Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 10 เทคโนโลยีแห่งโลกอนาคต ที่จะมาเปลี่ยนแปลงโลกของเราให้ดีขึ้น

10 เทคโนโลยีแห่งโลกอนาคต ที่จะมาเปลี่ยนแปลงโลกของเราให้ดีขึ้น

Published by Wa Nonglak, 2021-01-24 08:30:55

Description: 10 เทคโนโลยีแห่งโลกอนาคต ที่จะมาเปลี่ยนแปลงโลกของเราให้ดีขึ้น

Search

Read the Text Version

1 10 เทคโนโลยแี ห่งโลกอนาคต ท่ีจะมาเปล่ียนแปลงโลกของเราใหด้ ีข้ึน รวบรวมโดย นางสาว นงลักษณ์ บุตรโกบ รหสั นกั ศึกษา 6330250005 งานชิ้นน้ีเปน็ สวนหนึ่งของกจิ กรรมการเรยี นในรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การจัดการอาชีพ ระดบั ปวส. 1 สาขาการจดั การทว่ั

2

3 1. เครอื ขา่ ยมอื ถอื 5G/6G (Mobile Network 5G/6G) ระบบ 4G ท่ีใชก้ นั ในปัจจุบนั ก็สามารถทาความเร็วในการรับส่งขอ้ มลู สูงสุดเพ่มิ ข้นึ จาก 3G อีกราว 50 เทา่ และ สาหรับ 5G จะมีการรับส่งขอ้ มลู สูงสุดเพิ่มข้ึนไปอีก 20 เท่าจาก 4G แต่ที่พิเศษคอื สามารถใชก้ ารไดแ้ มแ้ ตข่ ณะที่ เคลื่อนที่เร็วถึง 500 กิโลเมตร/ชว่ั โมง สามารถส่งขอ้ มลู ต่อพ้นื ท่ีเพิม่ ข้นึ อีก 100 เท่า ดงั น้นั 5G จะเป็น แพลตฟอร์ม (Platform) ที่เช่ือมโยงเทคโนโลยอี ่ืนๆ เขา้ ไวด้ ว้ ยกนั เช่น AI, Big Data, Cloud และ IoT เป็นตน้

4 2. การคำนวณและวศิ วกรรมควอนตมั (Quantum Computing & Engineering) เทคโนโลยีควอนตัมจะเข้ามามบี ทบาททำใหภ้ าพท่ีเราจนิ ตนาการไว้เกดิ ขึน้ ไดจ้ รงิ เชน่ คอมพิวเตอรส์ ามารถเพม่ิ ประสิทธภิ าพให้ดี ข้นึ หลายพนั เท่า สามารถถอดรหสั ดีเอน็ เอของส่งิ มีชวี ิตที่ยาวมากเปน็ พันๆ ลา้ นหน่วย สามารถสรา้ งแบบจำลองเพื่อค้นหายาใหมๆ่ ที่ใชไ้ ด้อยา่ งแมน่ ยำกับผูป้ ว่ ย ใช้ตรวจวินจิ ฉยั โรคในการแพทยไ์ ดอ้ ยา่ งรวดเร็วไม่ต้องรอผลแล็บหลายวนั

5 3. เอไอแห่งอนาคต (Future AI) ระบบปัญญาประดิษฐแ์ ห่งอนาคตหรือ Future Artificial Intelligence จะมสี ่วนท่เี ป็นหวั ใจหรือสมองของระบบไดแ้ ก่ เทคโนโลยกี ารเรียนรูข้ องเครอ่ื ง หรอื Machine Learning ดว้ ยเครอื ขา่ ยประสาทเทียม ท่เี รยี กวา่ Deep Neural Network ซง่ึ สรา้ งโดยเลียนแบบเครือขา่ ยเซลลป์ ระสาทในสมองของมนษุ ย์ ความสามารถของ AI ท่เี พ่มิ ขึน้

6 4. การเดินทางแบบไรร้ อยตอ่ (Mobility-as-a-Service, Maas) Mobility-as-a-Service หรอื แมส (Maas) มกี ารเตบิ โตแบบกา้ วกระโดดของเทคโนโลยีนใี้ นปัจจบุ นั ตวั อย่างผใู้ หบ้ รกิ ารแมส รายใหญ่ 2 รายคอื อเู บอร์ (Uber) ของสหรฐั ฯ กบั ตตี๊ ี๊ (DiDi) ของจีน ขอ้ มลู ปี พ.ศ.2560 ระบวุ ่ามลู ค่าของบรษิ ัทตตี๊ อี๊ ยทู่ ่รี าว 56,000 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ ขณะท่อี เู บอรม์ ากกวา่ คือ 62,000 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ ท่นี า่ สนใจคือ ตตี๊ ี๊ เป็นบรษิ ทั ท่โี ตอยา่ งกา้ ว กระโดดจากการเทคโอเวอรบ์ รษิ ทั อเู บอรใ์ นจนี เม่ือปี พ.ศ.2559

7 5. เซลลแ์ สงอาทติ ยเ์ พอรอฟสไกต์ (Perovskite Solar Cell) เซลลแ์ สงอาทติ ยแ์ บบเพอรอฟสไกต์ มโี ครงสรา้ งผลกึ คลา้ ยแรแ่ คลเซียมไทเทเนยี มออกไซด์ (CaTiO3) หรอื แรเ่ พอรอฟสไกต์ ท่ี ดดู ซบั แสงและเปลยี่ นแสงอาทติ ยเ์ ป็นพลงั งานไฟฟ้าไดด้ ี ยงั สามารถขนึ้ รูปไดใ้ นลกั ษณะสารละลายคลา้ ยกบั นา้ หมกึ พมิ พ์ เพ่อื นาไปพมิ พบ์ นแผ่นฟิลม์ หรอื พนื้ ผิวต่างๆ โดยมตี น้ ทนุ การผลติ ต่า คือ 30-50% ของเซลลแ์ สงอาทติ ยแ์ บบซลิ คิ อน

8 6. แบตเตอร่ลี ิเทยี มยคุ หนา้ (Next Generation Lithium Ion Batteries) ในปี พ.ศ.2561 มลู คา่ ตลาดของแบตเตอรล่ี ิเทยี มไอออน สาหรบั ยานยนตไ์ ฟฟา้ และอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ ื่นๆ อย่ทู ่ี 36,000 ลา้ นเหรียญสหรฐั ฯ เติบโตปีละ 13% โดยจีนจะเป็นผผู้ ลิตรายใหญ่ท่สี ดุ แมจ้ ะยงั ไม่มีแบตเตอรที่ ่มี ีคณุ สมบตั คิ รบทกุ อยา่ ง แตก่ ็ มีแบตเตอร่ที ่นี า่ สนใจหลายแบบ

9 7. โครงเสรมิ ภายนอกกาย (Exoskeleton) เป็นเทคโนโลยที ่ีช่วยใหม้ นษุ ยม์ พี ละกาลงั เสรมิ และยงั ปอ้ งกนั อนั ตรายบางอยา่ งต่อรา่ งกายได้ ซง่ึ มกี ารนา Exoskeleton ใช้ ช่วยเพ่ิมความสามารถทาภารกิจต่างๆ ใชใ้ นทางทหาร ใชก้ ภู้ ยั ใชช้ ว่ ยเรอ่ื งฝึกฝนและสรา้ งสมรรถภาพของนกั กีฬาได้ และ ในทางการแพทยก์ ็ชว่ ยเรง่ กระบวนการฟื้นฟสู มรรถภาพรา่ งกายของผปู้ ่วย ยกระดบั คณุ ภาพชีวติ คนพิการหรือผสู้ งู อายุ โดยท่วั ไปไดอ้ ีกดว้ ย

10 8. ไฟเบอรส์ ารพดั ประโยชนจ์ ากจลุ นิ ทรีย์ (Microbial Multifunctional Fiber) มจี ลุ นิ ทรยี ห์ ลายชนดิ ท่ีสามารถสรา้ งเซลลโู ลส แตเ่ ซลลโู ลสในจลุ นิ ทรยี ต์ ่างจากเซลลโู ลสในพืชตรงท่สี ามารถทาออกมาให้ บรสิ ทุ ธิ์ไดง้ ่ายกวา่ แขง็ แรงกวา่ ขนึ้ รูปไดง้ า่ ยและยงั อมุ้ นา้ ไดด้ ดี ว้ ย ตวั อยา่ งจลุ ินทรยี ท์ ่ผี ลติ เซลลโู ลสได้ ไดแ้ ก่ พวก Acetobacter และ Agrobacteria โดยเซลลโู ลสท่จี ลุ นิ ทรยี เ์ หลา่ นสี้ ามารถนามาประยกุ ตใ์ ชป้ ระโยชนไ์ ดห้ ลายรูปแบบ ทง้ั เป็น สารตงั้ ตน้ ทาอาหาร เชน่ เติมในวนุ้ มะพรา้ ว เตา้ หู ไอศกรมี หรอื โปรตีนเกษตร

11 9. กายจาลองทดสอบยา (Companion Diagnostics) ในปี พ.ศ.2558 สวทช. เคยกลา่ วถึงเทคโลยีการเพาะกลมุ่ เซลลส์ มองท่เี รียกวา่ Brain Organoid ท่มี ขี นาดและรูปรา่ งคลา้ ยกบั สมองของตวั ออ่ นในครรภอ์ ายุ 5 สปั ดาห์ มขี นาดเทา่ กอ้ นยางลบดนิ สอ และสง่ ถา่ ยกระแสประสาทไดจ้ รงิ จงึ ใชเ้ ป็นโมเดลใน การทดลองตา่ งๆ แกป้ ัญหาจรยิ ธรรมเร่ืองการใชม้ นษุ ยท์ ดลองยาโดยตรง ไมเ่ พียงแตส่ มองจ๋ิว ยงั มอี วยั วะอืน่ ๆ อีกหลายอย่างก็ เพาะเลยี้ งไดเ้ ชน่ กนั เรยี กรวมๆ วา่ เป็น ออรแ์ กนอยด์ (Organoid) ท่แี ปลวา่ \"อวยั วะเล็กๆ\" ถือเป็นหน่งึ ในเคร่อื งมอื ทใ่ี ชต้ รวจ วเิ คราะหท์ ดสอบท่สี าคญั ได้ เชน่ ตรวจความเป็นพษิ และศกึ ษาปฏสิ มั พนั ธข์ องเซลลก์ บั สารออกฤทธิ์ ความกา้ วหนา้ ครงั้ ใหญ่ เกิดขนึ้ จากระบบท่เี ป็นแพลตฟอรม์ เช่ือมตอ่ ออแกนอยดข์ องอวยั วะตา่ งๆ เขา้ ดว้ ยกนั ผ่านระบบของเหลว จนไดผ้ ลลพั ธค์ ลา้ ย เป็นรา่ งกายเทียมขนาดจ๋ิว หรอื เป็น \"กายจาลอง\" ท่นี ามาใชท้ ดสอบยาได้

12 10. วคั ซนี มะเรง็ เฉพาะบคุ คล (Personalized Cancer Vaccine) การรกั ษาโรคมะเรง็ โดยการฉายรงั สี การใชย้ าเคมีบาบดั เป็นการรกั ษาแบบเหมารวม ไมจ่ าเพาะกบั บคุ คล แต่ละคนจงึ ตอบสนองกบั ยาหรือรงั สแี ตกต่างกนั ไป นอกจากนมี้ กั เกดิ อาการขา้ งเคยี งรุนแรง และบางครงั้ ผปู้ ่วยท่หี ายแลว้ ก็อาจเป็นมะเรง็ เดิมไดอ้ กี

13

14

15

16