Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 1

บทที่ 1

Published by dome322proclean, 2020-05-22 03:25:33

Description: บทที่ 1

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรยี น แผนการเรียนที่ 1 เรอ่ื ง ประวตั ิไฟฟา้ และทฤษฎอี ิเลคตรอนเบือ้ งตน้ ในสมยั แรก ๆ มนษุ ยร์ ูว้ ่า ไฟฟา้ เกดิ จากปรากฏการณธ์ รรมชาติ เชน่ ฟ้าแลบ ฟ้ารอ้ ง และฟ้าฝ่า นบั เป็น เวลานานท่ีมนุษยไ์ ม่สามารถอธบิ ายความเป็นไปทแี่ ทจ้ ริงของไฟทด่ี เู หมือนว่าวงิ่ ลงจากฟา้ และมีอานาจในการ ทาลายไดจ้ นกระทงั้ มนษุ ยส์ ามารถประดษิ ฐส์ ายล่อฟา้ ไวป้ ้องกนั ฟา้ ผา่ ไดใ้ นเวลาต่อมา 2500 ปีก่อนคริสตศ์ กั ราช ชนพวกตวิ ตนั ทอ่ี ย่แู ถบฝ่ังแซมแลนดข์ องทะเลบอลติกในปรสั เซยี ตะวนั ออก ไดพ้ บหนิ สเี หลอื งชนิดหนง่ึ เม่ือถูกแสงอาทติ ยก์ จ็ ะมปี ระกายคลา้ ยทอง คณุ สมบตั พิ เิ ศษของมนั คือ เมื่อโยนลง ไปในกองไฟมนั จะสกุ สว่างและตดิ ไฟได้ เรียกว่า อาพนั ซง่ึ เกิดจากการทบั ถมของยางไมเ้ ป็นเวลานาน ๆ อาพนั ถกู นามาเป็นเครอ่ื งประดบั และหวี เมอื่ นาเอามาถูกกบั ขนสตั วจ์ ะเกดิ ประกายไฟขนึ้ ได้ และเมือ่ หวผี มดว้ ยหวีท่ี ทาจากอาพนั ก็จะมเี สยี งดงั ลกึ ลบั และหวกี จ็ ะดดู เสน้ ผม เหมอื นวา่ ภายในแทง่ อาพนั มีแรงลกึ ลบั อย่างหนงึ่ ซอ่ น อยู่ เมอ่ื กอ่ นครสิ ตศ์ กั ราช 600 ปี ทาลสี (Thales) นกั วิทยาศาสตรช์ าวกรกี ไดค้ น้ พบไฟฟ้าขนึ้ กล่าวคือ เมอื่ เขาไดน้ าเอาแทง่ อาพนั ถกู บั ผา้ ขนสตั ว์ แท่งอาพนั จะมีอานาจดดู สง่ิ ของตา่ งๆ ทเ่ี บา ได้ เชน่ เสน้ ผม เศษกระดาษ เศษผง เป็นตน้ เขาจงึ ใหช้ อื่ อานาจนวี้ า่ ไฟฟ้า หรือ อิเลก็ ตรอน (Electron) ซงึ่ มาจากภาษากรี กว่า อเี ลก็ ตรา้ (Elektra) ต่อมาเม่ือ พ.ศ. 2143 (ค.ศ. 1600) นกั วิทยาศาสตรช์ าวองั กฤษชือ่ ดร.วิลเลียม กิลเบริ ต์ (Dr”William Gilbert) ไดท้ าการทดลองอยา่ งเดียวกนั โดยนาเอาแทง่ แกว้ และยางสนมาถูกบั ผา้ แพรหรือผา้ ขนสตั วแ์ ลว้ นามา ทดลองดดู ของเบาๆ จะไดผ้ ลเชน่ เดียวกบั ทาลสี กลิ เบิรต์ จงึ ใหช้ ่ือไฟฟา้ ท่เี กดิ ขนึ้ นวี้ ่า อเิ ล็กตริกซิตี้ (Electricity) ตอ่ มาเม่อื พ.ศ. 2280 (ค.ศ. 1747) เบนจามิน แฟรงคลนิ (Benjamin Franklin) นกั วทิ ยาศาสตรช์ าว อเมริกนั ไดค้ น้ พบไฟฟ้าในอากาศขนึ้ โดยการทดลองชกั วา่ วซึง่ มีกุฐแจผกู ตดิ อยกู่ บั สายป่านขนึ้ ในอากาศ ขณะทเ่ี กิดพายฝุ น เขาพบวา่ เม่ือเอามอื ไปใกลก้ ญุ แจกป็ รากฏประกายไฟฟ้ามายงั มอื ของเขา จากการ ทดลองนที้ าใหเ้ ขขาคน้ พบเกยี่ วกบั ปรากฏการณฟ์ า้ แลบ ฟ้ารอ้ ง และฟา้ ผ่า ซ่ึงเกดิ จากประจุไฟฟ้าในอากาศ นบั ตงั้ แต่มาแฟรงคลนิ กส็ ามารถประดษิ ฐ์สายลอ่ ฟ้าไดเ้ ป็นคนแรก โดยเอาโลหะต่อไวก้ บั ยอดหอคอยทสี่ งู ๆ แลว้ ตอ่ สายลวดลงมายงั ดนิ ซง่ึ เป็นการปอ้ งกนั ฟ้าผา่ ได้ กล่าวคอื ไฟฟ้าจากอากาศจะไหลเขา้ สโู่ ลหะทต่ี ่ออยู่ กบั ยอดหอคอยแลว้ ไหลลงมาตามสายลวดทตี่ ่อเอาไวล้ งส่ดู ินหมดโดยไม่เป็นอนั ตรายต่อคนหรืออาคาร บา้ นเรือน

ตอ่ มาเมื่อ พ.ศ. 2333 (ค.ศ. 1790) วอลตา (Volta) นกั วทิ ยาศาสตรช์ าวอิตาเลยี น ไดค้ น้ พบไฟฟ้าท่ี เกิดจากปฏิกริ ยิ าเคมี โดยนาเอาวตั ถตุ ่างกนั สองชนิด เชน่ ทองแดงกบั สงั กะสีจุ่มในนา้ ยาเคมี เชน่ กรด กามะถนั หรอิ กรดซลั ฟิวรกิ โลหะสองชนดิ จะทาปฏิกริ ยิ าทางเคมกี บั นา้ ยาเคมีทาใหเ้ กดิ ไฟฟา้ ขนึ้ ได้ เรยี กการ ทดลองนวี้ ่า วอลเทอกิ เซลล์ (Voltaic Cell) ซ่ึงต่อมาภายหลงั ววิ ฒั นาการมาเป็นเซลลแ์ หง้ หรือถ่านไฟฉาย และเซลลเ์ ปียก หรอื แบตเตอร่ี พ.ศ. 2374 (ค.ศ. 1831) นกั วทิ ยาศาสตรช์ าวองั กฤษชอื่ ไมเคลิ ฟาราเดย์ (Michael Faraday) ได้ คน้ พบไฟฟา้ ทเ่ี กดิ จากอานาจแมเ่ หลก็ โดยนาขวดเคล่ือนทีต่ ดั ผา่ นสนามแมเ่ หลก็ ทาใหเ้ กิดแรงดนั ไฟฟา้ เหนยี่ วนาขนึ้ ในขวดลวด ซงึ่ ตอ่ มาภายหลงั ไดถ้ กู นามาประดษิ ฐเ์ ป็นเครอ่ื งกาเนดิ ไฟฟ้าขนึ้ พ.ศ. 2420-2430 (ค.ศ. 1877-1887) นกั วิทยาศาสตรช์ าวอเมริกนั ชอื่ โทมสั อลั วา เอดิสนั (/Thomas A.Edison) ไดป้ ระดษิ ฐ์หลอดไฟฟา้ ขนึ้ สาเรจ็ เป็นคนแรก และยงั ไดป้ ระดษิ ฐ์อปุ กรณไ์ ฟฟ้าอ่นื ๆอกี หลายอยา่ ง เช่น เคร่อื งฉายภาพยนตร์ หบี เสยี ง เคร่ืองอดั สาเนา เคร่ืองขยายเสยี ง เป็นตน้ จนไดร้ บั ฉายาว่าเป็นพ่อมดใน วงการอตุ สาหกรรม นอกจากนยี้ งั มนี กั วิทยาศาสตรอ์ กี หลายท่าน เชน่ อะเลก็ ซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ (Alexaner Graham Bell) ผปู้ ระดษิ ฐโ์ ทรศพั ทแ์ ละ มารโ์ คนี (Marconi) นกั วิทยาศาสตรช์ าวอติ าเลยี น เป็นผคู้ น้ พบการ สง่ สญั ญาณวทิ ยเุ ป็นตน้ ในปัจจุบนั ความกา้ วหนา้ ทางไฟฟา้ มีมากขนึ้ เรยี กวา่ เป็นวิวฒั นาการทางเทคโนโลยี โดยเฉพาะอยา่ ง ยง่ิ ทางดา้ นอเิ ลก็ ทรอนกิ สม์ ีความสาคญั ในชวี ิตประจาวนั มากขนึ้ สามารถนาพลงั งานจากปรมาณมู าใชไ้ ด้ ใช้ เครื่องคอมพิวเตอรค์ วบคมุ และตดั สินปัญหาตา่ งๆ ไดเ้ ชน่ มีการนาอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ทอี่ านวยประโยชน์ เช่น นาฬกิ า เคร่ืองคดิ เลข วิทยุ เทป โทรทศั น์ มาใชใ้ นการสอ่ื สาร การแพทย์ การอตุ สาหกรรม เป็นตน้ จะเหน็ ไดว้ า่ เจริญกวา้ หนา้ ทางดา้ นเทคโนโลยีทกุ ๆแขนงตามสมควร ทฤษฎีอิเลคตรอนเบือ้ งต้น ไฟฟ้าเป็นพลงั งานชนิดหน่ึงเป็นส่วนประกอบในวตั ถุธาตทุ กุ ชนิดตามขอ้ พสิ จู นท์ างวทิ ยาศาสตรย์ อ่ ม เป็นทท่ี ราบกนั แลว้ ว่าวตั ถธุ าตชุ นิดต่าง ๆ ท่ีมอี ยใู่ นโลกประกอบดว้ ยอนุภาคเลก็ ๆ เรยี กวา่ อะตอม ในแต่ละ อะตอมนน้ั ยงั ประกอบดว้ ย โปรตอน นิวตรอน และ อเิ ล็กตรอน อยมู่ ากมาย สาหรบั โปรตอนกบั นวิ ตรอนนนั้ อยู่นิ่งไม่เคลื่อนท่สี ่วนอิเลก็ ตรอนสามารถทจ่ี ะเคลอื่ นทจ่ี ากอะตอมหนงึ่ ไปยงั อกี อะตอมหนึ่งได้ การเคลอื่ นที่ จากอะตอมหนง่ึ ไปยงั อีกอะตอมหนึง่ ของอเิ ล็กตรอนนเี้ อง คอื สิง่ ท่ีเราเรยี กวา่ กระแสไฟฟา้

โครงสร้างของอะตอม ทกุ ส่ิงทกุ อย่างท่สี ามารถมองเหน็ ไดล้ ว้ นเป็นสสารทง้ั สนิ้ สสาร (Matters) คอื สิ่งทม่ี ีตวั ตน มีนา้ หนกั และตอ้ งการทอ่ี ยู่ มนั จะอยู่ในรปู ของของแขง็ ของเหลว และกา๊ ซ ตวั อยา่ งเช่น เหลก็ กอ้ นหนิ ไมเ้ ป็นสสารท่ี อย่ใู นรูปของของแข็ง นา้ แอลกอฮอล์ นา้ มนั เป็นสสารทีอ่ ย่ใู นรูปของของเหลว ส่วนออกซเิ จน ไฮโดรเจน คารบ์ อนไดออกไซดเ์ ป็นสสารทอี่ ยใู่ นรูปของกา๊ ซ ธาตุ (Elements) เป็นสสารเบือ้ งตน้ ซึง่ ถา้ นาธาตมุ ารวมประกอยกนั ตง้ั แต่ 2 ชนดิ ขนึ้ ไปจะไดเ้ ป็นสสาร ต่าง ๆ ตวั อยา่ งของธาตุ เช่น ทองแดง อลมู ิเนยี ม เงนิ ทองคา ปรอท ออกซิเจน ไฮโดรเจน เป็นตน้ อะตอม (Atom) คือ อนุภาคทเี่ ล็กทีส่ ดุ ของธาตุ ซ่งึ ไม่สามารถอยตู่ ามลาพงั ได้ ตอ้ งรวมกบั อะตอม ดว้ ยกนั กลายเป็น โมเลกุล (Molecule) อะตอมชนิดเดยี วกนั เม่อื รวมกนั จะไดโ้ มเลกุลของธาตุ สว่ นอะตอมของธาตตุ า่ งชนดิ เม่ือรวมกนั จะได้ โมเลกลุ ของสารประกอบ (compounds) ภายในอะตอมนนั้ ประกอบดว้ ยส่วนทเ่ี ป็นแกนกลางเรียกว่า “นิวเคลียส” (Neucleus) ภายใน นวิ เคลียสนยี้ งั ประกอบดว้ ย โปรตอน (Proton) ซึง่ มีคณุ สมบตั ิทางไฟฟา้ เป็นประจบุ วก (Positive Charge) และนวิ ตรอน (Neutron) จะไม่แสดงคณุ สมบตั ทิ างไฟฟ้า คอื เป็นกลาง (Neutral Charge) อกี ส่วนหน่ึงคือ อิเลก็ ตรอน (Electron) เป็นอนุภาคเลก็ ๆ ท่ีมคี ณุ สมบตั ิทางไฟฟา้ เป็นประจลุ บ (Negative Charge) ซง่ึ จะ โคจรอยูร่ อบๆ นวิ เคลยี สดว้ ยความเร็วสงู และวงโคจรของมนั อาจมเี พยี งวงเดยี วหรอื หลายๆวงกไ็ ด้ ทง้ั นจี้ ะ ขนึ้ อยู่กบั ชนิดของอะตอมของธาตุ โครงสรา้ งของอะตอมของธาตตุ า่ ง ๆ จะมีลกั ษณะคลา้ ยกบั ระบบสรุ ิย จกั รวาลท่ีมีอาทิตยเ์ ป็นแกนกลางและมีดาวนพเคราะหโ์ คจรอยรู่ อบๆ ประจไุ ฟฟ้า ถา้ อะตอมในชนิ้ สารสญู เสียหรอื ไดร้ บั อิเลก็ ตรอน สารนน้ั จะมีประจไุ ฟฟา้ เกดิ ขนึ้ ได้ อะตอมจะสามารถ เพมิ่ หรือลดอเิ ลก็ ตรอนไดห้ ลายวธิ ี เชน่ การขดั สรี ะหว่างวัตถุตา่ งชนดิ กนั เมอ่ื นาแทง่ แกว้ ถกู บั ผา้ ไหม แท่ง แกว้ จะถา่ ยอเิ ล็กตรอนใหผ้ า้ ไหม แท่งแกว้ จึงมปี ระจุบวกและผา้ ไหมมปี ระจุลบ

เมื่อนาวตั ถสุ องชนิดทมี่ ปี ระจไุ ฟฟ้าไม่เทา่ กนั เขา้ มาใกลก้ นั จะทาใหเ้ กิดแรงขนึ้ ระหว่างวตั ถุทง้ั สอง แต่ เนอ่ื งจากวตั ถุทงั้ สองไม่แตะกนั จึงไมส่ ามารถทาใหป้ ระจุไฟฟ้าถ่ายเขา้ หากนั ได้ ลกั ษณะทเี่ กิดขนึ้ แต่ไมเ่ กิดการ ถ่ายเทอิเล็กตรอนหรือกระแสไฟฟ้าไหลไปไดเ้ รียกว่า ไฟฟา้ สถติ (Static Electricity) โปรตอน (Proton) อนุภาคชนิดนเี้ ป็นอนภุ าคที่ถกู ตรงึ แนน่ อย่ใู นนวิ เคียส (Neucleus) อนุภาคเป็นประจบุ วก จานวน โปรตอนในอะตอมของธาตเุ รยี กวา่ อะตอมมิค นมั เบอร์ ถา้ ธาตใุ ดมอี ะตอมมิค นมั เบอร์ เทา่ กนั เรยี กธาตุ เหล่านวี้ า่ เป็นไอโซโทป ซ่ึงกนั และกนั กล่าวคอื เป็นธาตทุ ่ีมจี านวน โปรตอนเท่ากนั แต่มจี านวนนิวตรอน ต่างกนั เชน่ CL และ CL เป็นตน้ นวิ ตรอน (Neutron) อนุภาคนเี้ ป็นอนภุ าคท่ีถกู ตรงึ แนน่ อยู่ในนิวเคลียสรวมกบั โปรตอน มีนา้ หนกั มากกว่าโปรตอนเล็กนอ้ ย และมีคณุ สมบตั เิ ป็นกลางทางไฟฟ้า ผลรวมระหว่างโปรตอนและนวิ ตรอนใน 1 อะตอมของธาตุ เราเรียกวา่ อะตอมมิค แมส หรือแมส นมั เบอร์ ถา้ ธาตใุ ดมแี มสนมั เบอร์ เท่ากนั แต่ละอะตอมมิค นมั เบอร์ ไม่เท่ากนั เรา เรียกธาตเุ หล่านวี้ า่ เป็นไอโซบาร์ ซึง่ กนั และกนั อเิ ลก็ ตรอน (Electron) อนุภาคชนิดนมี้ ีคฯุ สมบตั ทิ างไฟฟา้ เป็นประจลุ บ วงิ่ อยู่รอบๆ นวิ เคลยี สของอะตอมของธาตดุ ว้ ย ความเร็วสงู ในวงโคจรทเ่ี ฉพาะของมนั เป็นอนุภาคทม่ี นี า้ หนกั นอ้ ย หนกั ประมาณ 1/18,000 เท่าของนา้ หนกั ของโปรตอน อเิ ลก็ ตรอนจะไดร้ บั แรงดงึ ดดู จากโปรตอนในนิวเคลยี ส ถา้ อเิ ลก็ ตรอนเหลา่ นน้ั ไดร้ บั พลงั งานเพิม่ มนั อาจจะกระโดดออกไปยงั เซลลต์ อ่ ไปได้ อเิ ล็กตรอนในเซลลร์ อบนอกสดุ มีบทบาทสาคญั มากทงั้ ในดา้ น คณุ สมบตั ทิ างฟิสิกสแ์ ละเคมี โดยเฉพาะในดา้ นไฟฟา้ อเิ ลก็ ตรอนในเซลลน์ เี้ รยี กว่า เวเลนซอ์ เิ ล็กตรอน ถา้ อเิ ล็กตรอนในเซลลน์ ไี้ ดร้ บั พลงั งานเพม่ิ มนั จะกระโดดหายไปจากอะตอมของธาตุ ทาใหอ้ ะตอมมีลกั ษณะพรอ่ ง อิเลก็ ตรอน จึงมสี ภาพทางไฟฟ้าเป็นบวก ในทางตรงขา้ มถา้ มนั สญู เสียพลงั งาน มนั จะไดร้ บั อเิ ล็กตรอนเพ่มิ ทาใหม้ ีสภาพทางไฟฟ้าเป็นลบ ดงั นนั้ อิเล็กตรอนเทา่ นนั้ ทเี่ คลอ่ื นท่ไี ด้ จงึ ทาใหเ้ กดิ การไหลของกระแสไฟฟ้า โดยปกตสิ ารทเี่ ป็นกลางทางไฟฟ้าจะมีโปรตอนและอเิ ลก็ ตรอนเทา่ กนั สารใดสญู เสยี อเิ ล็กตรอนจะมี คณุ สมบตั ทิ างไฟฟ้าเป็นบวก สารใดทร่ี บั อเิ ลก็ ตรอนเพมิ่ จะมคี ณุ สมบตั ทิ างไฟฟ้าเป็นลบ การเกดิ อเิ ลก็ ตรอนอิสระ

เน่ืองจากอิเล็กตรอนที่ว่งิ อย่รู อบๆ นวิ เคลียสจะวงิ่ ดว้ ยความเร็วสงู จงึ ทาใหอ้ เิ ลก็ ตรอนสามารถทจ่ี ะ เหวี่ยงตวั เองออกจากวงโคจรไดเ้ สมอดว้ ยแรงหนศี นู ยก์ ลาง แต่ภายในนิวเคลียสมโี ปรตอนซึง่ เป็นประจบุ วก จะชว่ ยดึงอเิ ลก็ ตรอนเอาไวไ้ ม่ใหห้ ลดุ จากวงโคจรไปไดง้ ่าย ๆ อยา่ งไรกต็ ามถา้ มแี รงภายนอกมากพอมากระทา เขา้ กบั แรงหนศี นู ยก์ ลางนี้ อิเลก็ ตรอนกจ็ ะถกู ดึงออกจากวงโคจรกลายเป็นอเิ ลก็ ตรอนอสิ ระได้ การที่อิเลก็ ตรอนอิสระเคลอื่ นทอี่ กจากวงโคจรไดน้ น้ั ทาใหอ้ ะตอมนนั้ ขาดอิเลก็ ตรอนไปและจะเหลือ โปรตอนมากกว่าอเิ ล็กตรอน โปรตอนจะอย่โู ดดเดยี่ วไมไ่ ด้ มนั จงึ ดึงอเิ ล็กตรอนของอะตอมถดั ไปเขา้ มาใน อะตอมของมนั ทาใหอ้ ะตอมถดั ไปขาดอเิ ลก็ ตรอนอกี จะเป็นไปแบบนเี้ ร่อื ย ๆ การเคลื่อนท่ีของ อิเล็กตรอนอิสระจากอะตอมหนง่ึ ไปยงั อกี อะตอมหนึง่ ก็คือ การเคลื่อนที่ของไฟฟ้าน่นั เอง จะเป็นวา่ อิเล็กตรอนท่ีว่ิงอยู่รอบนอกสดุ ของอะตอมทอ่ี ยู่ซา้ ยมือสดุ จะถกู เหวี่ยงดว้ ยแรงหนศี นู ยจ์ น อิเล็กตรอนนนั้ หลดุ ออกนอกวงโคจร และเนือ่ งจากโปรตอนจะอยโู่ ดดเด่ียวไม่ได้ ดงั นน้ั จึงดึงอิเลก็ ตรอนของ อะตอมถดั มา (ซึ่งอยู่ตรงกลาง) ใหเ้ ขขา้ อยใู่ นอะตอมของมนั จึงเป็นผลทาใหอ้ เิ ลก็ ตรอนของอะตอมถดั มา นน้ั ขาดอเิ ลก็ ตรอนไปดว้ ยเหตผุ ลเดยี วกนั นี้ อเิ ลก็ ตรอนของอะตอมทอี่ ยู่ขวามอื สดุ กจ็ ะถกู ดึงไปเช่นกนั ปรากฏการณเ์ ชน่ นที้ าใหเ้ กิดอิเล็กตรอนอสิ ระขนึ้ ความเรว็ การเคล่ือนท่ขี องอิเลก็ ตรอนอิสระ พลงั งานไฟฟ้าจะถกู ส่งผา่ นตวั นาไปโดยอาศยั การเคล่ือนทข่ี องอิเล็กตรอนอสิ ระจากอะตอมหนึ่งไปยงั อีกอะตอมหนึง่ ซึง่ เป็นการเคลอื่ นที่ตอ่ เน่อื งกนั ไปเรือ่ ย ๆ ตลอดสายตวั นา เนอ่ื งจากอะตอมอยู่ชดิ กนั มากและ วงโคจรอนั ใหม่ มนั จะสง่ ผา่ นพลงั งานเพ่ือใหอ้ ิเลก็ ตรอนตวั ถดั ไปหลดุ เป็นอสิ ระ แมอ้ เิ ล็กตรอนจะดเู หมอื น เคลอ่ื นทชี่ า้ ก็ตาม แต่การส่งพลงั งานจากอะตอมหนง่ึ ไปยงั อะตอมหนง่ึ จะรวดเร็วมากในอตั ราเร็ว 186,000 ไมล/์ วินาที หรือ 300 ลา้ นเมตร/วินาที

ใบงาน แผนการเรยี นท่ี 1 เร่ือง ประวตั ิไฟฟา้ และทฤษฎอี ิเลคตรอน ตอนที่ 1 1. ไฟฟ้าท่ีเกิดจากการเอาแทง่ อาพนั ถกู บั ผา้ ขนสตั วเ์ รยี กว่าอะไร 2. ผทู้ ่ีคน้ พบไฟฟ้าท่ีเกิดจากการขดั สีคือใคร 3. การทดลองทเี่ กดิ จากการนาโลหะชนิดมาจ่มุ ลงในกรดกามะถนั หรือกรซลั ฟิวรกิ เรียกวา่ อะไร เป็นการคน้ พบของใคร 4. ไฟฟา้ ในอากาศไมส่ ามารถนามาใชป้ ระโยชนไ์ ดเ้ พราะอะไร 5. นกั วทิ ยาศาสตรท์ ปี่ ระดษิ ฐส์ ายล่อฟ้าไดเ้ ป็นคนแรกคือใคร 6. การทดลองไฟฟ้าทเ่ี กิดจากปฏิกิริยาเคมตี อ่ มาภายหลงั ววิ ฒั นาการเป็นเซลลไ์ ฟฟ้าแบบใดบา้ ง 7. ไฟฟ้าทีเ่ กดิ จากสนามเหลก็ ตดั ผา่ นขดลวดตวั นา เป็นการคน้ พบของใคร 8. การทดลองดงั กลา่ วในขอ้ 7 ภายหลงั ไดว้ ิวฒั นาการเป็นอะไร 9. ใครเป็นผปู้ ระดษิ ฐห์ ลอดไฟฟ้าไดส้ าเร็จเป็นคนแรก 10. ใครเป็นผคู้ น้ พบการสง่ สญั ญาณวทิ ยขุ นึ้ เป็นครงั้ แรก 11. เบนจามนิ แฟรงคลนิ คน้ พบเกย่ี วกบั อะไร

12. ผทู้ ่ใี หช้ ือ่ ไฟฟ้าวา่ อิเลก็ ตรกิ ซติ ี้ คือใคร 13. เกรแฮม เบลล์ เป็นผปู้ ระดษิ ฐอ์ ะไร 14. คาว่า “เทคโนโลยี” หมายถึงอะไร 15. นกั วิทยาศาสตรท์ คี่ น้ พบวา่ ไฟฟ้าเกิดจากอานาจแม่เหลก็ คอื ใคร 16. ไฟฟา้ ไดถ้ กู นามาใชป้ ระโยชนอ์ ย่างจรงิ จงั เมื่อไร 17. สายล่อฟ้ามีประโยชนอ์ ยา่ งไร ตอนที่ 2 ขอ้ ความต่อไปนถี้ กู หรอื ผดิ 1. กระแสไฟฟ้าหมายถงึ การเคลอ่ื นที่ของอเิ ลก็ ตรอน 2. โปรตอนเป็นอนภุ าคทเ่ี คล่อื นท่ีไดเ้ ท่านน้ั 3. สารใดกต็ ามทสี่ ญู เสยี อเิ ลก็ ตรอนจะมปี ระไฟฟา้ เป็นลบ 4. โปรตอนตามปกตหิ นกั กวา่ อิเล็กตรอน 5. ตามปกตไิ ฟฟ้าไหลจากขวั้ ลบ ผ่านอปุ กรณไ์ ฟฟา้ ไปยงั ขวั้ บวกเสมอ 6. ประจทุ เ่ี หมือกนั จะผลกั กนั เชน่ บวกกบั บวก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook