/100 กรัม ใช้ปรุงอาหารได้ หลายชนิด เช่น นาํ้ พรกิ ใส่ตม้ ยาํ ยอดออ่ นใช้ปรุงแกง สรรพคณุ ตามตาํ รายาไทย ช่วยระบาย ขบั เสมหะ แกไ้ อ บาํ รุงกระดูก ปอู งกนั โรคเลือดออกตามไรฟัน 4) แค ในยอดแคมีแคลเซียม 395 มลิ ลิกรมั /100 กรมั ยอดแคนํามาเปน็ ผักจิม้ กับนํา้ พริกได้ท้ังกินสด หรอื ลวก ดอกแคใช้แกงส้ม สรรพคณุ ตามตาํ รายาไทย ยอดและดอกใช้แก้ไขห้ วั เปลอื กต้นใชแ้ ก้ทอ้ งเสยี น้าํ ต้มจากเปลือกใช้ลา้ งบาดแผล คูม่ อื การดแู ลสุขภาพสาหรบั ผสู้ งู อายแุ ละครอบครัว 26

5) ผักกะเฉด ใบและลาํ ตน้ มีแคลเซียม 387 มิลลิกรมั /100 กรัม ใช้รบั ประทานเปน็ ผกั ใช้ปรงุ แกงส้ม และยาํ นอกจากนใี้ นลาํ ตน้ สด ซึ่งมีโปรตีนสูง 6.4 มลิ ลิกรมั /100 กรมั สรรพคณุ ตามตาํ รายาไทย ผักกะเฉดมี รสเย็น ช่วยบรรเทาความรอ้ น ใชด้ ับพษิ รอ้ นถอนพิษไข้ ถอนพิษยาเบอ่ื เมา บาํ รงุ กระดกู 2. สมนุ ไพรบารงุ สายตา จากความเสือ่ มถอยของรา่ งกาย ผสู้ งู อายุมกั จะพบปญั หาโรค ทางสายตามาก เช่น ตาฝูาฟาง ตาเป็น ต้อกระจก ต้อเน้อื และขาดวติ ามินหลายชนิด เน่ืองจาก รับประทานอาหารได้น้อยลง หลักการดูแลท่ัวไป คือ การรักษาตามอาการ การปูองกันที่ดีที่สุด คือ หลีกเลี่ยงการสัมผัสฝุน ควัน แสงแดดจัดโดยตรง การ รับประทานอาหารที่มีวิตามินเอสูง จะช่วยบํารุงสายตาและปูองกันการเส่ือมของสายตาก่อนวันอันควร สมนุ ไพรท่บี าํ รงุ สายตา ได้แก่ 1) กะเพรา ใบกะเพราประกอบสารอาหารที่สําคัญหลายชนิด เช่น เบต้าแคโรทีน วิตามินซี ไนอาซิน ฟอสฟอรสั เหลก็ และแคลเซียม ใบกะเพรามเี บตา้ แคโรทีนสูง 7,857 ไมโครกรัม/100 กรัม ซึ่งเบต้าแคโรทีนนี้ จะเปล่ียนเป็นวิตามินเอในรา่ งกายของคนเรา กะเพรานํามาปรุงอาหารช่วย ดับกลิ่นคาว ช่วยชูรสให้ดีขึ้น เช่น ผัดกะเพรา ตม้ ยํา ผดั ขีเ้ มา เปน็ ตน้ สรรพคุณตามตํารายาไทย กะเพราที่นิยมใช้คือกะเพราแดง รสเผ็ดร้อน ช่วยขับลม แก้ท้องอืดเฟูอ ช่วยย่อย แกอ้ าการแน่นจุกเสียด แก้ปวดท้องท้ังเดก็ และผูใ้ หญ่ 2) ขเ้ี หลก็ ใบข้เี หลก็ มเี บตา้ แคโรทีน 7,181 ไมโครกรมั /100 กรัม คนไทยนําใบและดอกข้ีเหล็กมาต้ม เพ่ือใหห้ ายรสขม นํามาแกงใส่ปลา หมู หรือหอยขม เป็นต้น สรรพคุณตามตํารายาไทย ช่วยบาํ รงุ สายตา ช่วยระบาย แก้ทอ้ งผกู ช่วยใหน้ อนหลบั ดี 3) แครอท หวั แครอทมีสารเบตา้ แคโรทีนสูง 6,994 ไมโครกรมั /100 กรัม ใชป้ รงุ อาหารได้หลายชนิด เชน่ แกงจดื ตม้ นาํ้ ซปุ ผดั พรกิ หรอื รับประทานเปน็ สลัดผัก ช่วยแต่งสีสรรอาหารให้ นา่ รับประทานยิ่งขนึ้ สรรพคุณตามตํารายาไทย ชว่ ยบาํ รงุ สายตา ขับปัสสาวะเนือ่ งจากมีปริมาณเกลอื โปแตสเซียมสูง 4) ฟักข้าว ในยอดอ่อนของฟักข้าวมีเบต้าแคโรทีนสูง 4,782 ไมโครกรัม/100 กรัม นํายอดอ่อน ใบ ออ่ น และผลออ่ นมารับประทานเปน็ ผักจ้ิม แกงแค สรรพคุณตามตํารายาไทย ใบใช้เป็นยาถอนพษิ ใช้ถอนพษิ ไขท้ ง้ั ปวงได้ 3. สมนุ ไพรชว่ ยเจรญิ อาหาร ตามตํารายาไทยสมุนไพรช่วยเจริญอาหารมักจะมีรสขม ซึ่งเรียกว่า bitter tonic และสมุนไพรท่ีมีรส เผด็ ร้อน จะชว่ ยกระตนุ้ ใหน้ าํ้ ลายและน้ํายอ่ ยอาหารออกมามาก สมุนไพรช่วยเจรญิ อาหารไดแ้ ก่ 1) สะเดา ช่อดอกและใบอ่อนมีรสขม ใช้รับประทานเป็นผักจิ้ม สะเดาน้ําปลาหวาน สรรพคุณตาม ตํารายาไทย ช่วยแก้ไข้ บํารุงธาตุ รสขมของสะเดา ช่วยเจริญอาหาร นอกจากนี้ปัจจุบันใช้เป็นยาฆ่าแมลง ในทางเกษตรกรรม 2) กระชาย ในรากและเหง้ากระชายมีน้าํ มันหอมระเหย ช่วยแตง่ กล่ิน สรรพคุณตามตํารายาไทย ช่วยขับลม แก้ท้องอืด ช่วยเจริญอาหาร 3) พรกิ ขหี้ นู พริกสว่ นใหญ่แลว้ มรี สเผด็ ซึ่งมากนอ้ ยแตกตา่ งกัน สาระสําคัญในพริกข้ีหนู คือ สารแคป ไซซนิ (capsaicin) ซ่ึงทาํ ใหพ้ รกิ มีรสเผด็ ในพรกิ มวี ติ ามนิ ซี สรรพคุณตามตาํ รายาไทย ช่วยเจริญอาหาร ขับลม ขบั เสมหะ ช่วยขบั เหงือ่ แก้ ปวดท้อง แก้อาเจียน และช่วยย่อย แต่สําหรับผู้ที่เป็นแผลในกระเพาะอาหาร ไม่ ควรรับประทานพรกิ เพราะจะทาํ ใหเ้ กิดการระคายเคอื ง ทาํ ให้กระเพาะอาหารอักเสบมากยิ่งขึ้น 4. สมนุ ไพรชว่ ยให้นอนหลบั ค่มู อื การดแู ลสุขภาพสาหรับผู้สงู อายแุ ละครอบครัว 27

สมุนไพรท่ีออกฤทธ์ิช่วยระงับประสาท และช่วยให้นอนหลับ มีหลายชนิด เช่น ขี้เหล็ก ระย่อม ชมุ เหด็ ไทย 1) ขเี้ หลก็ เป็นพชื ท่คี นไทยนาํ มาปรงุ เป็นอาหารต้ังแต่โบราณ โดยนําใบอ่อน ดอก มาต้มรินนํ้าออก เพื่อให้หายขม นาํ มาแกงขเี้ หลก็ ใส่หมู เน้ือและหอยขมเป็นตน้ ปัจจบุ ันมีรายงานการวิจัยว่าข้ีเหล็กมีสารสําคัญ ให้มีผลต่อระบบประสาทช่วนให้นอนหลับ โดยใช้ใบแห้งประมาณ 30 กรัม หรือใบสด 50 กรัม ต้มเอานํ้าด่ืม กอ่ นนอน นอกจากนใี้ บข้เี หล็กยงั มวี ิตามินเอ และซสี ูง ช่วยบํารงุ กระดูก และสายตา สรรพคุณตามตํารายาไทย ดอกตูมและใบอ่อน รสขม ชว่ ยระบาย เจริญอาหาร 2) ระยอ่ ม เปน็ พืชทคี่ นไทยและชาวอนิ เดยี ใชเ้ ปน็ ยาลดความดนั โลหิต ตามตํารายาไทยใช้รากระย่อม เป็นยาแก้ไข้ เจริญอาหาร แก้คลุ้มคลั่ง ลดความดันโลหิต และช่วยให้นอนหลับ จากข้อมูลทางวิทยาศาสต ร์ พบว่าในรากระย่อมมีสารแอลคาลอยด์หลายชนิด ส่วนฤทธ์ิท่ีช่วยลดระดับความดันโลหิต ได้แก่ เรเซอปีน (seserpine) วธิ ใี ช้ ใช้ผงรากแห้งบดละเอียด รบั ประทานวนั ละ 100 มิลลิกรัม กอ่ นนอน 4. สมนุ ไพรเสรมิ สรรถภาพทางเพศ บํารงุ กาํ ลัง ในผ้สู ูงอายุดว้ ยสมรรถภาพทางกาย เสื่อมถอยการเสรมิ สมรรถภาพทางเพศนั้นเป็นเพียง การดูแลด้านจิตใจ ส่วนทางร่างกายน้ัน ยังไม่มีงานวิจัยระบุชัดเจนว่ามีสมุนไพรชนิดใดกระตุ้นและเสริม สมรรถภาพทางเพศ การดูแลร่างกายให้แข็งแรง จิตใจเข้มแข็ง โดยการออกกําลังกาย รับประทานอาหารที่มี ประโยชน์ พักผอ่ นให้เพียงพอ ทาํ ใจให้สงบ ใชช้ วี ติ ชอบตามแนวพทุ ธศาสนา ปัญหาสมรรถภาพทางเพศเกิดได้ ในวยั สงู อายุ ดงั น้นั คนเราเมื่อเขา้ ใจธรรมชาตขิ องรา่ งกายมนษุ ยแ์ ลว้ การนาํ สมุนไพรมาใช้เปน็ ส่วนหน่ึงเท่าน้ัน สมุนไพรที่มีบันทึกตามตํารายาไทย มีหลายชนิด เช่น กวาวเครือ กระเทียม ดีปลี กระชาย มะเขือแจ้เครื อ กําลังช้างสาร โดไ่ ม่รลู้ ม้ ตะโกนา ม้ากระทบื โรง สะคา้ นแดง โสมไทย สันพร้าหอม เห็ดโคน เห็ดฟาง กําลังเสือ โครง่ ว่านนกคุ่ม สังกรณี หนาดคาํ เป็นตน้ การออกกาํ ลงั กาย รับประทานอาหารที่มปี ระโยชน์ การทาํ จิตใจให้แจ่มใส เป็นการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง ท่ีสุด สมุนไพรท่ีกล่าวถึงขา้ งตน้ เปน็ เพยี งส่วนหนึ่งในการบํารุงธาตุ บํารุงกําลงั ตามตาํ ราการแพทย์แผนไทยท่ีมี บันทึกไว้ ถึงอย่างไรสภาพร่างกายท่ีเสื่อมถอย ร่วงโรยตามวัย ยาใด จักช่วยท่านได้ถ้าจิตใจของท่านไม่สงบ ดังน้ันตามแนวพุทธศาสนา การทําสมาธิ ภาวนา จะชว่ ยใหจ้ ติ ใจเปน็ สุข ร่างกายก็จะสุขตามไปด้วยเชน่ กัน คมู่ ือการดูแลสุขภาพสาหรบั ผู้สงู อายุและครอบครัว 28


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook