Unix คืออะไร Unix คืออะไร ? ยูนิกซจ์ ดั อยูใ่ นกลุม่ ระบบปฏิบตั ิการ (OS) แบบ mutitasking หรือ multiuser ซ่ึงถือกาเนิดท่ีสถาบนั Bell Labs วตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีพฒั นาข้ึนมาเพ่ือเป็น platform สาหรบั การเขียน software เพ่ือใชร้ ันในระบบอ่ืนๆ แตล่ ะก็ มีการขยายขอบเขตออกไปจนในท่ีสุดกลายเป็นระบบปฏิบตั ิการ ซ่ึงลกั ษณะของ unix คือใชง้ านดว้ ย text และเก็บขอ้ มูลเป็นลาดบั ชน้ั มีเคร่ืองมือ command ใหใ้ ชง้ านมากมาย และสามารถ ทางานรวมกนั โดยใช้ pipe (|) เป็นตวั เช่ือม
ระบบของ Unix ถูกบริหารจดั การภายใตโ้ ปรแกรมหลกั คือ Kernel เพ่ือใชใ้ นการ start/stop โปรแกรมอ่ืนๆ และใชใ้ นการจดั การ file system ในระดบั ลา่ ง อีกทง้ั ยงั คอยจดั การ resource ท่ีมีอยูใ่ ห้ program อ่ืนๆใชง้ านไดโ้ ดยไมช่ นกนั
ประวตั ิของ Unix หลงั จากการถือกาเนิดข้ึนของ “Multics” ซ่ึงเป็น operating system ในชว่ ง 1960 ท่ี Bell Labs ประสบปัญหามากมาย ทาใหท้ าง Bell Labs ถอด project น้ีออก และตดั สินใจทาใหมโ่ ดยวางขอบเขตใหเ้ ล็กลงตง้ั ช่ือใหมว่ า่ “Unics” (Uniplexed Information and Computing System) แตเ่ น่ืองจากเสียงพอ้ งกบั “Multics” ภายหลงั จึงเรียกวา่ “Unix”
ในปี 1972 ไดม้ ีการเขียน Unix ใหมด่ ว้ ยภาษา C ซ่ึงแตเ่ ดิมเป็น assembly ใหเ้ ป็น ภาษาชนั้ สูงแทน (ภาษา C) ผลคือมนั ทาให้ software ทางานไดไ้ วข้ึน และก็เขียน code ไดส้ นั้ ลง หลงั จากนั้นชว่ ง 1980 ก็เกิดการขยายตวั ในตลาดอยา่ งมากทาใหเ้ กิด Unix ข้ึนหลายชนิด เชน่ HP-UX, Solaris, AIX และในปี 2000 ทาง Apple เองก็นามาใชเ้ ป็นพ้ืนฐานของระบบปฏิบตั ิการ Mac OS X Unix จึงถูกออกแบบใหใ้ ชง้ านกบั ระบบ server, workstations และ อุปกรณ์ mobile
ระบบปฏิบตั ิการ UNIX UNIX เป็นระบบปฏิบตั ิการ ท่ีเร่ิมตน้ ใน Bell Labs เม่ือปี 1969 ในฐานะระบบ Interactive time -sharing ซ่ึง Ken Thompson และ Demiss Ritchie ไดร้ ับการพิจารณาวา่ เป็นผูค้ ิดคน้ UNIX ในปี 1974 Unix เป็นระบบปฏิบตั ิการแรกท่ี เขียนดว้ ยภาษา C และเป็น freeware ซ่ึงมีสว่ นขยายและความคิดใหมใ่ นเวอรช์ นั ท่ีหลากหลาย จากบริษัทตา่ ง ๆ มหาวิทยาลยั และเอกชน ทาให้ Unix กลายเป็นระบบเปิด หรือระบบปฏิบตั ิการมาตรฐานแรกท่ีใหบ้ ุคคลทว่ั ไปสามารถปรบั ปรุงได้ สว่ นประกอบของภาษา C และ shell interface ของ UNIX อยูภ่ ายใตม้ าตรฐาน Portable Operating System Interface ซ่ึงอุปถมั ภโ์ ดย Instituted of Electrical and Electronics Engineering ในสว่ นอินเตอรเ์ ฟซของ POSIX ไดม้ ีการระบุ X/Open Programming Guide 4.2 (รูจ้ กั กนั ในช่ือ \"Single UNIX Specification\" และ UNIX 95\") เวอรช์ นั 2 ของ Single UNIX Specification เรียกวา่ UNIX 98
ระบบปฏิบตั ิการ UNIX มีการใชอ้ ยา่ งกวา้ งขวางในผลิตภณั ฑ์ เวิรก์ สเตชน่ั ของ Sun Microsystems, Silicon Graphics, IBM และบริษทั อ่ืน ๆ สภาพแวดลอ้ มของ UNIX และแบบจาลองโปรแกรม Client/Server เป็นสว่ นประกอบ สาคญั ในการพฒั นาอินเตอรเ์ น็ต และเปล่ียนการประมวลผลแบบศูนยก์ ลางในเครือขา่ ยมากกวา่ คอมพิวเตอรอ์ ิสระ Linux เป็นอนุพนั ธข์ อง UNIX ท่ีมีทงั้ เวอรช์ นั ฟรีและพาณิชย์ กาลงั ไดร้ บั ความนิยมมากข้ึนในฐานะตวั เลือกของระบบปฏิบตั ิการ
Unix เป็นช่ือของระบบปฏิบตั ิการ (Operating System) อีกแบบหน่ึงซ่ึงตา่ งออกไปจากระบบปฏิบตั ิการท่ีเราคุน้ เคยกนั ดี เชน่ Windows หรือ Dos ระบบปฏิบตั ิการ Unix ถูกพฒั นาข้ึนตงั้ แตใ่ นชว่ งปี 1970 โดยมีรากฐานมาจากภาษา C โดยบริษทั AT&T เป็นผูเ้ ร่ิมตน้ ในการพฒั นาระบบปฏิบตั ิการน้ีจุดเดน่ ของ Unix ท่ีแตกตา่ งจาก Windows นั้นมีหลายประการ หากมองจากการ ใชง้ านก็จะพบวา่ แตกตา่ งกนั อยา่ งชดั เจน เน่ืองจาก Unix เป็นระบบปฏิบตั ิงานท่ีใชก้ ารพิมพค์ าส่งั (Command Line) สว่ น Windows เป็นลกั ษณะ GUI (Graphic User Interface) ซ่ึงชว่ ยอานวยความสะดวกใหผ้ ูใ้ ชใ้ หใ้ ชง้ านงา่ ย เน่ืองจากใช้ รูปภาพเป็นส่ือ ทาให้ Unix เป็นระบบปฏิบตั ิการท่ีใชง้ านยากกวา่ Windows
เน่ืองจากตอ้ งจดจาคาสง่ั (ซ่ึงมีมากพอสมควร)ใหไ้ ด้ นอกจากน้ี Unix ยงั เป็นระบบปฏิบตั ิการท่ีมีความแตกตา่ งกนั ในเร่ื องอกั ษรตวั เล็กและตวั ใหญ่ทาใหม้ กั เกิดความสบั สนสาหรับผูใ้ ชท้ ่ีไมค่ อ่ ยคุน้ เคย แต่ Unix ก็มีจุดเดน่ ท่ีเหนือกวา่ Windows ในแงข่ องประสิทธิภาพในการทางาน โดยในระดบั Hardware ชุดเดียวกนั ระบบ Unix จะมีประสิทธิภาพท่ีสูงกวา่ นอกจากน้ียงั มีเสถียรภาพในการทางานท่ีเหนือกวา่ Windowsคอ่ นขา้ งมาก โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงหากเทียบกบั Windows ในตระกูล 9 x เชน่ Windows95, 98, Me แลว้ Unix จะมีเสถียรภาพในการทางานท่ีเหนือกวา่ ชนิดเทียบกนั ไมไ่ ดเ้ ลย
คณุ สมบตั ิที่ค่อนขา้ งโดดเด่นของ Unix นน้ั ไดแ้ ก่ - มลั ติทาสก้ิง (Multi-tasking) คือ ทางานหลายๆ อยา่ งพรอ้ มกนั ไดใ้ นเวลาเดียวกนั ทาใหไ้ มต่ อ้ งเสียเวลาในการรอ โดยแบง่ การ ทางานออกเป็น Foreground และ Background - มลั ติยูสเซอร์ (Multi-user) Unix สามารถรองรับผูใ้ ชไ้ ดม้ ากกวา่ 1 คนในเวลาเดียวกนั หรือพูดงา่ ยๆ ก็คือ ใชง้ านไดห้ ลายคน พรอ้ มกนั น่ันเองจากจุดเดน่ น้ีทาใหพ้ บวา่ ในปัจจุบนั เรานิยมใช้ Unix เป็นระบบปฏิบตั ิการของเคร่ือง Internet Server กนั มาก
โครงสรา้ งในการทางานของ Unix Unix แบง่ โครงสรา้ งออกเป็น 4 สว่ นหลกั น่ันคือ Application Program, Shell, Unix Kernel, Hardware โดยเราจะทางานอยูใ่ นระดบั นอกสุดคือ ระดบั Application Program จากน้ัน Unix จะทางานเป็นลาดบั ชน้ั ผา่ น Shell , Kernel และ Hardware ตามลาดบั
- Shell ทาหนา้ ท่ีเป็นเสมือนตวั กลางระหวา่ งผูใ้ ชก้ บั Kernel โดยทาหนา้ ท่ีรับคาส่งั จากผูใ้ ชท้ างอุปกรณ์ input เชน่ คียบ์ อร์ด แลว้ ทาการแปลเป็นภาษาใหเ้ คร่ืองเขา้ ใจ หรือเรียกวา่ command interpreter และยงั สามารถนาคาส่งั เหลา่ น้ีมารวมกนั ในลกั ษณะ ของโปรแกรมท่ีเรียกวา่ เชลลส์ คริปต์ (Shell script) ไดด้ ว้ ย นอกจากน้ียงั ควบคุมทิศทางของ input และ output วา่ จะใหเ้ ขา้ หรือออกมาทางใด Shell ท่ีใชง้ านบน Unix มีอยู่ 3 แบบคือ Bourne shell(sh), C shell(csh), Korn shell(ksh) (รายละเอียดเพ่ิมเติมหาไดจ้ ากหนังสือหรือ website ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั Unix โดยเฉพาะ) - Unix kernel มีหนา้ ท่ีในการควบคุมระบบทง้ั หมด หรือเรียกงา่ ยๆ วา่ เป็นตวั คุม hardware น่ันเอง โดยจะทาหนา้ ท่ีทง้ั หมดไมว่ า่ จะเป็นการจดั สรรทรพั ยากร การจดั การหน่วยความจา เป็นตน้
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: