วชิ า ชวี ติ กับสงั คมไทย 3000 -1501 (Thai Life and Society) จดุ ประสงค์รายวิชา 1. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสังคม ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย หลักธรรมาภิบาล ในองค์กร หลักธรรมในการพัฒนางาน พัฒนาคนและสังคม สันติวัฒนธรรม และความร่วมมือกับประเทศ ต่างๆในสังคม โลก 2. วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสังคมและวัฒนธรรมไทย โดยประยุกต์ใช้ ศาสน ธรรมในการพฒั นางาน พฒั นาคนและสงั คม การใช้หลกั สนั ติวธิ ีในสงั คมไทยและการอยรู่ ว่ มกนั อย่าง สนั ตสิ ุข 3. ประยุกต์ใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการประกอบอาชีพและการดำเนนิ ชีวติ 4. ตระหนักในการเป็นพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เห็นคุณค่าของ ศิลปวฒั นธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับสังคม ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย หลักธรรมาภิบาล หลักธรรมในการพัฒนา คนและสงั คม สันตวิ ฒั นธรรม ความรว่ มมอื กบั ประเทศตา่ งๆ และหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสังคมและวัฒนธรรมไทยกับสังคมโลก บนพื้นฐาน ของศาสนธรรม 3. ประยุกต์ใชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในอาชีพและการดำเนินชวี ติ 4. ปฏิบตั ิตนเป็นพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข 5. สบื สานศิลปวฒั นธรรม ภมู ิปัญญา และมคี วามภาคภูมิใจในความเป็นไทย คำอธบิ ายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับสงั คม การจัดระเบียบทางสังคม ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย หลักธรรมมาภิบาล ใน องค์กร หลกั ธรรมเพ่ือพฒั นางาน พฒั นาคนและสังคม สนั ตวิ ัฒนธรรม ความเปน็ พลเมืองดี ความร่วมมือกับ ประเทศ ตา่ งๆ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและการประยุกต์ใชใ้ นการดำเนินชวี ติ
หน่วยท่ี 1 มนษุ ย์กบั สังคม ความหมายของสังคม คำว่า \"สังคม\" นนั้ ไดม้ ผี ู้ใหน้ ิยามไว้ตา่ ง ๆ มากมาย แต่พอสรุปความหมายได้ดังนี้ สังคมหมายถึง กลุ่ม คนมากกว่าสองคนขึ้นไป ดำรงชีวิตอยูร่ ่วมกันเป็นเวลายาวนานในขอบเขตหรือ พื้นที่กำหนด ณ ที่ใดที่หนึ่ง มี การติดต่อสัมพันธ์กัน ประกอบไปด้วยสมาชิกเป็นคนทุกเพศทุกวัย ปฏิบัติตนต่อผู้อื่น ภายใต้กฎเกณฑ์หรือ ระเบียบเดยี วกัน โดยมีวัฒนธรรม ระเบียบแบบแผนในการดำเนินชีวิต เป็นของตนเอง ปฏิบัติหน้าที่และแสดง บทบาทเพอื่ สงั คมดำรงความเป็นปกึ แผน่ ม่ันคงถาวร และเจริญกา้ วหนา้ องคป์ ระกอบของสงั คม การที่คนจะมารวมกันเพื่อทำกิจกรรม หรือดำเนินชีวิตภายใต้กฎเกณฑ์ เดียวกันนั้น ต้องมี องคป์ ระกอบและองค์ประกอบน้ันคือ 1. ประชากรจำนวนหนง่ึ ทั้งเพศหญิงและชาย 2. พื้นทีห่ รือดินแดนท่มี ีอานาเขตแน่นอน 3. ความสัมพันธข์ องผคู้ นมีตอ่ กัน 4. การกระทำที่ต่อเนอื่ งจนเป็นกิจวัตร แมว้ า่ จะมหี น้าทีต่ ่อสงั คมแตกต่างกัน 5. การประพฤตแิ ละปฏบิ ัติตนของสมาชิกภายใตก้ รอบของสถาบันหรือวัฒนธรรมเดยี วกัน ความสำคญั ของสงั คม มนุษยจ์ ำเป็นต้องอยู่กนั เป็นกลุ่ม มกี ารพ่ึงพาอาศัยซ่ึงกนั และกนั การเป็นมนุษย์ที่สมบรูณ์น้ันมิได้มีมา แตก่ ำเนิด แตเ่ กิด จากการท่มี นุษย์ไดเ้ ปน็ สมาชิกของสังคม ทำใหม้ นษุ ยเ์ รยี นร้แู บบแผนต่าง ๆ โดยเฉพาะสังคม มนุษย์คือ ครอบครัว ความรู้จากแบบแผนมนุษย์ รุ่นก่อนจากสภาพแวดล้อมครอบครัว จากสถาบันที่ตนได้ สัมผัส สง่ิ เหล่าน้ี ล้วนมีอิทธพิ ล และมสี ว่ นทำใหม้ นษุ ยท์ ่ีสมบรณู ส์ ามารถยงั ชีพอยู่สงั คมได้อยา่ งม่นั คง ความต้องการขนั้ พื้นฐานของมนุษย์ สาเหตุท่ีมนุษย์ตอ้ งการรว่ มกันในสงั คม มดี ังนี้
1. เพื่อสนองความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ ธรรมชาติของมนุษย์นั้นต้องการหลายอย่าง แต่พื้นฐานจริงๆ ก็ คือปัจจัยสี่ ได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค นอกจากวัตถุนั้นแลว้ มนุษย์ต้องการความ รกั ความอบอุ่นความเขา้ ใจ ความปลอดภัย ส่งิ เหล่านีล้ ว้ นเปน็ สิ่งท่ีพงึ่ พาอาศยั กนั และกนั 2. เพื่อเป็นที่ยอมรับของสังคม การเป็นที่ยอมรับทำให้มนุษย์เกิดความมั่นใจ ความภูมิใจ ความเข้าใจที่จะทำ กจิ กรรม ใหก้ บั สงั คมทำใหเ้ กดิ ความสุข แตถ่ ้าไม่ยอมรับ ธรรมชาตขิ องมนุษย์จะหลีกเล่ียง จากสังคมน้ัน ทำให้ เกิดทุกข์ ไม่ประสบความสำเรจ็ ในชีวิตและไมม่ ีความสุขท่ีจะอยูใ่ นสงั คมน้ันๆ 3. เพอ่ื สรา้ งความเจริญก้าวหน้าให้กบั ตนเองและกลุ่ม มนุษย์จะรู้สึกวา่ มีความปลอดภัยมีความเอ้ืออาทรต่อกัน เมื่อมีการทำกิจกรรมรว่ มกนั และเกิดความเต็มใจ ก็จะช่วยกันสร้างสรรค์ผลงานเมื่อผลงานนั้นเกดิ ความสำเรจ็ จะกลายเปน็ ความภาคภมู ิใจ สังคมก็จะเจริญกว้าหน้า หนา้ ทข่ี องสงั คม สังคมประกอบด้วยมนุษย์ทุกเพศทุกวัย มีความรับผิดชอบ อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์เดียวกันดังนั้น หน้าท่ี ของคนในสงั คมที่จะตามมามีดังน้ี 1. ผลิตสมาชกิ ใหม่ ธำรงไวซ้ ึง่ หนา้ ที่ทางชีวะ คอื การใหก้ ำเนิดลกุ หลานเพื่อทดแทนสมาชกิ ใหม่ 2. อบรมสมาชิกใหม่ ให้สามารถเรียนรู้และปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคมดำรงอยู่และความ เจรญิ ก้าวหนา้ ของสังคม 3. รกั ษากฎระเบยี บของสังคม ปกปอ้ งคุม้ ครองคนดี รักษากฎหมาย เพอื่ ความสงบสขุ ของสงั คม 4. ส่งเสริมเศรษฐกิจให้เจริญก้าวหน้า เช่น ผลิต จำหน่าย แจกจ่ายสิ้นค้าและบริการให้ขวัญ กำลังใจ ร่วมกลุ่มช่วยกันทำ แบ่งงานตามความชำนาญ ก่อให้เกิดกำลังใจ ทำให้สังคมแข็งแรง เศรษฐกิจ เขม้ แข็ง คนในสังคมกินดีอยู่ดกี ็มีความสุข ความหมายของโครงสร้างสงั คม (Social Struction) โครงสร้างสังคม (Social Interaction) คือ ความสัมพันธ์ของกลุ่มบุคคลที่อยู่ร่วมกันในสังคม โดยมี องค์ประกอบทาง สังคมที่ทำให้สังคมดำรงอยู่ได้ ดำเนินไปอย่างมีระเบียบ อาจออกมาในรูปของความร่วมมือ ความขัดแย้ง การแข่งขัน อย่างไรก็ตาม ความสัมพันธ์ของกลุ่มคนน้ันจะมีเครื่องยึดเหนี่ยว ซึ่งเป็นบรรทัดฐาน ใหค้ นมาอยู่ รวมกันเป็นสังคมอย่าง สนั ติสขุ ได้ ลกั ษณะโครงสร้างทางสงั คม
โครงสรา้ งทางสงั คม มีลักษณะ 4 ประการ คอื 1. มีปฎิสัมพันธ์(Social Interaction) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก มีบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป ติดต่อ สัมพันธ์กัน อาจเป็นกลุ่มปฐมภูมิ ได้แก่ ครอบครัว เพื่อน หรือกลุ่มทุติยภูมิ ที่มีการติดต่อรวมกั นโดย หนา้ ที่ การงาน เช่น การประชมุ การสนทนากัน การคบหาสมาคมการขัดแย้ง หรือการทำกิจกรรมร่วมกนั 2. มีกฎเกณฑ์ ข้อบงั คับ หรอื บรรทดั ฐานทางสังคม หมายถงึ ระเบียบแบบแผนขอ้ บังคับ เพือ่ ให้ทุกคน ยึดถอื ปฏิบัติ รว่ มกันทำใหส้ งั คมดำรงอยู่ ดำเนินไอยา่ งเป็นระเบยี บ เชน่ การปฏิบัตริ ะหวา่ งบิดามารดากบั บุตร หรือ ระหว่างครูกับศษิ ย์เปน็ ตน้ 3. มเี ป้าหมายหรอื วัตถุประสงค์ทีแ่ นน่ นอน ซึ่งมีอยู่ 2 อยา่ ง ดังน้ี - เป้าหมายเฉพาะตัว หรือเป้าหมายของสมาชิกแต่ละคน เช่น ต้องการความรักความสำเร็จ ความกว้าวหนา้ การมี ฐานะดี ครอบครัวอบอ่นุ - เป้าหมายรวม เช่น ต้องการใหส้ งั คมที่ตนอยูม่ ชี ือ่ เสียง มีความปลอดภยั สงบสขุ มคี วามเจริญ 4. มลี กั ษณะเคลื่อนไหวเปล่ียนแปลงได้ตามยุคสมยั สังคมเปน็ ส่ิงท่มี นษุ ย์สร้างข้ึนจงึ อาจเปล่ียนแปลง ได้มีการพัฒนา เพื่อให้โครงสรา้ งทีด่ ีกว่าเข้าทดแทนโครงสร้างทีล่ ้าสมัย ไม่ว่าจะเป็นความสัมพันธ์ บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ ม จำนวนสมาชิก แม้ระเบยี บกฎเกณฑบ์ างอย่างเพ่ือความเหมาะสม องคป์ ระกอบของโครงสร้างทางสงั คม โครงสร้างทางสังคมจะมั่นคงเพียงใดย่อมขน้ึ อยู่กบั องค์ประกอบของสังคมที่สำคัญ 2 ประการดังน้ี 1. การจดั การระเบยี บสงั คม 2. สถาบันทางสังคม การจดั ระเบยี บสงั คม (Social Organization) สมาชิกของสังคมมีความแตกต่างกัน ทั้งแนวความคิด และความต้องการ การจัดระเบียบสังคมจึงมี ความจำเป็น เพื่อเป็น ระเบียบสงบสุข จึงต้องมีกระบวนการจัดระเบียบในบทบาทและหน้าที่ของบุคคล 2 ประการคอื 1. บรรทัดฐานทางสังคม (Social Norms) หมายถึง แบบพฤติกรรมกฎเกณฑ์ หรือคตินิยมที่สังคม กำหนดไวเ้ ป็น มาตรฐานในการประพฤตปิ ฏิบตั ิท่สี ังคมยอมรับวา่ ดีและถกู ต้องไดแ้ ก่ 1.1 วิถีชาวบ้านหรือวิถีประชา (Folk Ways) หมายถึง แนวทางการปฏิบัติที่บุคคลปฏิบัติจน เกิดความเคยชิน ไม่มีกฎหมายบังคับ ถ้าไม่ปฏิบัติกไ็ ม่มีบทลงโทษ แต่อาจถูกตำหนิติเตียน เช่นการใส่ชุดดำไป
งานแต่งาน หรือการเสีย มารยาทในสังคมเช่นไม่เข้าแถวในการซื้อตั๋วดูภาพยนต์ปิดเสียงโทรศัพท์ในการ ประชุมสมั มนาหรือในหอ้ งเรียนเปน็ ตน้ 1.2 จารีตหรือกฎศีลธรรม (Mores) คือ ข้อห้ามในการกระทำบางอย่างของสังคมซึ่งมีเรื่องกฎ ศลี ธรรมเกย่ี วกบั ความดี ความชั่ว เขา้ มาเกีย่ วขอ้ งดว้ ยหากผู้ใดระเมิดจะได้รบั การตอ่ ต้านรุน่ แรงกว่า วถิ ีชาวบา้ น เชน่ ทอดท้งิ ไมเ่ ล้ียงดูพอ่ -แม่ ยามแก่เฒา่ ไม่เลย้ี งดบู ุตร เปน็ ตน้ 1.3 กฎหมาย (Laws) หมายถึง กฎข้อบังคับความประพฤติของบุคคลในสังคมผู้ใดระเมิดไม่ ปฏิบัติมีบทลงโทษ ตาม กฎหมาย ที่กำหนดไว้ เช่น การฆ่าคนตาย การทำร้ายร่างกาย หรือการทิ้งขยะในท่ี สาธารณะเปน็ ตน้ 2. สถานภาพและบทบาททางสงั คม 2.1 สถานภาพ หมายถึง ฐานะ หรือตำแหน่งที่ได้จากการเปน็ สมาชกิ ของสังคมสถานภาพคือ ตัวกำหนดบทบาทมี 2 อยา่ งคอื - สถานภาพท่ีตดิ ตัวมาแตก่ ำเนิด (Aseribed Status) เช่นเพศ อายุ เชือ้ ชาติ บุตร ธดิ า มารดา - สถานภาพทีส่ ังคม กำหนด เชน่ ปู่ ยา่ ตา ยาย เป็นต้น - สถานภาพท่ีไดม้ าจากความสามารถ (Achieved Status) ได้แก่สติปัญญาของตนเอง จากการศึกษาเลา่ เรยี น จาก การทำงาน เช่น กรรมกร แพทย์ วศิ วกร ครู พยาบาล ทนายความ ตำรวจ เป็นต้น 2.2 บทบาททางสงั คม หมายถึง การกระทำที่แสดงตามสถานภาพเช่น ครอู บรมสงั่ สอนใหค้ วามรแู้ ก่นกั เรียน ตำรวจรกั ษาความสงบ จบั ผ้กู ระทำผิด แพทยใ์ ห้การรักษาผเู้ จบ็ ปว่ ย พ่อแม่ เลี้ยงดู ใหก้ ารอบรมสง่ั สอนบุตร สถาบนั ทางสังคม (Institution) หมายถึง แบบแผน พฤติกรรมที่เป็นมาตรฐานของสังคมทีม่ ีเพือ่ แก้ปัญหาพื้นฐานของสังคม และมีหน้าที่ทำให้ สังคม คงสภาพอยู่ได้ สถาบันที่สำคญั ประกอบดว้ ย
1. สถาบันครอบครัว เป็นสถาบันพื้นฐานที่มีบทบาทต่อสังคมมากเพราะมีหน้าทีใ่ นการอบรม สั่งสอน เลี้ยงดูสมาชิกใหม่ ให้เป็นคนดีมีคุณภาพของสังคม ซึ่ง เกิดจากการสมรสของชายหญิง ที่ตกลงจะมีชีวิตคู่ ร่วมกนั เมอ่ื ใหก้ ำเนิดบุตรหน้าท่ีของบิดาและมารดา จงึ มีความสำคญั มาก 2. สถาบันการศึกษา เป็นสถาบันที่สนองความต้องการของสังคมด้านการถ่ายทอดความรู้ทักษะ วิชาการ และวิชาชพี เพ่ือให้สมาชิกมคี วามรู้ ความสมารถ วฒั นธรรม คุณธรรม 3. สถาบันการเมืองการปกครอง เป็นแบบอย่างของการคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับการรักษา ระเบียบ ความสงบ เรียบร้อยของสงั คม พทิ ักษค์ วามถกู ต้อง รักษาอธปิ ไตยของชาติ ทำเนยี บรฐั บาล ทท่ี ำการของนายกรัฐมนตรี 4. สถาบันเศรษฐกจิ ปฏิบตั ิหน้าทเี่ พอ่ื สนองความต้องการของสังคมในดา้ นการผลิต การกระจาย การ แลกเปล่ียน สิน้ ค้าและบริการแก่สมาชกิ ในสังคม ตลาดหุ้นและการลงทุน 5. สถาบันศาสนา ปฏิบัติหน้าที่ทางพิธีกรรม อบรมสั่งสอนหลักธรรม เพื่อสนองความต้องการของ สังคมในเรื่องความเชื่อ ความศรัทธาของมนุษย์ ช่วยควบคุมพฤติกรรมของบุคคลในสังคม ทั้งกาย วาจาใจ ให้ อยใู่ นระเบยี บ เพือ่ ใหเ้ กดิ สนั ติสุข วดั โบสถ์ เทวสถาน มสั ยดิ 6. สถาบันสือ่ สารมวลชน สนองความต้องการของสังคมในเร่ืองการตดิ ต่อสื่อสาร ทำให้บุคคลในสังคม ทันเหตุการณ์ ในโลกยุคปัจจบุ นั ทนั คน ไมต่ กข่าว หนังสือพิมพ์ สถาบนั สื่อมวลชนแขนงหน่งึ 7. สถาบนั นันทนาการ สนองความต้องการสมาชกิ ในสังคมในด้านการพักผ่อนหย่อนใจการออกกำลัง กาย การใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ สง่ เสรมิ สุขภาพกายและสุขภาพจิตใจใหม้ คี วามแขง็ แรงสมบรณู ์ หนา้ ทขี่ องสถาบันทางสงั คม 1. เพิม่ จำนวนสมาชิกให้สังคม ชดเชยสมาชกิ ที่ขาดไป เลย้ี งดูให้มสี ขุ ภาพพลานามัยสมบรณู ์ 2. ให้การศึกษา ความรู้ทางด้านวิชาการ มีความชำนาญด้านวิชาชีพ เพื่อการดำรงชีวิตให้สังคม อย่างสงบสุข
3. สนับสนนุ ความเป็นระเบยี บเรยี บร้อย และความมั่นคงของสงั คมให้เจรญิ ก้าวหนา้ 4. ผลติ สนิ ค้าและบริการท่จี ำเป็นตอ่ การดำรงชีพ ให้ประชากรมกี ารกินดอี ยู่ดี 5. ส่งเสริมสุขภาพอนามยั ของคนในสงั คม ให้มีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตทีส่ มบรูณ์ 6. ให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกบั การส่ือสาร สร้างความเขา้ ใจซ่ึงกันและกัน 7. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกกำลังกาย การพักผ่อนหย่อนใจไดเ้ หมาะสมกับวัยเป็นการ ใชเ้ วลาว่าง ใหเ้ ป็นประโยชน์ มผี ลต่อสขุ ภาพอนามยั ทด่ี ี
Search
Read the Text Version
- 1 - 7
Pages: