46 ษะทางปญั ญา ทักษะความสมั พันธร์ ะหวา่ ง ทักษะการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การ บคุ คลและความรับผดิ ชอบ สอ่ื สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 3.3 3.4 3.5 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 5.1 5.2 5.3 ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫⚫ ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫⚫ ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫⚫
ผลการเรยี นรู้ คุณธรรม ความรู้ ทกั ษ จรยิ ธรรม รายวิชา 1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 กลุ่มวชิ าเศรษฐศาสตร์ 399531 หลักเศรษฐศาสตร์ ⚫⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫ 399532 การวจิ ยั ทางศรษฐศาสตร์ ⚫ ⚫ ⚫⚫ 399533 นวตั กรรมการศกึ ษาทาง ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫ เศรษฐศาสตร์ 399534 เศรษฐศาสตรก์ บั การดาเนิน ⚫⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫ ชีวิตในสังคม กลมุ่ วชิ าประวัตศิ าสตร์ 399541 หลักการศึกษาประวตั ศิ าสตร์ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ 399542 การวิจัยทางประวัตศิ าสตร์ ⚫ ⚫ ⚫⚫ 399543 นวตั กรรมการศึกษาทาง ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫ ประวตั ิศาสตร์ 399544 ประวตั ิศาสตร์กับการดาเนิน ⚫⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫ ชีวติ ในโลกปัจจุบนั กลุ่มวชิ าภูมิศาสตร์ 399551 หลกั การศกึ ษาภมู ศิ าสตร์ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ 399552 การวจิ ัยทางภูมิศาสตร์ ⚫ ⚫ ⚫⚫ 399553 นวตั กรรมการศึกษาทาง ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫ ภูมิศาสตร์
47 ษะทางปัญญา ทักษะความสมั พนั ธ์ระหว่าง ทกั ษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การ บคุ คลและความรบั ผิดชอบ ส่ือสาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 3.3 3.4 3.5 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 5.1 5.2 5.3 ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫⚫ ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫⚫ ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫⚫
ผลการเรียนรู้ คุณธรรม ความรู้ ทกั ษ จริยธรรม รายวชิ า 1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 กล่มุ วชิ าภูมิศาสตร์ 399554 ภมู ิศาสตร์กบั การดาเนนิ ⚫⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫ ชีวิตในโลกปจั จบุ ัน วทิ ยานพิ นธ์ 399571 วิทยานพิ นธ์ 1 ⚫⚫⚫⚫⚫⚫⚫⚫ 399572 วทิ ยานพิ นธ์ 2 ⚫⚫⚫⚫⚫⚫⚫⚫ 399573 วทิ ยานิพนธ์ 3 ⚫⚫⚫⚫⚫⚫⚫⚫ การคน้ คว้าอิสระ 399581 การค้นควา้ อิสระ 1 ⚫⚫⚫⚫⚫⚫⚫⚫ 399582 การค้นคว้าอสิ ระ 2 ⚫⚫⚫⚫⚫⚫⚫⚫ 399583 การค้นควา้ อิสระ 3 ⚫⚫⚫⚫⚫⚫⚫⚫ รายวชิ าบังคบั ไม่นบั หน่วยกิต 366513 ระเบียบวธิ วี จิ ัยทางสงั คม ⚫ ⚫ ศาสตร์ 399591 สัมมนา ⚫⚫
48 ษะทางปัญญา ทกั ษะความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การ บุคคลและความรบั ผดิ ชอบ สื่อสาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 3.3 3.4 3.5 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 5.1 5.2 5.3 ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫⚫ ⚫⚫⚫⚫⚫⚫⚫⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫⚫⚫⚫⚫⚫⚫⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫⚫⚫⚫⚫⚫⚫⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫⚫⚫⚫⚫⚫⚫⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫⚫⚫⚫⚫⚫⚫⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫⚫⚫⚫⚫⚫⚫⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫
49 หมวดท่ี 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนสิ ติ 1. กฎระเบยี บหรอื หลกั เกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน (เกรด) ใชร้ ะบบอักษรลาดบั ขน้ั และค่าลาดบั ขั้นในการวัดและประเมินผลการศกึ ษาในแต่ละรายวิชา โดยแบ่งการ กาหนดอักษรลาดับข้ันเป็น 3 กลุ่ม คือ อักษรลาดับข้นั ทีม่ ีค่าลาดบั ขั้น อักษรลาดับขนั้ ท่ี ไมม่ ีค่าลาดับข้นั และอักษรลาดบั ขนั้ ท่ียงั ไม่มีการประเมินผล 1.1อักษรลาดับขน้ั ท่ีมีค่าลาดบั ข้ัน ให้กาหนด ดงั นี้ อักษรลาดบั ขนั้ ความหมาย คา่ ลาดบั ขัน้ A ดเี ยยี่ ม (excellent) 4.00 B+ ดีมาก (very good) 3.50 B ดี (good) 3.00 C+ ดพี อใช้ (fairy good) 2.50 C พอใช้ (fair) 2.00 D+ อ่อน (poor) 1.50 D ออ่ นมาก (very poor) 1.00 F ตก (failed) 0.00 1.2 อักษรลาดับขัน้ ท่ีไม่มคี า่ ลาดับขน้ั ใหก้ าหนด ดังนี้ อักษรลาดับข้นั ความหมาย S เปน็ ท่ีพอใจ (satisfactory) U ไม่เป็นที่พอใจ (unsatisfactory) W การถอนรายวชิ า (withdrawn) 1.3 อักษรลาดับขัน้ ที่ยังไม่มกี ารประเมนิ ผล ใหก้ าหนด ดังน้ี อักษรลาดบั ขั้น ความหมาย I การวัดผลยงั ไมส่ มบูรณ์ (incomplete) P การเรียนการสอนยงั ไม่ส้นิ สุด (in progress) รายวิชาบังคับของสาขาวิชาสังคมศึกษา นิสิตจะต้องได้ค่าลาดับข้ันไม่ต่ากว่า C หรือ S มิฉะน้ันจะต้อง ลงทะเบียนเรียนซ้าอีก รายวิชาที่กาหนดให้วัดและประเมินผลด้วยอักษรลาดับขั้น S หรือ U ได้แก่ รายวิชาที่ไม่นับหน่วยกิต, การสอบประมวลความรู้, สมั มนา, วิทยานพิ นธ์ และ IS 2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธิ์ของนิสติ 2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนร้ขู ณะนิสิตยงั ไม่สาเร็จการศึกษา 1. แต่งต้ังคณะกรรมการวิชาการของภาควิชา ดาเนินการพิจารณาทวนสอบมาตรฐานผลการ เรยี นรูต้ ามหลักสตู ร ในแต่ละปีการศกึ ษาอยา่ งนอ้ ย 25 % ของจานวนรายวชิ าทจี่ ดั การเรียนรู้ 2. สุ่มรายวิชาที่จัดการเรียนการสอน ในแต่ละปีการศึกษา ที่เป็นรายวิชาบังคับจานวน 1 รายวิชา และรายวิชาอ่นื ๆ จานวน 1 รายวชิ า
50 3. คณะกรรมการพิจารณาผลการเรยี นรูจ้ าก มคอ.5 และสุ่มสมั ภาษณน์ สิ ติ ร้อยละ 25 ของจานวน นสิ ติ ท่ีเรยี น 4. สรุปรายงานผลการทวนสอบมาตรฐานการเรียนร้ตู ่อคณะกรรมการภาควชิ า 2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้หลังจากนสิ ติ สาเรจ็ การศกึ ษา 1. ประเมนิ คุณลักษณะจากบัณฑติ ท่ีจบการศึกษา 2. ประเมนิ ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑติ 3. เกณฑก์ ารสาเรจ็ การศกึ ษาตามหลักสูตร การวดั ผลและการสาเร็จการศึกษาเปน็ ไปตามขอ้ บังคับมหาวิทยาลยั นเรศวร วา่ ด้วยการศกึ ษาระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอ่ื ง เกณฑม์ าตรฐานหลกั สูตรระดบั บณั ฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 ทั้งน้ที างหลักสูตรฯ อาจให้ศึกษารายวชิ าหรอื ทากจิ กรรมทางวชิ าการอนื่ ๆ เพิ่มเตมิ โดยไมน่ ับ หน่วย กติ แตต่ ้องมีผลสัมฤทธ์ิตามท่ีมหาวทิ ยาลัยกาหนดดงั น้ี ปริญญาโท แผน ก แบบ ก 2 1. มรี ะยะเวลาการศกึ ษาตามกาหนด 2. ลงทะเบยี นเรยี นครบตามทีห่ ลักสตู รกาหนด 3. สอบผา่ นความร้ภู าษาองั กฤษตามประกาศของมหาวิทยาลัย 4. ศกึ ษารายวิชาครบถ้วนตามทกี่ าหนดในหลักสูตร และเง่อื นไขของสาขาวิชาน้นั ๆ 5. มผี ลการศึกษาไดค้ ่าระดบั ข้นั สะสมเฉล่ยี ไม่ตา่ กว่า 3.00 6. เสนอวิทยานิพนธแ์ ละสอบผา่ นการสอบปากเปลา่ ข้ันสดุ ท้ายซึ่งเป็นระบบเปิดที่ให้ผู้สนใจเขา้ รบั ฟังได้ 7. ผลงานวิทยานิพนธ์ จะต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยดาเนินการให้ผลงานหรือส่วนหนึ่ง ของผลงานได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือเสนอต่อท่ีประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติที่ มี รายงานการประชมุ (Proceeding) ที่มีคณะกรรมการ ภายนอกรว่ มกลั่นกรอง (Peer Review) ก่อนการตพี ิมพ์ ปริญญาโท แผน ข 1. มรี ะยะเวลาการศึกษาตามกาหนด 2. ลงทะเบียนเรยี นครบตามที่หลักสูตรกาหนด 3. สอบผ่านความรูภ้ าษาอังกฤษตามประกาศของมหาวทิ ยาลยั 4. ศึกษารายวิชาครบถว้ นตามทก่ี าหนดในหลกั สูตร และเงื่อนไขของสาขาวชิ าน้ัน ๆ 5. มผี ลการศึกษาได้คา่ ระดับขนั้ สะสมเฉลีย่ ไมต่ า่ กวา่ 3.00 6. สอบผ่านการสอบประมวลความรู้ (COMPREHENSIVE EXAMINATION) 7. เสนอผลงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองและสอบผ่านการสอบปากเปล่าซ่ึงเป็นระบบเปิดท่ีให้ ผู้สนใจเขา้ รับฟังได้ 8. ผลงานการศกึ ษาค้นควา้ ด้วยตนเอง จะต้องไดร้ บั การตีพิมพ์ หรอื อย่างน้อยดาเนนิ การให้ผลงาน หรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือเสนอต่อท่ีประชุมวิชาการระดับชาติหรือ นานาชาติท่ีมีรายงานการประชุม (Proceeding) ที่มีคณะกรรมการ ภายนอกร่วมกล่ันกรอง (Peer Review) กอ่ นการตีพิมพ
51 หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย์ 1. การเตรียมการสาหรับอาจารย์ใหม่ 1.1 มีการปฐมนิเทศหรือแนะแนวการเป็นครูแก่อาจารย์ใหม่ ให้มีความรู้และเข้าใจนโยบายของสถาบัน คณะตลอดจนในหลกั สตู รทีส่ อน 1.2 ส่งเสริมอาจารย์ให้มีการเพ่ิมพูนความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์เพ่ือส่งเสริมการสอนและการวิจัยอย่าง ต่อเน่ือง การสนับสนุนด้านการศึกษาต่อ ฝึกอบรม ดูงานทางวิชาการและวิชาชีพในองค์กรต่าง ๆ การประชุมทาง วชิ าการท้งั ในประเทศและ/หรอื ต่างประเทศ หรือการลาเพอ่ื เพมิ่ พนู ประสบการณ์ 2. การพัฒนาความรู้และทักษะในแก่คณาจารย์ 2.1 การพฒั นาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวดั และการประเมนิ (1) ส่งเสริมอาจารย์ให้มีการเพ่ิมพูนความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมการสอนและการวิจัย อย่างต่อเนื่อง การสนับสนุนด้านการศึกษาต่อ ฝึกอบรม ดูงานทางวิชาการและวิชาชีพในองค์กรต่าง ๆ การ ประชุมทางวิชาการทงั้ ในประเทศและ/หรอื ต่างประเทศ หรอื การลาเพื่อเพม่ิ พูนประสบการณ์ (2) การเพม่ิ พูนทกั ษะการจดั การเรยี นการสอนและการวิจัยให้ทันสมัย 2.2 การพัฒนาวิชาการและวชิ าชพี ด้านอื่นๆ (1) การมีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมบรกิ ารวิชาการแกช่ ุมชนท่ีเกี่ยวข้องกบั การพัฒนาความรู้และคุณธรรม (2) มีการกระตนุ้ อาจารยท์ าผลงานทางวิชาการสายตรงในสาขาวชิ า (3) ส่งเสริมการทาวิจัยสร้างองค์ความรู้ใหม่เป็นหลักและเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนและมีความ เชย่ี วชาญในสาขาวิชาชพี 2.3 การพฒั นาการใชภ้ าษาองั กฤษ (1) ส่งเสริมให้อาจารยไ์ ด้ไปศกึ ษาความรเู้ พม่ิ เตมิ ในประเทศ และตา่ งประเทศ (2) สง่ เสริมใหอ้ าจารยเ์ ข้าร่วมประชมุ สมั มนาทางวชิ าการระดับนานาชาติ (3) กบั สง่ เสริมให้อาจารย์นาเสนอผลงานวิชาการในต่างประเทศ
52 หมวดท่ี 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร หลักสูตรได้กาหนดระบบและวิธีการประกันคุณภาพหลักสูตรให้สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ.2558 และการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวทิ ยาลัยนเรศวร 6 ดา้ น ดงั น้ี 1. การกากบั มาตรฐาน มีการกากับมาตรฐานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาและเกณฑ์การประกัน คุณภาพการศกึ ษาของมหาวิทยาลัย ดงั นี้ 1.1 การดาเนินการจัดทาและติดตาม มคอ.ต่าง ๆ ของหลักสูตร ให้ดาเนินการตามแผนการบริหาร จัดการหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ภาคการศึกษาต้น/ภาคการศึกษา ปลาย โดยใหม้ ีการกากับตดิ ตามโดยคณบด/ี ผูอ้ านวยการวทิ ยาลัย รายละเอียดดังน้ี - จดั ทาและส่ง มคอ.3, 4, 5, 6, 7 และรายงานตวั บ่งชีผ้ ลการดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศกึ ษา โดยอัพโหลดผา่ นระบบบรหิ ารจัดการหลักสตู ร TQF - คณะรายงานการจัดส่ง มคอ.3, 4, 5, 6, 7 เสนอที่ประชุมคณะทางานกลั่นกรองหลักสูตรและงาน ด้านวชิ าการ - อาจารย์และภาควิชาที่รับผิดชอบรายวิชา ต้องจัดการเรียนการสอน และประเมินผลการเรียนให้ เป็นไปตามรายละเอยี ดทก่ี าหนดไวใ้ นรายวิชา 1.2 อาจารย์ที่ปรึกษาและคณะกรรมการท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ ต้องควบคุมการจัดการเรียนการสอน วทิ ยานพิ นธ์และการประเมินผลการเรยี น ให้เป็นไปตามคณุ ภาพของการศึกษาระดบั บัณฑิตศึกษา 1.3 การกาหนดคุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจาหรืออาจารย์พิเศษที่มีคุณวุฒิข้ันต่า ปริญญาโท หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาสังคมศึกษา สาขาวิชาการศึกษาหรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธ์กันหรือสาขาวิชา ของรายวชิ าทีส่ อน และต้องมปี ระสบการณ์ดา้ นการสอนและและมีผลงานวจิ ยั ที่ไม่ไดเ้ ปน็ ส่วนหน่งึ ของการศึกษา เพีอ่ รบั ปริญญาและเปน็ ผลงานทางวชิ าการท่ีไดร้ บั การเผยแพร่ตามหลักเกณฑท์ ี่กาหนดในการพจิ ารณาแตง่ ต้ังให้ บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลังโดย ท้ังนี้อาจารย์พิเศษต้องมีช่ัวโมง สอนไม่เกนิ ร้อยละ 50 ของรายวชิ าโดยมีอาจารย์ประจาเป็นผูร้ ับผิดชอบรายวิชานน้ั 1.4 การกาหนดคุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและการค้นคว้าอิสระต้องเป็นอาจารย์ ประจาหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าหรือขั้นต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตาแหน่งรอง ศาสตราจารย์และมีผลงานวิจัยท่ีไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเพี่อรับปริญญาและเป็นผลงานทางวิชาการที่ ไดร้ บั การเผยแพรต่ ามหลักเกณฑท์ ่ีกาหนดในการพิจารณาแต่งตงั้ ใหบ้ ุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลังโดยอยา่ งน้อย 1 รายการตอ้ งเปน็ ผลงานวจิ ยั 1.5 การกาหนดคุณสมบัติของอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์รว่ มตอ้ งเป็นอาจารย์ ท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอก หรือเทียบเท่าหรอื ขั้นต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่าท่ีมีตาแหน่งรองศาสตราจารย์และมีผลงานวิจัยท่ีไม่ได้เปน็ สว่ น หนึ่งของการศึกษาเพี่อรบั ปริญญาและเป็นผลงานทางวชิ าการที่ไดร้ ับการเผยแพร่ตามหลกั เกณฑท์ ี่กาหนดในการ พิจารณาแต่งต้ังให้บุคคลดารงตาแหน่ง ทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลังโดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
53 หากอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือ เทียบเท่าและมีผลงานทางวิชาการท่ีได้รับการตพี ิมพ์เผยแพร่ในวารสารท่ีมีช่ืออยู่ในฐานข้อมูลท่ีเป็นที่ยอมรับใน ระดับชาติซ่ึงตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 10 เร่ือง ท้ังนี้หาก ผู้ทรงคณุ วฒุ ิภายนอกไม่มคี ุณวุฒหิ รือผลงานทางวชิ าการตามเกณฑ์ต้องผ่านความเหน็ ชอบจากสภามหาวิทยาลัย นเรศวรและแจ้งคณะกรรมการการอุดมศึกษารบั ทราบ 1.6 การกาหนดอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ต้องประกอบด้วยอาจารย์ประจาหลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิ ภายนอกสถาบันรวมไม่น้อยกว่า 3 คนทั้งนี้ประธานกรรมการสอบต้องไม่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลกั หรอื อาจารย์ท่ปี รกึ ษาวทิ ยานิพนธ์ร่วม โดยอาจารย์ผ้สู อบวิทยานิพนธต์ ้องมคี ณุ วุฒิ คุณสมบัตแิ ละผลงานวชิ าการ ดงั น้ี 1.6.1.กรณีอาจารยป์ ระจาหลักสตู ร ต้องมีคณุ วฒุ ิปริญญาเอกหรอื เทยี บเท่าทใี่ นสาขาวชิ า สังคมศึกษา สาขาวิชาการศึกษา หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง และมีผลงานวิจัยที่ไม่ได้เป็น ส่วนหน่ึงของ การศึกษาเพ่อื รบั ปรญิ ญาโดยเปน็ ผลงานทางวชิ าการทไ่ี ด้รบั การเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพจิ ารณา แต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลังโดยอย่างน้อย 1 รายการ ตอ้ งเป็นผลงานวิจัย 1.6.2.กรณีผู้ทรงคณุ วุฒิภายนอก ตอ้ งมีคุณวุฒปิ ริญญาเอกหรือเทียบเท่าและมผี ลงาน ทางวิชาการท่ีได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารท่ีมีช่ืออยู่ในฐานข้อมูลท่ีเป็นท่ียอมรับในระดับชาติซ่ึงตรงหรือ สมั พนั ธก์ ับหัวขอ้ วิทยานพิ นธห์ รือการคน้ คว้าอสิ ระไม่น้อยกวา่ 10 เรือ่ ง 1.7 กาหนดภาระงานท่ปี รึกษาวิทยานิพนธ์และการคน้ คว้าอสิ ระ 1.7.1.อาจารยป์ ระจาหลกั สูตร 1 คน ให้เปน็ อาจารย์ทป่ี รกึ ษาวิทยานิพนธ์หลกั ของนสิ ติ ระดบั บัณฑิตศกึ ษาดงั น้ี กรณีอาจารย์ประจาหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าและมีผลงานทางวิชาการตาม เกณฑใ์ ห้เป็นทีป่ รกึ ษาวทิ ยานิพนธ์ของนิสติ ระดบั ปริญาโทและเอกรวมไดไ้ ม่เกิน 5 คนต่อภาคการศึกษา กรณีอาจารย์ประจาหลกั สูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าและดารงตาแหนง่ ระดับผูช้ ว่ ย ศาสตราจารย์ขึ้นไป หรือมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตาแหน่งรองศาสตรจารย์ข้ึนไปและมีผลงานทาง วิชาการตามเกณฑ์ ให้เป็นท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ของนิสิตระดับปริญาโทและเอกรวมได้ไม่เกิน 10 คนต่อภาค การศกึ ษา กรณีอาจารย์ประจาหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าและดารงตาแห น่ง ศาสตราจารย์ และมีความจาเป็นต้องดูแลนิสิตเกินกว่าจานวนที่กาหนดให้เสนอต่อสภามหาวิทยาลัยนเรศวร พิจารณาแต่ทั้งน้ีต้องไม่เกิน 15 คนต่อภาคการศึกษา หากมีความจาเป็นต้องดูแลนิสิตมากกว่า 15 คนให้ขอ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการการอุดมศึกษา 1.7.2.อาจารยป์ ระจาหลกั สูตร 1 คน ให้เปน็ อาจารยท์ ่ปี รึกษาการค้นควา้ อิสระของนิสิต ระดบั ปรญิ ญาโทไดไ้ ม่เกิน 15 คน
54 หากเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาท้ังวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ ให้คิดสัดส่วนจานวนนิสิตที่ทา วิทยานิพนธ์ 1 คนเทียบได้กับจานวนนิสิตที่ค้นคว้าอิสระ 3 คน แต่ทั้งนี้รวมแล้วต้องไม่เกิน 15 คนต่อภาค การศกึ ษา 1.8 กาหนดเผยแพรผ่ ลงานของผูส้ าเร็จการศกึ ษา 1.8.1.กรณีแผน ก แบบ ก 2 ผลงานวทิ ยานิพนธห์ รอื ส่วนหนง่ึ ของวทิ ยานิพนธต์ ้อง ได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพ ตามประกาศคณะกรรมการการอดุ มศึกษา เร่อื งหลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรบั การเผยแพร่ ผลงานทางวิชาการหรือนาเสนอต่อที่ประชุมวิชาการโดยบทความท่ีนาเสนอฉบับสมบูรณ์ (Full paper) ได้รับ การตพี มิ พ์ในรายงานสบื เนื่องจากการประชุมวชิ าการ (Proceedings) ดังกล่าว 1.8.2.กรณีแผน ข (ครูประจาการ) รายงานการค้นควา้ อิสระหรอื สว่ นหนงึ่ ของรายงานการ ค้นควา้ อสิ ระต้องไดร้ ับการเผยแพรใ่ นลกั ษณะใดลกั ษณะหนงึ่ ที่สืบคน้ ได้ 1.9 กาหนดให้มีอาจารย์ที่ปรึกษาวิชาการ 1 คน ให้กับนิสิตตลอดหลักสูตร โดยพิจารณาเลือกจาก อาจารย์ประจาหลักสูตร ทาหน้าที่ดูแลให้คาปรึกษาแก่นิสิต ท้ังด้านการวางแผนการศึกษาการเรียน การศึกษา คน้ ควา้ วิจัยเพื่อพฒั นาการเรยี นรู้ ตลอดจนการทาวทิ ยานิพนธ์ และให้คาแนะนาเรื่องระเบยี บปฏบิ ัติต่างๆ ตลอด ช่วงเวลาการศึกษาของนสิ ิตกอ่ นการมอี าจารย์ทปี่ รึกษาวทิ ยานิพนธ์ นอกจากนี้หลักสูตรยังมีการกากับมาตรฐานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา และเกณฑก์ ารประกนั คุณภาพการศกึ ษาของมหาวิทยาลัย ดงั นี้ 1.10 การดาเนินการจัดทาและติดตาม มคอ. ต่างๆ ของหลักสูตร ให้ดาเนินการตามแผนการบริหาร จัดการหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ภาคการศึกษาต้น/ภาคการศึกษา ปลาย โดยให้มกี ารกากบั ตดิ ตามโดยคณบดี/ผอู้ านวยการวิทยาลัย รายละเอยี ดดังน้ี - จัดทาและส่ง มคอ.3, 4, 5, 6, 7 และรายงานตัวบ่งช้ีผลการดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดบั อุดมศกึ ษา โดยอัพโหลดผ่านระบบบรหิ ารจดั การหลักสตู ร TQF - คณะ/กองบริการการศึกษา รายงานการจัดส่ง มคอ.3, 4, 5, 6, 7 เสนอท่ีประชุมคณะทางาน กล่ันกรองหลกั สตู รและงานดา้ นวิชาการ และคณะกรรมการสภาวิชาการ ตามลาดับ 1.11 อาจารย์และภาควิชาท่ีรับผิดชอบรายวิชา ต้องจัดการเรียนการสอน และประเมินผลการเรียนให้ เปน็ ไปตามรายละเอยี ดทกี่ าหนดไวใ้ นรายวชิ า 1.12 อาจารย์ท่ีปรึกษาและคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ต้องควบคุมการจัดการเรียนการสอน วิทยานิพนธ์และการประเมนิ ผลการเรยี น ให้เปน็ ไปตามคุณภาพของการศกึ ษาระดับบัณฑิตศกึ ษา 2. บณั ฑิต หลักสูตรกาหนดให้มีการศึกษาความต้องการของตลาดแรงงาน สังคมและ/หรือความพึงพอใจของผู้ใช้ มหาบัณฑติ ดงั นี้ 2.1 กาหนดให้มีการติดตามการเปล่ียนแปลงของสถานการณ์ทางด้านเศรษฐกิจ สังคมของประเทศและ โลก ความก้าวหน้าด้านสังคมศึกษา การสารวจความต้องการของตลาดแรงงานและความพึงพอใจของผู้ใช้ มหาบัณฑิตหรือผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาด้านสังคมศึกษา ก่อนการปรับปรุงหลักสูตร
55 เพื่อศึกษาทิศทางของตลาดแรงงานท้ังในระดับท้องถ่ินและประเทศสาหรับใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการเปิดและ การปรับปรงุ และพฒั นาหลักสูตรอยา่ งต่อเนื่องทุกๆ 5 ปี 2.2 กาหนดให้มีการศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้และนายจ้าง การติดตามการพัฒนาอาชีพและ ความก้าวหน้าในการทางานของมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา ให้เป็นตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดบั อดุ มศกึ ษาแห่งชาติ 2.3 หลักสูตรกาหนดการเผยแพร่ผลงานของผู้สาเร็จการศึกษาในแผนก แบบ ก 2 และแผน ข ให้เป็น ตามเกณฑม์ าตรฐานหลกั สูตรระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2558 3. นิสติ 3.1 การรับนิสิต หลักสูตรกาหนดคุณสมบัติของผู้เข้าศึกษาเป็นตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 และข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาพ.ศ. 2559 และกาหนดใหม้ กี จิ กรรมตา่ ง ๆ เพ่อื เตรียมความพร้อมก่อนเข้าศกึ ษาในหลักสูตรใหก้ ับนิสิต 3.2 การสนบั สนนุ และการให้คาแนะนานิสิต 3.2.1 มีระบบอาจารย์ท่ีปรึกษาวิชาการ และอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ให้การดูแลด้าน การศึกษาโดยมีการกาหนดตารางเวลาให้นิสิตพบเพ่ือให้คาปรึกษา การจัดกิจกรรมการแนะแนวอาชีพและ แนวทางการศกึ ษาตอ่ ท่ีเก่ียวเนื่องกบั หลกั สตู ร 3.2.2 หลักสูตรจัดให้มีอาจารย์ท่ีปรึกษาวิชาการ 1 คน ให้กับนิสิตตลอดหลักสูตร โดยพิจารณา เลือกจากอาจารย์ประจาหลักสูตร ทาหน้าท่ีดูแลให้คาปรึกษาแก่นิสิต ท้ังด้านการวางแผนการศึกษา การ คน้ ควา้ วิจยั เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ ตลอดจนการทาวิทยานิพนธ์ และใหค้ าแนะนาเร่ืองระเบยี บปฏิบตั ิตา่ งๆ ตลอด ช่วงเวลาการศกึ ษาของนสิ ติ กอ่ นการมีอาจารยท์ ี่ปรกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์ 3.2.3 คณะศึกษาศาสตร์ มีการแต่งตั้งอาจารย์ท่ปี รึกษาทางวชิ าการใหแ้ ก่นิสิตทุกคนตามสาขาวิชา เฉพาะ โดยนิสิตสามารถปรึกษากับอาจารย์ท่ีปรึกษาในการวางแผนการเรียน การแนะนาแผนการเรียนใน หลักสูตร การเลือกและวางแผนสาหรับอาชีพและการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย โดยอาจารย์ท่ีปรึกษาต้องกาหนด ช่ัวโมงให้คาปรึกษา (Office Hours) นอกจากนี้ คณะศึกษาศาสตร์กาหนดให้มีอาจารย์ท่ีปรึกษากิจกรรมของ คณะศึกษาศาสตร์เพ่ือให้คาปรึกษาแนะนาในการจัดทากิจกรรมด้านต่าง ๆ แก่นิสิต เพื่อมุ่งพัฒนาให้นิสิตใน สาขาวิชาสังคมศึกษา ได้รบั การพัฒนาในทกุ ๆ ด้าน 3.3 การควบคุมดแู ลการใหค้ าปรึกษาวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอสิ ระ 3.3.1 หลักสูตรกาหนดการควบคุมดูแลการใหค้ าปรึกษาวิทยานิพนธ์ และการค้นควา้ อิสระในระดับ ปริญญาโท โดยมีการเตรียมความพร้อมนิสิตสาหรับการทาวิทยานิพนธ์และกาหนดแนวทางการดาเนินงานการ ควบคุมดูแลและให้การให้คาปรึกษาวิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระให้เป็นตามกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 และข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ดงั น้ี 3.3.2 กาหนดให้นิสิตมีอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์เป็นอาจารย์สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะ ศกึ ษาศาสตร์ 1 คน และ กรรมการทปี่ รกึ ษา/ผ้เู ชีย่ วชาญ อกี 1 คนโดยพิจารณาเลือกจากคุณวฒุ ิ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์วิจัยท่ีสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์ของนิสิต และสัดส่วนการคุมวิทยานิพนธ์ ตามเกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตรระดบั บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 3.3.3 กาหนดระบบและกลไกในการควบคุมคุณภาพของวิทยานิพนธ์ ก่อน ระหว่าง และหลังการ ดาเนินวิทยานิพนธ์ อาทิ การกาหนดคุณสมบัติและความสามารถในการทาวิจัยของนิสิตก่อนอนุมัติให้เริ่ม งานวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ์ จานวนวิทยานิพนธ์ท่ีต้องดูแลต่ออาจารย์ท่ีปรึกษา วิธีดาเนิน การจัดทาโครงร่าง
56 วิทยานิพนธ์ การรายงานความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ คุณสมบัติของคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ เกณฑ์การ สอบ/ให้คะแนนและการตดั สนิ ผลสอบ ระบบการเผยแพรว่ ทิ ยานิพนธ์ และ ระบบฐานข้อมูลวทิ ยานพิ นธ์ เปน็ ต้น 3.4 หลกั สตู รให้นิสิตเขา้ รว่ มประชุม/อบรม/ สมั มนา ท่ีเก่ียวขอ้ งกับการพัฒนาหัวข้องานวจิ ยั สังคมศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา/ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ท่ีจัดข้ึนโดยสาขาวิชา หรือหน่วยงานภายใน/ภายนอก มหาวิทยาลยั ไม่ตา่ กวา่ 20 ช่ัวโมงตอ่ ปีการศกึ ษา 3.5 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทาหน้าที่กากับติดตามอัตราการคงอยู่ของนิสิตในหลักสูตรและอัตรา การสาเร็จการศึกษาใหเ้ ปน็ ไปตามแผนการศึกษาของหลักสูตร 3.6 หลกั สูตรกาหนดแนวทางการอุทธรณ์ของนิสติ ในหลักสูตรดงั น้ี นสิ ติ ทถ่ี กู ลงโทษ มสี ิทธิย่ืนอุทธรณ์ต่อ คณะกรรมการอุทธรณภ์ ายใน 30 วนั นบั แตว่ ันรับทราบคาสัง่ ลงโทษ โดยคารอ้ งตอ้ งทาเปน็ หนงั สือพร้อมเหตุผล ประกอบ และย่ืนเรือ่ งผ่านงานบริการการศึกษา บัณฑติ วิทยาลัย และใหค้ ณะกรรมการอทุ ธรณ์ พจิ ารณาให้แล้ว เสร็จภายใน 30 วนั นบั ต้งั แตว่ นั ท่ไี ด้รับหนังสอื อทุ ธรณ์ โดยคาวินิจฉัยของคณะกรรมการอทุ ธรณถ์ ือเปน็ ทส่ี ้ินสุด 4. คณาจารย์ 4.1 หลักสูตรกาหนดระบบกลไก กระบวนการรับอาจารย์ใหม่และแต่งต้ังอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรร่วมกันกาหนดคุณสมบัติของอาจารย์ประจาหลักสูตรตามที่สาขาวิชาคณะ ศึกษาศาสตร์และคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย (กบม.) กาหนด เสนอการขออัตรากาลังต่อภาควิชา การศกึ ษา เพื่อดาเนนิ การตามระบบและกลไกของคณะศึกษาศาสตรแ์ ละมหาวิทยาลยั นเรศวร ท้ังน้ีให้คุณสมบัติ ของอาจารยผ์ ้รู ับผดิ ชอบหลกั สตู รเปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑติ ศึกษา พ.ศ. 2558 4.2 หลักสูตรกาหนดระบบกลไก กระบวนของการรับแต่งต้ังอาจารย์ประจาหลักสูตรโดยความร่วมมือ ระหว่างคณะศึกษาศาสตร์และคณะอ่ืน ๆ ในมหาวิทยาลัยนเรศวร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรรว่ มกันกาหนด คุณสมบัติของอาจารย์ประจาหลักสูตรตามท่ีสาขาวิชาและในสาขาวิชาท่ีสัมพันธ์กัน จากคณะท่ีเก่ียวข้อง ดาเนินการประสานขอรายช่ืออาจารย์คณะอื่น ท่ีมีความสนใจมาร่วมเป็นอาจารย์ประจาหลักสูตร ภาควิชา การศึกษาเสนอรายช่ืออาจารย์ประจาหลักสูตรมายังฝ่ายวิชาการของคณะศึกษาศาสตร์ ทั้งน้ีจะต้องพิจารณา อาจารย์ประจาหลักสูตรจากคุณวุฒิ ตาแหน่งวิชาการ ผลงานวิชาการ ความเช่ียวชาญ ทั้งนี้ให้คุณสมบัติของ อาจารยป์ ระจาหลักสตู รเปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐานหลักสตู รระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 4.3 หลักสตู รกาหนดระบบการส่งเสริมและพฒั นาอาจารย์ โดยคณะศกึ ษาศาสตร์และภาควิชาการศึกษา จัดสรรงบประมาณเพ่ือการพัฒนาตนเองของอาจารย์ด้านคุณวุฒิและตาแหน่งทางวิชาการ ส่งเสริมการทาวิจัย และการบริการวิชาการเพ่ือเพิ่มประสบการณ์และความเชี่ยวชาญอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคน โดยใช้ แนวปฏิบัติของภาควชิ าการศกึ ษาและคณะศึกษาศาสตร์ 4.4 การมีสว่ นรว่ มของคณาจารยใ์ นการวางแผน การติดตามและทบทวนหลกั สตู ร 4.4.1 การร่วมกาหนดแนวทางการจัดการเรียนรู้ คณาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและผู้สอนแต่ละ รายวิชาจะต้องประชุมร่วมกันในการวางแผนจัดการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผลและให้ความเห็นชอบการ ประเมนิ ผลทกุ รายวชิ า เก็บรวบรวมข้อมูลเพ่อื เตรียมไว้สาหรบั การปรับปรุงหลักสตู ร 4.4.2 การรว่ มแลกเปล่ยี นเรียนรู้แนวทางการพฒั นานสิ ติ คณาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสตู รและผู้สอน แต่ละรายวิชามีการพบปะเพื่อปรึกษาหารือ แลกเปล่ียนเรียนรู้แนวทางท่ีจะทาให้บรรลุเป้าหมายตามหลักสูตร และไดน้ ิสิตเปน็ ไปตามคุณลกั ษณะนสิ ิตท่ีพึงประสงค์โดยความเหน็ ชอบของคณะและมหาวทิ ยาลยั 4.4.3 การร่วมทบทวนและปรับปรุงหลักสูตร คณาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและผู้สอนแต่ละ รายวิชาร่วมกันทบทวนส่ิงที่พบจากข้อมูลด้านการจัดการเรียนการสอนท่ีเก็บรวบรวมไว้ ส่ิงท่ีพบในการพัฒนา
57 นสิ ิตใหม้ คี ณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงคต์ ามหลักสูตร และปัญหาทีพ่ บในการใช้หลักสูตร และกาหนดใหม้ ีการปรับปรุง หลักสตู รภายหลังการใชห้ ลกั สูตรอย่างน้อย 5 ปี ตอ่ 1 ครัง้ 4.5 การแต่งตั้งคณาจารย์พิเศษ มีการแต่งตั้งอาจารย์พิเศษ มุ่งให้เกิดการพัฒนาประสบการณ์ การ เรียนรู้แก่นิสิตนอกเหนือไปจากความรู้ตามทฤษฎี เพ่ือเพ่ิมพูนประสบการณ์การทางานในวิชาชีพจริง โดยท่ี อาจารย์พิเศษจะต้องเป็นผสู้ อนที่ไม่ใช่อาจารย์ประจามปี ระสบการณต์ รง หรอื มีวฒุ ิการศกึ ษาอย่างตา่ ปริญญาโท หรือเทียบเท่าและมปี ระสบการณ์การทางานทเ่ี กี่ยวข้องกับสาขาวิชาทสี่ อนมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 ปี ท้ังนอี้ าจารย์ พิเศษต้องมีชว่ั โมงสอนไม่เกนิ ร้อยละ 50 ของรายวชิ าโดยมอี าจารย์ประจาเปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบ 5. หลกั สตู ร การเรยี นการสอน การประเมินผูเ้ รยี น 5.1 หลักสูตรมีกาหนดให้มีการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาในหลักสูตรโดยดาเนินการตาม กระบวนการในการพัฒนาหลักสูตรของมหาวิทยาลัยนเรศวรและกาหนดให้มีการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัย ตามความกา้ วหน้าในศาสตรส์ าขานน้ั ๆ เม่ือครบรอบการปรบั ปรุงหลักสตู ร 5 ปี 5.2 หลักสูตรมีการพิจารณากาหนดผู้สอนโดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรร่วมกับภาควิชาการศึกษา และคณะศึกษาศาสตร์ กาหนดรายชอ่ื อาจารย์ผู้สอนประจารายวิชา โดยพิจารณาจากคณุ วุฒิ ประสบการณว์ จิ ัย และผลการประเมินผูส้ อนโดยนิสติ 5.3 หลักสูตรกาหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอนดังน้ีกาหนดให้อาจารย์ผู้สอนในแต่ละรายวิชา มี การบูรณาการใช้ภาษาอังกฤษในกิจกรรมการเรียนการสอน และกาหนดให้รายวิชาบังคับทุกวิชา และรายวิชา สัมมนา ตอ้ งมีการกาหนดชน้ิ งานให้นสิ ิต สืบคน้ และศกึ ษาบทความวจิ ยั ทีเ่ ผยแพรเ่ ป็นภาษาอังกฤษในฐาน TCI 5.4 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรร่วมกับอาจารย์ผู้สอน ภาควิชาการศึกษา และคณะศึกษาศาสตร์ กากบั ตดิ ตาม การจดั ส่ง มคอ. 3 – 7 และอพั โหลดผา่ นระบบบรหิ ารจดั การหลกั สตู ร TQF 5.5 หลักสูตรกาหนดให้มีการเตรียมความพร้อมก่อนการทาวิทยานิพนธ์สาหรบั นิสิตก่อนเริ่มลงทะเบียน วิชาวิทยานิพนธ์และมีอาจารย์ท่ีปรึกษาวิชาการในการให้ คาปรึกษาการทาวิทยานิพนธ์ก่อน การมีอาจารย์ที่ ปรกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์ 5.6 หลักสตู รกาหนดให้การแต่งต้ังอาจารย์ท่ปี รึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นควา้ อสิ ระที่มีความเชย่ี วชาญ สอดคล้องกับหัวข้อวิทยานิพนธ์และมีคุณสมบัติของอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระเป็นไป ตามเกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู รระดบั บณั ฑติ ศึกษา พ.ศ. 2558 5.7 หลักสูตรมีระบบและกลไกในการควบคุมคุณภาพของวิทยานิพนธ์ ท้ังก่อน ระหว่าง และหลัง การ ดาเนินวิทยานิพนธ์ อาทิ การกาหนดคุณสมบัติและความสามารถในการทาวิจัยของนิสิตก่อนอนุมัติให้เริ่ม งานวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ์ จานวนวิทยานิพนธ์ที่ต้องดูแลต่ออาจารย์ที่ปรึกษา วิธีดาเนิน การจัดทาโครงร่าง วิทยานิพนธ์ การรายงานความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ คุณสมบัติของคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ เกณฑ์การ สอบ/ให้คะแนนและการตัดสินผลสอบ ระบบการเผยแพร่วิทยานิพนธ์และระบบฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ เป็น ตน้ 5.8 หลักสตู รจดั ให้มกี ระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธขิ์ องนิสิต 5.9 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ขณะนิสิตยังไม่สาเร็จการศึกษา ดาเนินการโดยการทวนสอบ คุณภาพผลการเรียนรู้ตามท่ีระบุใน มคอ. 3 และทวนสอบผลการวัดประเมินผลรายรายวิชา โดยกาหนดให้มี ระบบการประเมินการสอนของอาจารย์ผู้สอนโดยนิสิต การประเมินรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอนและนิสิต และ ระบบการนาผลการประเมินมาพัฒนาวิธีการจัดการเรียนการสอน ในปีการศึกษาถัดไป และ/หรือ ปรับปรุง เน้ือหารายวชิ าเมอ่ื ครบรอบการปรบั ปรุงหลกั สูตร 5
58 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้หลังจากนสิ ิตสาเร็จการศึกษา ดาเนนิ การประเมนิ จากนสิ ิตที่จบ มหาบัณฑิต และประเมินจากผูใ้ ชม้ หาบณั ฑิต 6. ส่งิ สนับสนุนการเรียนรู้ 6.1 หลักสูตรกาหนดให้มีระบบและกลไกในการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตรเป็นผู้มีส่วนร่วม เพื่อให้มีส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม โดยใช้ระบบการดาเนินงานของภาควิชา การศึกษา/คณะศกึ ษาศาสตร/์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 6.2 หลักสูตรกาหนดให้มีการประเมินความพึงพอใจในการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ท่ีเป็นส่ิงสนับสนุน การ เรียนรู้ของนิสิต ทุกปีการศึกษา และมีการนาผลการประเมินความพึงพอใจมาพิจารณาโดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตรเพ่ือนาเสนอเข้าที่ประชุมของฝ่ายบริหารและเสนอแนวทางการปรับปรงุ แก้ไขอยา่ งสมา่ เสมอ 6.3 การบริหารงบประมาณบรหิ ารงบประมาณ ตามสดั สว่ นงบประมาณทีไ่ ด้รับจดั สรรจากมหาวทิ ยาลยั 6.4 ทรพั ยากรการเรียนการสอนที่มีอยเู่ ดมิ หนังสือ ตารา เอกสาร และวารสารท่ปี ระกอบการเรียนการสอนสว่ นใหญ่มีอย่ใู นห้องสมุด คณะ ศึกษาศาสตร์ นอกจากนี้ นิสิตและคณาจารย์สามารถค้นคว้าข้อมูลวิจัย ตลอดจนข้อมูลข่าวสารวิชาการท่ี เกี่ยวข้องด้านการศึกษา โดยใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของสานักหอสมุด และยังสามารถขอรับบริการยืม หนังสือจากสถาบันอุดมศึกษาอ่ืนๆ ได้ผ่านทางสานักหอสมุด ซ่ึงสรุปแหล่งทรัพยากรข้อมูล ความรู้ งานวิจัยที่ สามารถคน้ ได้ดังนี้ จานวนทรัพยากรสารสนเทศของสานกั หอสมุด ตาราเรียน ภาษาไทย 155,691 เล่ม ภาษาตา่ งประเทศ 43,788 เลม่ วารสาร วารสารออนไลน์ 10 ช่ือเร่ือง วารสารฉบบั พมิ พ์ 488 ชอ่ื เร่อื ง หนังสือพิมพ์ 16 ชื่อเรื่อง 6.5. การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพ่ิมเติม เป็นไปตามงบประมาณที่ได้รับจากมหาวิทยาลัย โดยเน้นการจัดหา หนังสือรวมบทความงานวจิ ัยต่างประเทศ ด้านการศึกษา หนังสือวิเคราะห์แนวโน้มการวิจัย ดา้ นการศึกษาของไทยและต่างประเทศ วารสารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Journal) ครภุ ณั ฑ์ ด้านการศึกษาสาหรับการ จดั การเรยี นการสอนและการทางานวิจยั สาหรับคณาจารยแ์ ละนิสติ ในหลักสูตรนี้ และสาขาทเ่ี ก่ียวข้อง
59 7. ตวั บ่งชผ้ี ลการดาเนินงาน (Key Performance Indicators) 7.1) ตัวบง่ ชห้ี ลัก (Core KPIs) การประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการการเรียนการสอนที่จะทาให้บัณฑิตมีคุณภาพอย่างน้อย ตามมาตรฐานผลการเรียนรทู้ กี่ าหนด โดยมีตัวบ่งชผ้ี ลการดาเนินงาน ดงั นี้ ที่ ตวั บ่งชีผ้ ลการดาเนนิ งาน ปีท่ี 1 ปที ี่ 2 ปที ี่ 3 2561 2562 2563 1 อาจารย์ประจาหลกั สตู รอยา่ งน้อยร้อยละ 80 มีสว่ นรว่ มในการประชมุ เพอ่ื วางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนนิ งานหลกั สตู ร 2 มีรายละเอยี ดของหลกั สตู ร ตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐาน คุณวฒุ ิระดับอดุ มศึกษาแห่งชาติ หรอื มาตรฐานคุณวุฒสิ าขา/สาขาวิชา (ถ้ามี) 3 มรี ายละเอียดของรายวชิ า และรายละเอยี ดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถา้ มี) ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อยา่ งนอ้ ยกอ่ นการเปดิ สอนในแต่ละภาคการศกึ ษา ให้ครบทกุ รายวชิ า 4 จดั ทารายงานผลการดาเนินการของรายวชิ า และรายงานผลการดาเนินการของ ประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลัง สิน้ สุดภาคการศกึ ษาท่เี ปดิ สอนใหค้ รบทกุ รายวชิ า 5 จดั ทารายงานผลการดาเนนิ การของหลกั สตู ร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วนั หลังส้ินปีการศึกษา 6 มกี ารทวนสอบผลสัมฤทธข์ิ องนิสิตตามมาตรฐานผลการเรยี นรู้ ทีก่ าหนดใน มคอ. 3 และ มคอ.4 (ถา้ ม)ี อย่างนอ้ ยรอ้ ยละ 25 ของรายวชิ าท่ีเปิดสอนในแต่ละปี การศกึ ษา 7 มกี ารพัฒนา/ปรบั ปรุงการจัดการเรยี นการสอน กลยุทธ์การสอน หรือ การ ประเมินผลการเรยี นรู้ จากผลการประเมนิ การดาเนนิ งานทร่ี ายงานใน มคอ.7 ปที ี่ แลว้ 8 อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทกุ คน ได้รับการปฐมนิเทศหรือคาแนะนาดา้ นการจัดการ เรยี นการสอน 9 อาจารยป์ ระจาทุกคนได้รบั การพฒั นาทางวิชาการ และ/หรอื วชิ าชพี อย่างนอ้ ยปลี ะหนึ่งครงั้ 10 จานวนบคุ ลากรสนบั สนุนการเรยี นการสอน (ถ้าม)ี ไดร้ ับการพฒั นาวิชาการ และ/ หรอื วชิ าชพี ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50 ต่อปี 11 ระดบั ความพึงพอใจของนสิ ติ ปีสดุ ทา้ ย/บณั ฑติ ใหม่ทมี่ ตี อ่ คุณภาพหลกั สตู ร เฉลีย่ ไม่ น้อยกว่า 3.5 จากคะแนนเตม็ 5.0 12 ระดับความพึงพอใจของผใู้ ช้บณั ฑิตท่มี ีต่อบณั ฑติ ใหม่ เฉล่ยี ไม่น้อยกว่า 3.5 จาก คะแนนเตม็ 5.0
60 เกณฑก์ ารประเมินผลการดาเนินงานเพอื่ การรบั รองและเผยแพร่หลักสตู ร เกณฑ์การประเมินผลการดาเนนิ การ เป็นไปตามที่กาหนดในมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษาแหง่ ชาติ หลักสูตรที่ได้มาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ต้องมีผลดาเนินการบรรลุเป้าหมายตัวบ่งช้ี บงั คับ (ตัวบ่งช้ที ี่ 1-5) และตัวบ่งชีท้ ่ี 6-12 จะตอ้ งดาเนินการใหบ้ รรลุตามเป้าหมายอย่างน้อยร้อยละ 80 ของตัว บ่งช้ีในปีที่ประเมิน จึงจะได้รับรองวา่ หลักสูตรมีมาตรฐานเพ่ือเผยแพรต่ ่อไป และจะต้องรับการประเมินให้อยใู่ น ระดับดตี ามหลกั เกณฑ์น้ีตลอดไป เพอ่ื การพัฒนาคุณภาพบัณฑิตอย่างตอ่ เนือ่ ง 7.2.)ตัวบ่งช้ขี องหลักสตู ร/สาขาวชิ า (Expected Learning Outcomes ) หลกั สูตรการศกึ ษามหาบณั ฑติ สาขาวิชาสงั คมศึกษา ไดก้ าหนดตัวบง่ ชขี้ องหลกั สตู รไวด้ งั นี้ ที่ ตัวบง่ ชีผ้ ลการดาเนนิ งานในระดับหลักสตู ร ค่าเป้าหมาย คา่ เปา้ หมาย ค่าเป้าหมาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 1 สามารถประยุกตใ์ ช้ความรดู้ า้ นสังคมศกึ ษา เพอ่ื การประกอบ 25 50 >รอ้ ยละ 85 อาชพี ได้ 2 มีทกั ษะการสื่อสารและถา่ ยทอดองค์ความรดู้ ้านสังคมศกึ ษาได้ 25 50 >ร้อยละ 85 3 สามารถปรบั ตัวและทางานร่วมกบั ผูอ้ ่ืนได้ 25 50 >ร้อยละ 85 4 มที กั ษะการทาวจิ ัยและสังคมศึกษา 25 50 >ร้อยละ 85 5 มที ักษะการเรยี นรแู้ ละสามารถใชเ้ ทคโนโลยเี พ่ือเพ่มิ พนู องค์ 25 50 >รอ้ ยละ 85 ความรู้ ทกั ษะทางสงั คมศกึ ษา 6 เหน็ ความสาคญั และร่วมเปน็ ส่วนหนงึ่ ขององคก์ ร/หน่วยงาน ท่ี 25 50 >ร้อยละ 85 ส่งเสริมการพัฒนาสังคมศกึ ษา หมายเหตุ การประเมินตัวบ่งช้จี ะดาเนินการหลังนสิ ิตสาเรจ็ การศึกษา ท้งั นี้คณะศกึ ษาศาสตร์จะเป็นผ้คู วบคมุ โดยการออกประกาศ กากบั ตดิ ตาม ประเมินตัวบง่ ช้ใี หบ้ รรลุเป้าหมาย
61 7.3)ตัวบ่งชีใ้ นระดบั มหาวิทยาลัย ตัวบ่งช้ีในระดับมหาวิทยาลัย จะควบคุมโดยการออกประกาศ มาตรการ กากับ ติดตาม ประเมินตัว บ่งชี้ให้บรรลุเป้าหมาย โดยมหาวทิ ยาลัย ที่ ตวั บ่งช้ผี ลการดาเนินงานในระดับมหาวทิ ยาลยั ค่าเปา้ หมาย คา่ เปา้ หมาย ค่าเป้าหมาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 1 ร้อยละของรายวชิ าเฉพาะสาขาทั้งหมดท่ีเปดิ สอนมีวิทยากรจาก 35 40 45 ภาคธรุ กจิ เอกชน/ภาครฐั มาบรรยายพิเศษอยา่ งนอ้ ย 1 ครง้ั 2 รอ้ ยละของผสู้ าเรจ็ การศึกษาทีจ่ บการศกึ ษาภายในระยะเวลาที่ 20 กาหนดตามแผนการศกึ ษาของหลกั สูตร 2 ปี 3 รอ้ ยละของจานวนรายวชิ าทมี่ กี ารเรยี นการสอนในลกั ษณะบรู ณา 40 50 50 การศาสตร์ 4 ร้อยละของจานวนงานวิจยั ท่มี ีงานวิจยั ในลักษณะบูรณาการศาสตร์ 20 30 5 จานวนนวตั กรรมท่สี รา้ งข้นึ โดยนสิ ิตในระดบั บณั ฑติ ศึกษา อย่างนอ้ ยรอ้ ย อยา่ งนอ้ ยร้อยละ ละ 60 ของ 70 ของจานวน จานวนนสิ ิต นิสิต 6 จานวน start-up/ entrepreneurship อย่างนอ้ ย 1 อย่างนอ้ ย 2 รายการ รายการ 7 จานวนเครอื ขา่ ยความร่วมมอื ทางวิชาการกับภาครัฐ เอกชน สถาน อยา่ งน้อย 1 อย่างน้อย 1 อยา่ งนอ้ ย 1 ประกอบการ ในประเทศ และ หรอื ต่างประเทศ ความร่วมมือ ความรว่ มมือ ความร่วมมือ 8 จานวนพ้ืนทีเ่ ปา้ หมาย (target area) ใหผ้ ู้เรียนไดพ้ ฒั นาองค์ อย่างน้อย 1 อย่างนอ้ ย 1 อย่างนอ้ ย 1 ความร้แู ละสร้างนวัตกรรมเพอื่ พฒั นาเศรษฐกิจ และคุณภาพชวี ติ พ้ืนที่ พืน้ ที่ พ้นื ที่ ความเป็นอยูข่ องประชาชน
62 หมวดที่ 8 การประเมนิ และปรับปรุงการดาเนนิ การหลกั สูตร 1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน 1.1 การประเมินกลยทุ ธก์ ารสอน - มกี ารประเมนิ ผลการสอนของอาจารยโ์ ดยนสิ ิต และนาผลการประเมินมาวิเคราะห์เพื่อหาจดุ อ่อนและ จุดแขง็ ในการสอนของอาจารยผ์ ูส้ อน เพ่อื ปรับกลยทุ ธก์ ารสอนให้เหมาะสม โดยอาจารย์แตล่ ะทา่ น - มีการประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องนิสติ โดยการสอบ - มีการประเมินผลการเรียนรูข้ องนสิ ติ โดยการปฏบิ ัตงิ านกลุ่ม - วิเคราะห์เพ่ือหาจุดอ่อนและจุดแข็งในการเรียนรู้ของนิสิต เพื่อปรับกลยุทธ์การสอนให้เหมาะสมกับนิสิต แตล่ ะชั้นปี โดยอาจารยผ์ ู้สอนแตล่ ะรายวชิ า 1.2 การประเมนิ ทักษะของอาจารยใ์ นการใช้แผนกลยทุ ธก์ ารสอน - ใหน้ สิ ติ ไดป้ ระเมินผลการสอนของอาจารย์ในทุกด้าน ท้ังในดา้ นทักษะ กลยทุ ธ์การสอน และการใชส้ ่ือ ในทกุ รายวิชา 2. การประเมนิ หลักสตู รในภาพรวม - ประเมนิ โดยนสิ ิตปีสดุ ท้าย - ประเมนิ โดยบณั ฑิตที่สาเรจ็ การศกึ ษา - ประเมนิ โดยผู้ใชบ้ ัณฑติ /ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสยี อ่นื ๆ 3. การประเมินผลการดาเนนิ งานตามรายละเอียดหลกั สูตร การประเมินคุณภาพการศึกษาประจาปี ตามดัชนีบ่งชี้ผลการดาเนินงานท่ีระบุในหมวดที่ 7 ข้อ 7 โดย คณะกรรมการประเมินอย่างน้อย 3 คน ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาอย่างน้อย 1 คน ที่ได้รับการ แต่งต้ังจากมหาวิทยาลยั 4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรงุ ให้กรรมการวิชาการประจาสาขาวิชา/ภาควิชา รวบรวมข้อมูลจากการประเมินการเรียนการสอนของ อาจารย์ นิสิต บัณฑิต และผู้ใช้บัณฑิต และข้อมูลจาก มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ. 7 เพ่ือทราบปัญหาของการ บริหารหลักสูตรทั้งในภาพรวมและในแต่ละรายวิชา และนาไปสู่การดาเนินการปรับปรุงรายวิชาและหลักสูตร ต่อไป สาหรับการปรับปรุงหลักสูตรนั้นจะกระทาทุก ๆ 2 ปี ท้ังนี้เพื่อให้หลักสูตรมีความทันสมัยและสอดคล้อง กับความตอ้ งการของผู้ใช้บัณฑติ
63 ภาคผนวก ก คาส่งั แตง่ ต้งั คณะกรรมการพฒั นาหลักสูตร
64
65
66 ภาคผนวก ข รายงานการประชมุ /ผลการวิพากษห์ ลกั สตู ร
67 รายงานการประชุมวพิ ากษห์ ลักสูตรการศกึ ษามหาบณั ฑิต สาขาวชิ าอังกฤษ หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2561 ในวันท่ี 23 มกราคม พ.ศ.2561 ณ ห้องศาสตราจารย์เกยี รติคุณ ดร.พนสั หนั นาคนิ ทร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ผู้เขา้ ร่วมประชุม คณบดี/ประธาน 1. รองศาสตราจารย์ ดร.สาราญ มีแจง้ ผู้ทรงคณุ วุฒภิ ายนอก 2. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เฟอื่ งอรณุ ปรีดีดิลก อาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู รและอาจารยป์ ระจาหลกั สูตร 3. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อจั ฉรา ศรพี ันธ์ อาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลกั สูตรและอาจารยป์ ระจาหลกั สูต 4. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐเชษฐ์ พลู เจริญ ผูท้ รงคณุ วุฒิภายนอก 5. ดร.พชรภัทร พึงราพรรณ อาจารย์ประจาหลักสูตร 6. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.อนชุ า กอนพว่ ง คณะกรรมการพฒั นาหลักสูตรฯ 7. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สกนธช์ ัย ชนูนนั ท์ 8. นางวนั ทนา มาเตยี ง 9. นางภาตดี า อ้นมาลัย 10. นางณัฐธภา วงศบ์ า 11. นายณัฐเอก แกว้ วรรณดี 12. นางสาวองั คณา แทนออมทอง ผู้ไม่เข้ารว่ มประชุม ตดิ ราชการ 1. รศ.ดร.ชัยวฒั น์ สุทธริ ตั น์ เปิดประชมุ เวลา 09.00 น. วาระที่ 1 แจง้ เพอื่ ทราบ ประธานชี้แจงเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และหลักการในการเปิดหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชา สังคมศึกษา หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2561 เพอ่ื ให้เหมาะสมกับสภาพการณท์ ีเ่ ปล่ยี นไป มติ ที่ประชุมรับทราบ การดาเนินการและการเปิดหลักสูตร เพื่อให้ทันใช้กับนิสิตที่เข้าศึกษาในระดับ บณั ฑิตศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2561
68 วาระท่ี 2 เรอื่ งพิจารณา การร่างหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561 ได้แต่งตั้ง คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรตามโครงสร้างท่ีมหาวิทยาลัยกาหนด โดยได้เชิญอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิทั้งภายในและภายนอก อาจารย์ประจาหลักสูตรสาขาวิชาภาษาไทยเข้าร่วมพิจารณา วพิ ากษห์ ลักสตู ร มติ คณะกรรมการวิพากษ์แต่ละท่านไดแ้ สดงความคิดเห็นในการวิพากษห์ ลักสตู รดังน้ี กรรมการทา่ นที่ 1 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เฟอื่ งอรณุ ปรีดีดลิ ก ผ้ทู รงคุณวฒุ ิภายนอก มีขอ้ คดิ เหน็ และข้อเสนอแนะเก่ยี วกบั หลักสูตรดังนี้ 1. ความคดิ เห็นเกย่ี วกับสถานการณภ์ ายนอกหรือการพฒั นาทางเศรษฐกจิ ควรเพิ่มการเช่อื มโยงสถานการณภ์ ายนอกหรอื การพัฒนาทางเศรษฐกิจกบั แนวคดิ การพฒั นาอย่าง ยั่งยืน (Sustainable Development : SD) และการศกึ ษาเพอ่ื การพัฒนาอย่างย่ังยนื (Education for Sustainable Development) 2. ความคิดเหน็ เกี่ยวกับวัตถุประสงคข์ องหลักสูตร เหมาะสม 3. ความคดิ เห็นเกยี่ วกับโครงสรา้ งหลกั สูตร เหมาะสม 4. ความคดิ เห็นเกี่ยวกับแผนการศกึ ษาของหลักสูตร เหมาะสม 5. ความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั เน้ือหารายวิชาของหลกั สตู ร ควรขยายความคาอธิบายรายวิชา 399503 สังคมศึกษาในยคุ สังคมแห่งความรใู้ ห้ครอบคลมุ สงั คม ฐานความรู้ (Knowledge Based Society) นวตั กรรมบนฐานความรู้ (Knowledge Based Innovation) 6. ความคดิ เหน็ เกี่ยวกับการดาเนนิ งานหลกั สูตร ควรดาเนินงานใหม้ ีความม่ันใจว่านักศกึ ษาที่มาเรยี นนัน้ มาจากหน่วยงานและพน้ื ที่ใด ควรมีการ ประชาสมั พันธ์กบั แหล่งท่ีมีศักยภาพจะเขา้ มาศกึ ษาต่อเช่นจาก PLC การอบรมครู และช่องทางอ่นื หลกั สูตร อาจมกี ารสารวจความตอ้ งการ กาหนดกลมุ่ เปา้ หมายอย่างชดั เจน ทงั้ นเี้ พอื่ เป็นการเตรยี มพรอ้ มสาหรบั การ เปิดรบั นกั ศึกษาในปีการศึกษา 2561 กรรมการทา่ นที่ 2 ดร.พชรภัทร พงึ ราพรรณ ผทู้ รงคุณวุฒิภายนอก มีข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะเกีย่ วกับหลักสูตรดงั น้ี 1. ความคิดเหน็ เกี่ยวกับปรชั ญาหลกั สตู ร เหมาะสม 2. ความคดิ เห็นเก่ียวกับวัตถุประสงคข์ องหลักสูตร เหมาะสม 3. ความคดิ เห็นเกีย่ วกับโครงสรา้ งหลักสูตร เหมาะสม 4. ความคิดเห็นเกย่ี วกับแผนการศกึ ษาของหลกั สูตร เหมาะสม
69 5. ความคิดเหน็ เก่ียวกับเน้ือหารายวิชาของหลกั สตู ร เหมาะสม แต่ควรเนน้ การนาเสนออตั ลักษณ์ของหลกั สูตรใน 4 ประเด็น คือ ความรู้ การวจิ ยั การ สรา้ งนวตั กรรมทางด้านสังคมศึกษา และ การเช่ือมโยงความรู้กบั การเปลี่ยนแปลงดา้ นสังคม ชมุ ชนท้องถ่ิน ภมู ภิ าคและโลกอย่างรเู้ ทา่ ทัน 6. ความคดิ เห็นเก่ียวกับการดาเนนิ งานหลักสตู ร ควรมีการให้คาแนะนานักศึกษาท่ีเข้ามาเรียนว่า จากพ้ืนฐานด้านการศึกษาและการทางานน้ัน จะต้องเรยี นอะไรเพิม่ เตมิ และจะไดอ้ ะไรจากการศึกษาในหลกั สูตรสงั คมศกึ ษาน้ี ควรมกี ารแนะนานักศึกษาในสว่ นที่เกย่ี วข้องกับการทาวิทยานิพนธ์ ใน 3 ประเดน็ หลักคือ ประเด็น แรก ตอ้ งให้นกั ศึกษาตระหนักถึงสิ่งทีน่ ักศึกษามีความเช่ียวชาญว่าคืออะไร (เช่นมีพื้นฐานอาชีพอะไร) ประเด็นท่ี สอง คอื การเรียนเพม่ิ เติมจากหลกั สูตรนน้ั จะมีความรู้อะไรเพิ่มเตมิ อยา่ งไรบา้ ง และประเดน็ สดุ ท้ายคอื คณาจารย์ ที่อยู่ในหลักสูตรนั้นมีแนวในการทาวิจัยอย่างไร ต้องพิจารณาท้ังสามประเด็นดังกล่าวนี้จึงจะช่วยให้นักศึกษาได้ หัวขอ้ ในการทาวิทยานพิ นธแ์ ละทาให้สาเร็จได้ดงั ท่ีตั้งเป้าหมายไว้ กรรมการทา่ นที่ 3 อาจารย์ ดร.ณฐั ฎ์ หลักชยั กลุ ผู้ทรงคณุ วฒุ ภิ ายนอก มีขอ้ คดิ เห็นและข้อเสนอแนะเกย่ี วกับหลักสตู รดงั น้ี 1. ความคดิ เห็นเกีย่ วกับปรัชญาหลักสูตร เหมาะสม 2. ความคิดเห็นเกีย่ วกับวัตถุประสงคข์ องหลกั สูตร เหมาะสม 3. ความคิดเห็นเกยี่ วกับโครงสรา้ งหลกั สูตร เหมาะสม 4. ความคิดเหน็ เก่ียวกับแผนการศึกษาของหลักสูตร เหมาะสม 5. ความคิดเห็นเกยี่ วกับเนื้อหารายวชิ าของหลักสูตร เหมาะสม วาระอ่ืนๆ ประธานมอบหมายใหค้ ณะทางานดาเนนิ การปรับแกห้ ลักสูตรใหท้ นั ตามกาหนดเวลา ปิดประชมุ (ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐเชษฐ์ พลู เจริญ) ผ้บู นั ทึกการประชุม (ผู้ชว่ ยศาสตรจารย์ ดร.อจั ฉรา ศรีพนั ธ์) ผู้ตรวจรายงานการประชุม
70 ภาคผนวก ค ผลงานทางวิชาการ การคน้ คว้า วิจัย หรือการแตง่ ตาราของ อาจารย์ประจาหลกั สตู ร
71 ประวตั ิและผลงานวิชาการ ชอ่ื -สกุล (ภาษาไทย) : อจั ฉรา ศรีพันธ์ (ภาษาอังกฤษ) : Atchara Sriphan ผลงานทางวิชาการ 1. บทความวิจัย/บทความวิชาการทตี่ ีพิมพ์ (เรยี งลาดบั จากปปี ัจจบุ นั และตัวเข้ม&ขดี เส้นใต้ ช่ือ) 1.1 ระดบั นานาชาติ Atchara Sriphan. (2015). Dynamic Education Model for the Development of Knowledge Based Production Processes of Farmers’ Leader in the North of Thailand. Journal of Teaching and Education. 4(1).149-157. 1.2 ระดบั ชาติ - 1.3 ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชมุ วิชาการ (Proceedings) ระดบั นานาชาติ Atchara Sriphan. (2017). Community Based Education in Thailand:Implications for Practice, Research, and National Policy. Proceeding of The 20th Annual Southeastern Association of Educational Studies (SEAES) 2017, The University of North Carolina at Chapel Hill, USA. Atchara Sriphan. (2015). Key Success Factors of Knowledge and Innovation Creation for the Development of Production Process of Farmers in the North of Thailand. Proceeding of Multidisciplinary Academic Conference on Education, Learning, and Teachng, Czech Republic. Atchara Sriphan. (2014). Dynamic Education Model for the Development of Knowledge Based Production Processes of Farmers’ Leader in the North of Thailand. Proceeding of the International Journal of Arts & Sciences (IJAS) 2014, Germany. Atchara Sriphan. (2013). Knowledge Transfer Activities for the Development of Organic Rice Production of Community Producers Based on Sustainable Development Concept in Thailand. Proceeding of the 19th Global Knowledge Conference, Boston, USA. Atchara Sriphan. (2013). Knowledge Management Model of Community Producers for Development of Organic Traditional Textiles Based on Sustainable Development Concept in North of Thailand. Proceedings of the, International Conference of Restructuring of the Global Economy (ROGE), London, UK. 1.4 ตพี ิมพ์ในรายงานสืบเนอ่ื งจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) ระดับชาติ
72 อัจฉรา ศรีพนั ธ.์ (2556). การผลติ ฐานความรูจ้ ากทอ้ งถน่ิ สู่โลกาภิวตั น:์ การสรา้ งความรู้เพ่ือการพัฒนา สนิ ค้าและบรกิ ารอตุ สาหกรรมทอ่ งเท่ยี วเชงิ วัฒนธรรมตามแนวคดิ เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ย่ังยนื ใน ภาคเหนือ. รายงานสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการระดับชาติ , มรภ.เชยี งราย, 14-25 กมุ ภาพันธ์ 2556, เชียงราย 2. ผลงานที่ได้รับการจดสิทธิบัตร - 3. ตารา/หนังสอื - 4. ผลงานวิชาการในลกั ษณะอนื่ เชน่ ส่งิ ประดิษฐ์ หรอื งานสรา้ งสรรค์ งานแปล - 5. ผลงานทางวชิ าการท่รี ับใชส้ งั คม - ขอรับรองว่าผลงานทางวิชาการข้างต้น ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา เป็นผลงานทาง วิชาการท่ีได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการ เป็นผลงานทางวชิ าการในรอบ 5 ปียอ้ นหลัง และเขยี นตามรูปแบบบรรณานกุ รม รบั รองความถกู ต้อง ลงช่ือ .................................................... (ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา ศรีพันธ์) เจ้าของประวัติและผลงานทางวชิ าการ
73 ประวัติและผลงานวิชาการ ชอ่ื -สกุล (ภาษาไทย) : ณัฐเชษฐ์ พลู เจริญ (ภาษาอังกฤษ) : Nattachet Pooncharoen ผลงานทางวิชาการ 1. บทความวจิ ัย/บทความวิชาการท่ีตพี มิ พ์ (เรยี งลาดับจากปปี จั จบุ นั และตัวเข้ม&ขีดเสน้ ใต้ ชื่อ) 1.1 ระดบั นานาชาติ Nattachet Pooncharoen. (2016). Marketing Knowledge Creation Model of SMEs in Agricultural Processing Industry in Phetchabun, Thailand. International Business Management. July 2016. Nattachet Pooncharoen. (2015). The Effects of Economic Factors and Knowledge Management Practices on the Productivity of Small Farmers in the North of Thailand. . International Business Management. June 2015. 1.2 ระดับชาติ - 1.3 ตพี มิ พใ์ นรายงานสบื เน่ืองจากการประชมุ วชิ าการ (Proceedings) ระดับนานาชาติ Nattachet Pooncharoen. (2016). Knowledge Creation Practices of SMEs in Agricultural Industry of Phetchabun, Thailand. Proceeding of The 6th Multidisciplinary Academic Conference in Prague 2016, Czech Republic (The 6th MAC 2016), Friday - Saturday, February 19-20, 2016. Nattachet Pooncharoen. (2015). Effects of Economic Factors and Knowledge Management Factors on the Productivity of Small Farmers in the North of Thailand. Proceeding of European Conference for Academic Disciplines, Journal of Arts and Sciences, Katholische Akademie der Erzdiozere, Freiburg, Germany, 2015. Nattachet Pooncharoen. (2013). Knowledge Creation of SMEs in the Lower Northern Thailand. Proceeding of the International Conference of Restructuring of the Global Economy (ROGE). London, UK. June 4, 2013. Nattachet Pooncharoen. (2013). The Effect of Global Economic Crisis on ASEAN Economic Integration, Proceeding of SASE (Society of Advancement in Socio-Economics) 2012, Masachusette Institute of Technology, Cambridge, Masachusette, U.S.A., June 2013. 1.4 ตพี ิมพ์ในรายงานสบื เนื่องจากการประชุมวชิ าการ (Proceedings) ระดบั ชาติ
74 ณัฐเชษฐ์ พลู เจริญ. (2556).การสง่ ออกไทยไปตลาดโลก. รายงานสบื เน่อื งจากการประชมุ วิชาการระดับชาติ , มรภ.เชยี งราย, 14-25 กมุ ภาพนั ธ์ 2556, เชยี งราย. 2. ผลงานทไ่ี ด้รับการจดสิทธิบตั ร - 3. ตารา/หนังสือ - 4. ผลงานวิชาการในลกั ษณะอื่น เชน่ ส่ิงประดิษฐ์ หรอื งานสรา้ งสรรค์ งานแปล - 5. ผลงานทางวชิ าการที่รับใชส้ งั คม - ขอรับรองว่าผลงานทางวิชาการข้างต้น ไม่ใช่ส่วนหน่ึงของการศึกษาเพื่อรับปริญญา เป็นผลงานทาง วิชาการท่ีได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการ เป็นผลงานทางวชิ าการในรอบ 5 ปยี ้อนหลัง และเขียนตามรูปแบบบรรณานุกรม รับรองความถูกต้อง ลงชือ่ ............ ........................................ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณฐั เชษฐ์ พลู เจริญ) เจา้ ของประวตั แิ ละผลงานทางวชิ าการ
75 ประวตั แิ ละผลงานทางวชิ าการ ชือ่ -สกุล (ภาษาไทย) : สรียา โชตธิ รรม (ภาษาอังกฤษ) : Sareeya Chotitham ผลงานทางวิชาการ 1. บทความวิจยั /บทความวิชาการท่ีตพี ิมพ์ 1.1 ระดับนานาชาติ - 1.2 ระดบั ชาติ Chotitham, S., Wongwanich, S., & Wiratchai, N. (2015). Development of the Engaged learning in reading research articles measure. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 171, p.1325-1329. Chotitham, S., & Wongwanich, S. (2014). The reading attitude measurement for enhancing elementary school students’ achievement. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 116, p.3213-3217. Chotitham, S., Wongwanich, S., & Wiratchai, N. (2014). Deep learning and its effects on achievement. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 116, p. 3313-3316. 1.3 ตีพิมพใ์ นรายงานสบื เนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการ (Proceeding) ระดับนานาชาติ - 1.4 ตีพิมพใ์ นรายงานสบื เนือ่ งจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) ระดบั ชาติ - 2. ผลงานทไ่ี ด้รับการจดสิทธิบตั ร - 3. ตารา/หนงั สอื - 4. ผลงานวิชาการในลักษณะอน่ื เช่น ส่ิงประดิษฐ์ หรืองานสร้างสรรค์ งานแปล - 5. ผลงานทางวิชาการทร่ี ับใชส้ ังคม -
76 ขอรับรองว่าผลงานทางวิชาการข้างต้น ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา เป็นผลงานทาง วิชาการท่ีได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่ง ทางวิชาการ เปน็ ผลงานทางวชิ าการในรอบ 5 ปยี อ้ นหลงั และเขียนตามรปู แบบบรรณานุกรม
77 ประวตั ิและผลงานทางวิชาการ ชอื่ -สกุล (ภาษาไทย) : นายอนุชา กอนพ่วง (ภาษาอังกฤษ) : Anucha Kornpuang ผลงานทางวิชาการ 1.บทความทางวชิ าการ/บทความวิจัยท่ตี พี ิมพ์ 1.1 ระดบั นานาชาติ - 1.2 ระดบั ชาติ ปกรณ์ ประจนั บาน อนุชา กอนพ่วง. การวจิ ัยและพฒั นาแบบวดั ทักษะในศตวรรษที่ 21 ดา้ น การรเู้ ท่าทันสื่อ ของนักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2559;18(1): 144-154. (TCI กล่มุ 1) สงบ วงศ์กลม อนุชา กอนพว่ ง. การพฒั นาสมรรถนะสาหรับผบู้ รหิ ารโรงเรียนที่มีโรงเรียนขนาด เล็ก มาควบรวม ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวร2559;18(3):73-85. (TCI กลุม่ 1) อิทธินนั ท์ ยายอด อนชุ า กอนพ่วง. รปู แบบการเสรมิ สรา้ งความผูกพนั ของครูในสถานศึกษา สงั กัดสานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2559;18(3):86-97. (TCI กลุ่ม 1) อนชุ า กอนพ่วง. รปู แบบการบริหารการนเิ ทศการศึกษา ของสานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา ประถมศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 2558;17(1):49-58. (TCIกลุ่ม 1) อนุชา กอนพ่วง.รปู แบบของปัจจยั เชิงสาเหตุพหรุ ะดับท่ีสง่ ผลตอ่ ประสิทธผิ ลการบรหิ ารงานวชิ าการ ในโรงเรียนมัธยมศกึ ษา. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2558,17(1):103-116. (TCI กลุ่ม 1) อนชุ า กอนพ่วง. อนาคตภาพการจดั การมธั ยมศกึ ษาของประเทศไทยในสองทศวรรษหน้า. วารสาร ศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2558;17(3):71-81. (TCI กลมุ่ 1) อนุชา กอนพ่วง. การวิเคราะหอ์ งคป์ ระกอบภาวะผนู้ าเชงิ นวตั กรรม สาหรบั ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา ข้ันพ้ืนฐาน. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร 2557;16(4):131-140.(TCI กลมุ่ 1) อนชุ า กอนพ่วง.รปู แบบการบริหารจดั การกีฬาขององค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั . วารสาร ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร 2557;16(4):104-115. (TCI กลุ่ม 1) มนูญ แกว้ แสนเมือง ฉันทนา จันทรบ์ รรจง วทิ ยา จนั ทร์ศลิ า อนชุ า กอนพ่วง. การพัฒนาระบบการ เทียบโอนผลการเรยี นรแู้ ละประสบการณส์ าหรบั สถานศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการ การอาชวี ศกึ ษา.วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร 2557;16(3):25-32.(TCI กลมุ่ 1)
78 อนุชา กอนพ่วง.การศึกษาดงู านและภมู ิภาคศึกษา ณ ประเทศญี่ป่นุ . วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร 2557;16(3):225-235. (TCI กล่มุ 1) อนชุ า กอนพ่วง. กลยุทธก์ ารบริหารงานวชิ าการของวทิ ยาลัยเทคนิค สังกัดสานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2557;16(2):82-91.(TCIกลมุ่ 1) อนุชา กอนพ่วง. รูปแบบการพฒั นาสมรรถนะการจดั ทาแผนกลยทุ ธข์ องนักวิเคราะหน์ โยบายและ แผน สงั กัดสานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษา. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวร 2557;16(2):92-103. (TCI กลุ่ม 1) อนชุ า กอนพ่วง. รูปแบบการบรหิ ารศูนยก์ ารเรียนรูส้ าหรบั เด็กไรส้ ญั ชาติในเขตชายแดนไทย-พมา่ . วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2557;16(2):119-128. (TCI กลุม่ 1) อนุชา กอนพ่วง. การพัฒนารูปแบบการบรหิ ารการนเิ ทศการศกึ ษาของสานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา ในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ สามจังหวดั ชายแดนภาคใต.้ วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย นเรศวร 2557;16(1):63-77. (TCI กลุ่ม 1) อนุชา กอนพ่วง. การพฒั นากลยทุ ธก์ ารบริหารแบบดุลยภาพ (BSC) สาหรบั สถานศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 2557;16(1):108-119. (TCI กลมุ่ 1) อนชุ า กอนพ่วง. รปู แบบการพัฒนาสมรรถนะการปฏบิ ตั ิงาน ของคณะกรรมการสถานศึกษา ข้ันพ้นื ฐานขนาดเล็ก. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 2556;15(5):20-33. (TCI กลุ่ม 1) อนชุ า กอนพ่วง. รปู แบบการพัฒนาสมรรถนะดา้ นการจดั การเรียนรขู้ องครใู หมโ่ รงเรยี นเอกชน ประเภทสามญั ศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร 2556;15(5):43-53. (TCI กลุม่ 1) เทอดศกั ดิ์ โพธิ์ทอง สกุ ญั ญา แชม่ ช้อย วิทยา จันทร์ศิลาอนุชา กอนพว่ ง. การพฒั นารปู แบบ การบริหารสถานศึกษาสงั กัดองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั . วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2556;15(5):69-77. (TCI กลมุ่ 1) อนชุ า กอนพ่วง. กลยทุ ธก์ ารสนบั สนนุ การพัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี นสาหรบั โรงเรยี นขนาดเล็ก ของ สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาในเขตภาคเหนือตอนลา่ ง. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 2556;15(5):78-90. (TCI กลุ่ม 1) อนุชา กอนพ่วง. รูปแบบการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตการทางานของครูในสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2556, 15(5):113-123. (TCI กลุม่ 1) อนชุ า กอนพ่วง. การพัฒนารูปแบบการบรหิ ารกจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชนข์ อง สถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน สงั กดั สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา ในเขตชายแดนไทย- พมา่ . วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร 2556;15(5):124-135. (TCI กลุ่ม 1)
79 อนุชา กอนพ่วง. รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะด้านการทางานเปน็ ทมี ของบุคลากรทางการศึกษา ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานในสานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษา. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร 2556;15(5):136-145. (TCI กล่มุ 1) อนชุ า กอนพ่วง. การพัฒนายุทธศาสตร์สถานศึกษาขั้นพน้ื ฐานท่ีมีขีดสมรรถนะสูง สงั กัดสานักงาน เขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษา. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2556;15(5):146-159. (TCI กลมุ่ 1) อนุชา กอนพ่วง . รปู แบบการบรหิ ารองค์คณะบุคคลเพ่ือพัฒนางานวิชาการของโรงเรียนในสังกัด สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2556;15(5):160-168.(TCI กลุ่ม 1) อนชุ า กอนพ่วง. รูปแบบการพฒั นาครูเพอื่ ศิษย์ในสถานศึกษา สงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษา.วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร 2556;15(5) : 193 - 205. (TCIกล่มุ 1) อนุชา กอนพ่วง. รปู แบบการบรหิ ารสถานศึกษาเพ่ือเสรมิ สรา้ งคุณลักษณะธรรมาธปิ ไตย ของ นกั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 2556;15(5):206- 215. (TCI กลมุ่ 1) อนชุ า กอนพ่วง. การพัฒนารูปแบบการบรหิ ารผลการปฏิบัตงิ านของครู สังกัดสานักงานเขตพน้ื ที่ การศึกษาประถมศกึ ษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร 2556;15(5):234-247. (TCI กลุ่ม 1) อนชุ า กอนพ่วง. รูปแบบการบริหารงานกลุ่มส่งเสริมสถานศกึ ษาเอกชน สงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษา. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2556;15(5):266-267. (TCI กลมุ่ 1) อนุชา กอนพ่วง. รปู แบบการพัฒนาภาวะผนู้ าเชงิ เปลย่ี นผา่ นทางสังคมของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา สงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2556;15(2):35-45. (TCI กลุ่ม 1) อนชุ า กอนพ่วง. กลยุทธ์การพัฒนาจติ สาธารณะของนกั เรียนในสถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานระดบั ประถมศกึ ษา. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2556;15(2) : 46-57. (TCI กลมุ่ 1) อนชุ า กอนพ่วง. การพฒั นากลยทุ ธก์ ารนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้ในการบริหาร สถานศกึ ษาขนาดเลก็ . วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร 2556;15(1):33-47. (TCI กลมุ่ 1)
80 1.3 ตพี ิมพ์ในรายงานสืบเน่อื งจากการประชุมวชิ าการ (Proceedings) ระดับนานาชาติ - 1.4 ตพี ิมพใ์ นรายงานสบื เนือ่ งจากการประชุมวิชาการ (Proceedings)ระดับชาติ - 2. ผลงานท่ีไดร้ บั การจดสิทธิบัตร - 3. ตารา/หนังสอื - 4. ผลงานในลักษณะอ่ืน เชน่ ส่ิงประดิษฐ์หรอื งานสร้างสรรค์ งานแปล - 5.ผลงานวิชาการทร่ี บั ใช้สังคม - ขอรบั รองวา่ ผลงานทางวิชาการข้างตน้ ไม่ใช่สว่ นหนงึ่ ของการศึกษาเพ่ือรบั ปริญญา เป็นผลงานทาง วชิ าการทไ่ี ดร้ ับการเผยแพรต่ ามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนดในการพิจารณาแตง่ ตั้งให้บุคคลดารงตาแหนง่ ทางวิชาการ เปน็ ผลงานวชิ าการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง รบั รองความถกู ต้อง ลงชื่อ (ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อนชุ า กอนพว่ ง) เจา้ ของประวตั แิ ละผลงาน
81 ประวัติและผลงานทางวิชาการ ช่อื -สกลุ (ภาษาไทย) : ชยั วฒั น์ สุทธริ ัตน์ (ภาษาองั กฤษ) : Chaiwat Sutthirat ผลงานทางวิชาการ 1. บทความทางวิชาการ/บทความวจิ ยั ที่ตีพิมพ์ 1.1 ระดับนานาชาติ - 1.2 ระดับชาติ พศิ าล เครอื ลิต, ชัยวัฒน์ สทุ ธิรตั น์. ผลการจัดกิจกรรมเสรมิ หลกั สูตรค่ายสงิ่ แวดลอ้ ม ทมี่ ีต่อจรยิ ธรรม ส่งิ แวดล้อม ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร. 2559; 18(1): 155-165. จิราวลั ณ์ วนิ าลยั วนากูล ชยั วฒั น์ สุทธริ ัตน์ และชมนาด วรรณพรศริ .ิ รูปแบบการเรยี นการสอนโดยใช้ ยทุ ธวิธอี ภิปัญญาที่ส่งเสริม ความสามารถในการถา่ ยโยงการเรยี นรู้ และการแกป้ ัญหาทางการ พยาบาลของนสิ ติ พยาบาล. วารสารการพยาบาลและการศกึ ษา. 2558; 8(3): 114-126. เทยี มจนั ทร์ พานชิ ยผ์ ลินไชย วารรี ตั น์ แกว้ อุไร ชัยวัฒน์ สุทธริ ัตน์ ฉลอง ชาตรปู ระชวี นิ อมรรัตน์ วฒั นาธร และทิพยรัตน์ สทิ ธวิ งศ.์ การประเมินโครงการพัฒนาครคู ณุ ภาพโดยใชก้ ระบวนการสร้างระบบพ่ีเลี้ยง ของคณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวรและสานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 38 และเขต 39 ร่วมกบั สานกั งานเขตพ้ืนท่ปี ระถมศึกษาสโุ ขทยั เขต 2. วารสารวชิ าการและวจิ ยั สังคมศาสตร.์ 2557; 9 (27) : 15-32 (TCI กลมุ่ 1) 1.3 ตีพิมพใ์ นรายงานสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการ (Proceedings) ระดับนานาชาติ - 1.4 ตีพมิ พ์ในรายงานสืบเน่ืองจากการประชมุ วชิ าการ (Proceedings) ระดบั ชาติ - 2. ผลงานทีไ่ ดร้ บั การจดสทิ ธิบัตร -
82 3. ตารา/หนังสือ ชัยวฒั น์ สทุ ธริ ัตน์. (2559). เทคนคิ การใชค้ าถามพัฒนาการคดิ . กรงุ เทพฯ : วพี รินท.์ ชยั วฒั น์ สทุ ธิรตั น์. (2559). 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรูท้ เ่ี นน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคญั . พิมพ์คร้งั ที่ 7. กรงุ เทพฯ : วพี รินท.์ ชยั วฒั น์ สุทธริ ัตน์. (2559). การพัฒนาหลักสูตร ทฤษฎีส่กู ารปฏบิ ัต.ิ พิมพค์ ร้ังที่ 5กรงุ เทพฯ : วพี รินท์. ชัยวฒั น์ สทุ ธิรัตน์. (2560). แนวโน้มหลักสตู รในศตวรรษที่ 21. กรงุ เทพฯ : วีพรนิ ท์. 4. ผลงานวิชาการในลักษณะอ่ืน เชน่ สิง่ ประดิษฐ์ หรอื งานสรา้ งสรรค์ งานแปล - 5. ผลงานทางวิชาการทร่ี บั ใชส้ งั คม - ขอรับรองว่าผลงานทางวิชาการข้างต้น ไม่ใช่ส่วนหน่ึงของการศึกษาเพื่อรับปริญญา เป็นผลงานทาง วิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งต้ังให้บุคคลดารงตาแหน่ง ทางวิชาการ เปน็ ผลงานทางวิชาการในรอบ 5 ปียอ้ นหลงั และเขยี นตามรูปแบบบรรณานกุ รม รบั รองความถูกต้อง ……………………………………………… (รองศาสตราจารย์ ดร.ชยั วฒั น์ สิทธิรตั น์) เจา้ ของประวตั แิ ละผลงานทางวิชาการ
83 ภาคผนวก ง ขอ้ บังคับมหาวิทยาลยั นเรศวร วา่ ดว้ ยการศึกษา ระดบั บณั ฑติ ศึกษา พ.ศ. 2559
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118