หนังสอื เรียนสาระความรพู ื้นฐาน รายวชิ าภาษาไทย พท11001 ระดับประถมศกึ ษา หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ห้ามจาหน่าย หนงั สือเรียนเล่มน้ี จัดพิมพ์ด้วยเงนิ งบประมาณแผ่นดนิ เพือ่ การศกึ ษาตลอดชีวิตสาหรบั ประชาชน ลขิ สทิ ธ์ิเปน็ ของ สานกั งาน กศน. สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร สานักงานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ
หนงั สอื เรยี นสาระความรพู้ ้นื ฐาน รายวชิ าภาษาไทย พท11001 ระดบั ประถมศกึ ษา ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560 ลขิ สิทธเ์ิ ป็นของ สานักงาน กศน. สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เอกสารทางวชิ าการหมายเลข 1/2555
3 คาํ นาํ กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เม่ือวันท่ี 18 กันยายน พ.ศ. 2551 แทนหลักเกณฑและวิธีการจัดการศึกษานอก โรงเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซึ่งเปนหลักสูตรท่ีพัฒนาข้ึน ตามหลักปรัชญาและความเช่ือพื้นฐานในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนที่มีกลุมเปาหมายเปนผูใหญ มีการเรียนรแู ละส่งั สมความรู และประสบการณอยา งตอ เน่ือง ในปงบประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคล่ือน นโยบายทางการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแขงขันใหประชาชนไดมีอาชีพ ทส่ี ามารถสรางรายไดท่มี ั่งค่งั และม่นั คง เปนบุคลากรทม่ี วี นิ ัย เปย มไปดวยคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม และมี จิตสํานึกรับผิดชอบตอตนเองและผูอื่น สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการเรยี นรูทค่ี าดหวงั และเนื้อหาสาระ ทั้ง 5 กลุมสาระการเรยี นรู ของหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ใหมีความสอดคลองตอบสนองนโยบาย กระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงสงผลใหตองปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการเพ่ิมและสอดแทรกเนื้อหาสาระ เก่ียวกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพรอม เพ่ือเขาสูประชาคมอาเซียน ในรายวิชาท่ีมี ความเก่ียวขอ งสมั พนั ธกนั แตย งั คงหลกั การและวิธีการเดิมในการพัฒนาหนงั สือทใี่ หผ ูเรียนศกึ ษาคน ควา ความรูดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม ทําแบบฝกหัด เพ่ือทดสอบความรูความเขาใจ มีการอภิปราย แลกเปลี่ยนเรยี นรูกบั กลุม หรือศกึ ษาเพ่มิ เตมิ จากภูมิปญ ญาทอ งถ่ิน แหลงการเรยี นรแู ละสอื่ อืน่ การปรับปรุงหนังสือเรียนในครั้งน้ี ไดรับความรวมมืออยางดีย่ิงจากผูทรงคุณวุฒิในแตละ สาขาวิชา และผูเก่ียวของในการจัดการเรียนการสอนท่ีศึกษาคนควา รวบรวมขอมูลองคความรู จากส่ือตาง ๆ มาเรียบเรียงเน้อื หาใหค รบถว นสอดคลองกับมาตรฐาน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ตัวชี้วัด และกรอบเนือ้ หาสาระของรายวชิ า สํานกั งาน กศน. ขอขอบคณุ ผมู ีสวนเกย่ี วขอ งทุกทานไว ณ โอกาสน้ี และหวงั วา หนังสือเรียนชุดนี้จะเปนประโยชนแกผูเรียน ครู ผูสอน และผูเกี่ยวของในทุกระดับ หากมี ขอ เสนอแนะประการใด สาํ นักงาน กศน. ขอนอมรบั ดวยความขอบคณุ ยิง่
4 สารบญั หนา คํานาํ คาํ แนะนําการใชห นังสือเรยี น โครงสรางรายวชิ า คาํ แนะนาํ การใชแ บบเรยี น โครงสรา งรายวิชาภาษาไทย บทท่ี 1 การฟง และการดู .........................................................................................................1 เรื่องที่ 1 หลักการ ความสําคญั จดุ มงุ หมายของการฟง และการดู .......................................2 เรอ่ื งท่ี 2 การฟงและการดูเพ่อื จับใจความสาํ คญั .................................................................4 เรื่องท่ี 3 การฟงและการดเู พ่อื สรปุ ความ ............................................................................5 เรอ่ื งท่ี 4 มารยาทในการฟง และการดู................................................................................6 บทที่ 2 การพดู ..................................................................................................................7 เรอ่ื งท่ี 1 การพูด ความสาํ คัญของการพดู ...........................................................................8 เรื่องท่ี 2 การเตรียมการพดู และลกั ษณะการพูดที่ดี ...........................................................8 เรื่องท่ี 3 การพดู ในโอกาสตา ง ๆ.........................................................................................9 เรื่องท่ี 4 มารยาทในการพดู ............................................................................................. 11 บทท่ี 3 การอา น ................................................................................................................12 เรอ่ื งที่ 1 หลักการความสําคัญและจุดมุงหมายของการอาน ............................................. 13 เรอ่ื งที่ 2 การอานรอ ยแกว............................................................................................... 14 เรอ่ื งท่ี 3 การอา นรอ ยกรอง ............................................................................................. 17 เรื่องที่ 4 การเลอื กอา นหนังสอื และประโยชนข องการอาน............................................... 19 เรือ่ งที่ 5 มารยาทในการอา นและสรางนสิ ัยรักการอาน.................................................... 20 บทท่ี 4 การเขยี น ................................................................................................................21 เรื่องที่ 1 หลักการเขียนและความสําคัญของการเขียน ..................................................... 22 เรื่องที่ 2 การเขยี นภาษาไทย ........................................................................................... 23 เรอ่ื งท่ี 3 การเขียนสะกดคําและประสมคาํ ....................................................................... 24 เรือ่ งท่ี 4 การเขียนสอ่ื สาร................................................................................................ 26 เรื่องที่ 5 การเขียนตามรูปแบบ........................................................................................ 29 เรือ่ งท่ี 6 การเขยี นรายงานการคน ควา และอา งองิ ความรู ................................................. 32 เรื่องท่ี 7 การเขียนกรอกรายการ ..................................................................................... 33 เรือ่ งที่ 8 มารยาทในการเขียนและนสิ ัยรกั การเขยี น......................................................... 34
5 บทท่ี 5 หลกั การใชภ าษา.......................................................................................................36 เรื่องท่ี 1 เสียง รูปอกั ษรไทย และไตรยางค...................................................................... 37 เรอ่ื งท่ี 2 ความหมายและหนา ที่ของคํา กลมุ คาํ และประโยค........................................... 41 เรอ่ื งที่ 3 เคร่อื งหมายวรรคตอนและอักษรยอ .................................................................. 46 เรือ่ งท่ี 4 หลักการใชพ จนานกุ รม คําราชาศพั ทแ ละคําสุภาพ ........................................... 50 เรอ่ื งท่ี 5 สาํ นวนภาษา..................................................................................................... 53 เรื่องท่ี 6 การใชท ักษะทางภาษาเปน เคร่ืองมอื การแสวงหาความร.ู ................................... 57 เรื่องที่ 7 ลักษณะของคาํ ไทย คาํ ภาษาถ่ิน และ คําภาษาตางประเทศในภาษาไทย...................................................................... 58 บทท่ี 6 วรรณคดีและวรรณกรรม ...........................................................................................62 เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย คุณคา และประโยชนข องนิทาน นิทานพ้ืนบา น และวรรณกรรมทองถน่ิ .............................................................. 63 เรื่องท่ี 2 ความหมายของวรรณคดี และวรรณคดีทนี่ า ศกึ ษา............................................. 64 บทที่ 7 ภาษาไทยกับชองทางการประกอบอาชพี .....................................................................67 เร่ืองที่ 1 คุณคา ของภาษาไทย. ........................................................................................ 68 เรื่องท่ี 2 ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชพี ........................................................... 68 เรื่องที่ 3 การเพมิ่ พนู ความรูแ ละประสบการณทางดา นภาษาไทย เพื่อการประกอบอาชีพ...................................................................................... 71 เฉลยแบบฝก หัด ......................................................................................................................... 72 บรรณานุกรม ......................................................................................................................... 81 คณะผจู ดั ทาํ ......................................................................................................................... 83
6 คําแนะนาํ ในการใชหนังสอื เรยี น หนังสือแบบเรียนสาระความรูพ ื้นฐาน รายวิชาภาษาไทย ระดับประถมศึกษา เปน แบบเรียน ทจี่ ัดทําขนึ้ สาํ หรบั ผูเ รยี นที่เปน นักศึกษานอกระบบ ในการศกึ ษาหนังสอื เรยี นสาระความรพู น้ื ฐาน รายวิชาภาษาไทย ผูเรยี นควรปฏิบัติ ดังนี้ 1. ศกึ ษาโครงสรา งใหเ ขาใจหวั ขอ สาระสาํ คัญ ผลการเรยี นรูคาดหวังและขอบขา ยเนือ้ หา 2. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาของแตละบทอยา งละเอียด และทํากิจกรรมตามท่ีกําหนด และ ตรวจสอบกับแนวตอบกิจกรรมท่กี ําหนด ถาผูเรียนตอบผิดควรกลับไปศึกษาและทําความเขา ใจเนื้อหา นั้นใหม ใหเขา ใจกอ นทีจ่ ะศึกษาเรื่องตอไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมทายเรื่องของแตละเรื่อง เพื่อเปน การสรุปความรู ความเขา ใจของเน้ือหา ในเรื่องน้ัน ๆ อีกคร้ัง และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละเน้ือหาแตละเร่ือง ผูเรียนสามารถนําไป ตรวจสอบกับครแู ละเพอ่ื น ๆ ที่รว มเรียนในวิชาและระดบั เดยี วกนั ได 4. แบบเรยี นเลม น้ีมี 7 บท คือ บทท่ี 1 การฟงและการดู บทท่ี 2 การพดู บทที่ 3 การอาน บทที่ 4 การเขียน บทท่ี 5 หลกั การใชภาษา บทที่ 6 วรรณคดีและวรรณกรรม บทท่ี 7 ภาษาไทยกับชองทางการประกอบอาชีพ
7 โครงสรา งรายวิชาภาษาไทย พท11001 ระดบั ประถมศกึ ษา สาระคญั การฟง และการดู การพูด การอาน การเขียน หลักการใชภ าษา วรรณคดี และวรรณกรรม เปน พน้ื ฐานของทักษะท่ีใชใ นชวี ติ ประจาํ วัน ซึ่งตองศึกษาอยา งเขา ใจจึงนําไปใชป ระโยชนไ ดดี ผลการเรยี นรทู ่ีคาดหวัง ผเู รียนสามารถ 1. อธบิ ายรายละเอยี ดของการฟง และการดไู ด 2. อธบิ ายการพดู และการอานในสถานการณต า ง ๆ ได 3. เขยี นไดถ ูกตองตามหลักภาษา 4. ใชห ลักการใชภาษาไดถ กู ตอง 5. อธิบายความหมาย คุณคา และประโยชนของนิทาน นิทานพื้นบาน วรรณกรรมทอ งถ่ิน และวรรณคดบี างเร่อื งได ขอบขายเน้อื หา บทที่ 1 การฟง และการดู บทที่ 2 การพูด บทที่ 3 การอา น บทท่ี 4 การเขียน บทท่ี 5 หลักการใชภ าษา บทท่ี 6 วรรณคดแี ละวรรณกรรม บทที่ 7 ภาษาไทยกับชอ งทางการประกอบอาชพี
1 บทที่ 1 การฟงและการดู สาระสําคัญ การฟงและการดูเปนทักษะสําคญั ทต่ี อ งใชใ นชีวิตประจําวัน หากฟง และดไู ดอ ยา งเขา ใจ จะนําไปใชประโยชนไ ดมาก ผลการเรียนรทู ่คี าดหวัง ผเู รยี นสามารถ 1. อธบิ ายหลกั การ ความสําคัญ จดุ มุง หมายของการฟงและการดูได 2. อธิบายการจับใจความสําคญั จากการฟง และการดไู ด 3. อธิบายการฟงและการดเู พอ่ื สรปุ ความได 4. บอกมารยาทในการฟง และการดูได ขอบขายเนอ้ื หา เรื่องที่ 1 หลกั การ ความสาํ คัญ จุดมงุ หมายของการฟง และการดู เรื่องที่ 2 การฟงและการดเู พอ่ื จบั ใจความสาํ คัญ เรื่องที่ 3 การฟงและการดเู พื่อสรุปความ เรอ่ื งท่ี 4 มารยาทในการฟงและการดู
2 เรอ่ื งท่ี 1 หลักการ ความสาํ คญั จุดมุงหมายของการฟง และการดู 1. หลกั การฟงและการดู การฟงและการดเู ปน การเรียนรูเ รื่องราวตาง ๆ จากแหลง เสยี งและภาพ ทง้ั จากแหลง จรงิ และผา น สื่อตาง ๆ เชน วทิ ยุ โทรทศั น ภาพยนตร คอมพวิ เตอร หนังสอื เปน ตน การฟง และการดูมหี ลักการ ดงั น้ี 1. การฟงและการดูอยา งต้ังใจ จะไดรบั เนอื้ หาสาระถูกตอ งและครบถว น 2. มีจุดมุงหมายในการฟง และการดเู พอ่ื จะชวยใหการฟงและการดมู ปี ระโยชนแ ละมีคณุ คา 3. จดบันทกึ ใจความสําคัญ จะไดศ ึกษาทบทวนได 4. มีพืน้ ฐานในเรือ่ งทฟ่ี ง และดูมากอ นจะไดชวยใหเขาใจเนอื้ หาสาระไดเร็วขน้ึ 2. ความสาํ คัญของการฟงและการดู 1. เพมิ่ ความรูและประสบการณทจ่ี ะนําไปใชประโยชนได 2. เปน การส่อื สารระหวา งกนั ใหเ ขา ใจและปฏิบตั ติ ามได 3. เปน การพฒั นาชีวติ และความเปน อยู โดยนําความรดู านวทิ ยาศาสตร สังคมศาสตร และ มนษุ ยศาสตร มาใชไ ดอ ยางเหมาะสม 3. จดุ มุงหมายของการฟง และการดู 1. เพอ่ื รบั ความรแู ละความบนั เทงิ จากการฟงและการดู 2. เพื่อนําไปใชป ระโยชนในชีวิตประจําวัน อาจจะไปอธิบายหรือสอนตอ หรือจะนําไปประกอบ เปนอาชพี ได 3. เพื่อความเพลดิ เพลิน หรือเพอื่ การผอ นคลาย เชน การฟงเพลง การดูรายการบนั เทิง เปน ตน 4. เพ่ือใชเวลาวางใหเ ปน ประโยชน จุดมุงหมายของแตละทา นอาจจะเหมือนกนั หรอื ไมเ หมอื นกัน ก็ไดและอาจจะมากกวา 1 จดุ มงุ หมายก็ได
3 กิจกรรม ใหผ ูเรยี นตอบคําถามตอไปน้ี 1. ผเู รียนมหี ลักการฟงและการดอู ยางไร 1. _________________________________________________________________ 2. _________________________________________________________________ 3. _________________________________________________________________ 4. _________________________________________________________________ 2. ผเู รียนเห็นวา การฟง และการดมู คี วามสําคญั อยา งไร 1. _________________________________________________________________ 2. _________________________________________________________________ 3. _________________________________________________________________ 4. _________________________________________________________________ 3. ผเู รียนมจี ดุ มุงหมายของการฟงและการดลู ะครโทรทศั นอยา งไร 1. _________________________________________________________________ 2. _________________________________________________________________ 3. _________________________________________________________________ 4. _________________________________________________________________ 4. ผเู รียนนาํ ความรเู กย่ี วกบั การฟงและการดูทไี่ ดศกึ ษาในเรอื่ งที่ 1 ไปใชป ระโยชนไ ดอ ยา งไรบาง 1. _________________________________________________________________ 2. _________________________________________________________________ 3. _________________________________________________________________ 4. _________________________________________________________________ 5. _________________________________________________________________
4 เร่ืองที่ 2 การฟงและการดูเพื่อจบั ใจความสําคญั ในเรอื่ งที่ 2 นีม้ ีเน้อื หาสาระเปน 2 สว นคือ 1. การฟง เพือ่ จบั ใจความสาํ คัญ 2. การดเู พื่อจบั ใจความสาํ คญั ทั้งสองสวนมรี ายละเอยี ด ดังนี้ 1. การฟง เพ่ือจบั ใจความสาํ คญั การฟง เพือ่ จับใจความสําคัญไมใ ชเ รือ่ งยาก ถา ผฟู งปฏิบตั ิ ดงั น้ี 1. ฟงอยางต้ังใจ และมสี มาธิ 2. ฟงใหต ลอดจบความ 3. ฟงอยางมีวิจารณญาณ โดยใชความรูประสบการณของตน มาพิจารณาไตรต รองประกอบ เนอ้ื หาสาระเพอื่ ความถกู ตองหรือมีประโยชนอยางไรบาง วธิ กี ารฟงเพ่อื จบั ใจความสาํ คัญ 1. ต้งั ใจฟง วา เร่ืองอะไร ใครทํา ทาํ เมอื่ ใด ทําทไ่ี หน ทําอยางไร และเกิดผลอยา งไร 2. ทําความเขาใจเน้ือหาสาระ แยกแยะความจริง และขอคดิ เหน็ ในเรือ่ งนน้ั ๆ 3. ประเมินคาเรอ่ื งทฟ่ี ง วา เนื้อหาถกู ตอ ง เหมาะสม มากหรอื นอยเพยี งใด เหมาะสมกบั เพศ และวยั และชว งเวลาของกลมุ ผูฟงหรอื ไม 4. จดบนั ทกึ ใจความสําคัญของเรื่องทฟี่ ง เมื่อทบทวนหรอื เผยแพรใ หผ อู ืน่ ตอไป 2. การดูเพือ่ จับใจความสําคญั หลกั การดู 1. ดูอยา งต้ังใจและมีสมาธใิ นการดู 2. มจี ุดมงุ หมายในการดจู ะทาํ ใหการดปู ระสบผลสาํ เรจ็ ได 3. มีวิจารณญาณ ดแู ลวคิดไตรต รองอยางมเี หตุผล 4. นาํ ไปใชประโยชน คืออาจจะมีการปรบั ใหเหมาะสมกบั เวลา และสถานการณ วธิ ีการดูเพ่ือจบั ใจความสาํ คัญ ดูรายการทีวีโดยภาพรวมและรายละเอียด
5 กจิ กรรม ใหผูเรยี นตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี 1. การฟง เพือ่ จับใจความสาํ คัญ มวี ธิ กี ารอยา งไร 1. _____________________________________________________ 2. _____________________________________________________ 3. _____________________________________________________ 4. _____________________________________________________ 2. การดเู พ่อื จับใจความสาํ คัญ มีวิธีการอยา งไร 1. _____________________________________________________ 2. _____________________________________________________ 3. _____________________________________________________ 4. _____________________________________________________ 3. ใหผ ูเรียนฝก ฟงขาว หรอื สารคดีจากรายการวทิ ยแุ ละบนั ทึกใจความสาํ คัญของเรอื่ งที่ฟงน้นั 4. ใหผูเรียนฝกดูรายการขาวประจําวันหรือขาวในพระราชสํานัก จากสถานีโทรทัศนตาง ๆ และ บันทกึ ใจความสาํ คัญจากการดู เร่ืองท่ี 3 การฟง และการดเู พ่อื สรปุ ความ การฟงและดู เพ่ือสรุปความเปน ขั้นตอนสุดทา ยของกระบวนการฟง และการดู การสรปุ ความ เนน การประมวลเน้ือหาสาระมาใชป ระโยชนในชีวิตประจําวนั วธิ กี ารสรุปความควรทาํ ดงั นี้ การนําสรุปความไปใชประโยชน ซ่งึ มหี ลายวิธี เชน 1. ใชในการศึกษา 2. ใชใ นการเผยแพรโดยการอธิบาย สอน เขียนเปน เอกสาร และตํารา ตวั อยาง การสอ่ื สารทเี่ ปนการสรุปความของการฟงและการดู เชน 1) การโฆษณา การโฆษณาการใชภ าษาใชเ วลานอย คําพดู นอ ย จะเนนการพดู ทสี่ ั้น ๆ ใหไดใจความ ดงั นน้ั การฟง และการดจู ะใชท กั ษะการสรปุ ความและเขาใจสารน้ัน 2) การฟงประกาศ จะสรปุ ความเน้อื หาสาระนนั้ มาปฏบิ ัตโิ ดยจะใชห ลกั ประกาศเรอ่ื ง อะไร เกีย่ วขอ งกบั เราอยางไร และนําไปปฏิบตั อิ ยางไร 3) สรุปการนาํ ขอ มูลมาใชป ระโยชน
6 กจิ กรรม ใหผ เู รยี นดูขา วสารคดี และโฆษณาตาง ๆ จากรายการโทรทศั น ในรอบสัปดาห แลวสรปุ ความแตละ รายการทดี่ ูมานําเสนอในกลมุ เร่ืองที่ 4 มารยาทในการฟง และการดู การมีมารยาทในการฟงและการดู ปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1. การฟง 1. ต้งั ใจฟง 2. ไมร บกวนสมาธิของผอู ืน่ 3. ควรใหเกยี รติวิทยากร ไมคุย และไมถามทดสอบความรูผูพดู 4. ฟง ใหจบ 2. การดู 1. ตงั้ ใจดู 2. ไมรบกวนสมาธผิ ูอ่ืน 3. ไมควรฉีกหรอื ทาํ ลายภาพ เอกสารที่ดู 4. ดูแลวใหร ักษาเหมอื นเปน สมบตั ขิ องตนเอง เชน นิทรรศการคอมพิวเตอรห รอื ภาพถา ย เปนตน กิจกรรม ใหผูเรียนนําเสนอตัวอยางลักษณะปฏิบัติตนเปนผูฟง ผูดูท่ีมีมารยาท และไมมีมารยาท มาอยางละ 1 ตัวอยาง
7 บทท่ี 2 การพูด สาระสาํ คญั การพดู เปนการสอ่ื ทค่ี วบคูก ับการฟง การเขา ใจหลกั การ การเตรยี มการพูด การพูดในหลาย ๆ โอกาส และมารยาทในการพดู จะทําใหก ารพูดประสบผลสาํ เรจ็ ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวงั ผูเรียนสามารถ 1. อธิบายหลกั การ ความสําคัญ และจุดมุงหมายของการพูดได 2. อธิบายการเตรียมการพูด และลักษณะการพูดได 3. อธิบายการพูดในโอกาสตา ง ๆ ได ขอบขายเนื้อหา เรื่องที่ 1 การพดู ความสําคญั ของการพูด เรื่องท่ี 2 การเตรียมการพูด และลักษณะการพูดที่ดี เรื่องท่ี 3 การพดู ในโอกาสตา ง ๆ เรอื่ งท่ี 4 มารยาทในการพดู
8 เรื่องท่ี 1 การพูด ความสําคัญของการพดู 1. หลกั การพูด หลกั การพูดมี ดงั น้ี 1. การพดู ดว ยภาษาและถอ ยคาํ ที่สภุ าพ ใหเ กยี รติผูฟง 2. พดู ใหตรงประเด็นและใชภาษาท่งี ายตอ การเขา ใจ 2. ความสําคัญของการพดู 1. ใชใ นการสือ่ สารใหเขาใจตรงกัน 2. เพ่ือความรู ใหผูฟงมคี วามรูไดอ ยางหลากหลาย และไปใชป ระโยชนไ ด 3. ไดร ับความเพลิดเพลนิ และแลกเปลีย่ นเน้อื หาสาระ 4. ใชป ระโยชนใ นชีวิตไดอ ยา งเหมาะสมกบั สภาพของตน 3. จดุ มุงหมายของการพูด 1. เพ่อื สอ่ื สารใหผ อู น่ื เขาใจความตอ งการของผูพดู 2. เพ่อื แสดงความรคู วามสามารถของตนเองใหผ ูอน่ื ไดร บั ทราบและนาํ ไปใช ประโยชนได 3. เพื่อแสดงความคดิ เห็นในเรอื่ งใดเร่อื งหนึง่ ของตนเองแกผอู ่ืน กิจกรรม ใหผูเรียนแบงกลุมอภิปราย แสดงความคิดเห็นในประเด็นเกี่ยวกับความสําคัญของการพูดใน ชีวติ ประจาํ วัน หวั ขอ “ พดู ชวั่ ตัวตาย ทาํ ลายมติ ร” เร่อื งที่ 2 การเตรยี มการพูด และลกั ษณะการพดู ทีด่ ี ผเู รียนจะไดศกึ ษารายละเอยี ดโดยแบงเปน 2 สว น คือ 1. การเตรียมการพดู 2. ลกั ษณะการพูดทีด่ ี โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้ การเตรยี มการพดู ผพู ดู จะตองเตรียมตวั ใหพรอม ดังนี้ 1. เตรียมสภาพรา งกายใหพรอ มท่ีจะพูด ซึ่งผูพ ูดควรจะทราบกําหนดการลวงหนา และตอ ง พรอ มท่จี ะพดู ในวันน้ัน
9 2. เตรยี มเนอ้ื หาสาระที่จะพูดใหถกู ตอ ง โดยเอาความรูประสบการณข องตน หากไมเ พียงพอ ตอ งคนควา เพม่ิ เติม 3. เตรยี มอปุ กรณ เอกสารหรอื ส่ืออ่ืน ๆ ที่จะใชประกอบการพูดใหเ สร็จทัน และอยูใ นสภาพ พรอ มทจ่ี ะใชงานได 4. เตรยี มการแตงกายใหสภุ าพ และเหมาะสมกับผูฟง ทง้ั นี้เพือ่ เปนการใหเ กียรตผิ ูฟง ลกั ษณะการพูดที่ดี การพูดท่ดี ีจะตอ งดใี นดา นตาง ๆ ดงั น้ี 1. ดดี วยเน้อื หาสาระถูกตอ งเหมาะสมกบั ผฟู ง 2. ดดี ว ยลีลาการพูด 2.1 นา้ํ เสยี ง ไมดงั เกินไปหรือเบาเกนิ ไป การเนน เสยี งหรอื การใชเสยี งสงู ต่ํา เปนตน 2.2 พูดถูกตองตามหลักการใชภ าษา ใชคําควบกล้ํา อักษรควบ อักษรนํา คําสมาส สนธิ เปนตน 2.3 การแบงวรรคตอน การใชอักษรยอหรือการใชคาํ ที่เนน ใหถูกตอ ง 3. ดดี ว ยความพรอม ซึ่งรายละเอยี ดไดกลา วมาแลว ขางตน กิจกรรม ใหผูเรียนยกตัวอยาง ผูที่พูดดีทั้งจากที่พบเห็นในกลุม ชุมชน และจากรายการวิทยุ โทรทัศน พรอ มใหความเหน็ ประกอบวาดีในลักษณะใด เร่ืองท่ี 3 การพดู ในโอกาสตา ง ๆ การพดู ในโอกาสตา ง ๆ ในระดบั ประถมศกึ ษา จะเปน การศึกษาการพดู ในโอกาสตาง ๆ ดังนี้ 1. การพดู อวยพร 2. การพูดขอบคุณ 3. การพูดแสดงความดีใจ และเสียใจ 4. การพูดตอนรบั 5. การพูดรายงาน 1. การพูดอวยพร การพดู อวยพรเปน การพูดแสดงความในใจ ท่ีจะใหพ รผฟู ง ในโอกาสทีเ่ ปนมงคล เชน อวยพรวันเกดิ อวยพรปใหม หรอื อวยพรใหกับคสู มรส เปน ตน การพดู อวยพร มวี ิธกี ารดงั น้ี
10 1. ใชค ําพดู งา ย ๆ ส้นั ไดใ จความ และนํา้ เสยี งสภุ าพนุม นวล 2. ใชคาํ และขอ ความทีม่ ีความหมายทีด่ ี และเหมาะสมกับโอกาสและผูฟง 3. อางสิง่ ศักดิส์ ิทธิ์อวยพรใหผ ูฟ งในโอกาสน้นั ๆ 4. พดู ใหผูฟ งประทบั ใจ 2. การพูดขอบคณุ การพูดขอบคณุ เปนการพดู ท่จี ะตอบแทนผูท ท่ี าํ ประโยชนให เปน การแสดง ความกตัญู การพดู ขอบคุณ มวี ิธกี าร ดงั น้ี 1. บอกสาเหตทุ ีต่ อ งขอบคุณผูนนั้ ทานไดช วยเหลือหรอื ทําประโยชนอะไรใหก ับผพู ูด 2. พดู ดวยนํ้าเสยี งทส่ี ุภาพนุมนวล นา ฟง และนาประทับใจ 3. หากเปนผูแทนของกลุม คน ผูพูดตอ งเร่ิมตนดว ย “ในนามของกลุม ผม/ดิฉัน ขอบคุณ ท่ี “...................” โดยตองบอกวาขอบคณุ ใคร และขอบคุณเรื่องอะไร 4. การพูดขอบคณุ ควรลงทายดวย หากมีโอกาสตอบแทนผูทีข่ อบคณุ บางในโอกาสหนา 3. การพดู แสดงความดใี จ และเสียใจ การพดู แสดงความดใี จและเสยี ใจ เปนการพดู เพ่ือแสดงออกทางอารมณแสดงความรูส กึ ตอ ผูใดผูหน่งึ ในเรอื่ งตา ง ๆ การพดู แสดงความดีใจและเสียใจ มีดงั น้ี 1. พดู ดว ยการแสดงออกอยา งจรงิ ใจ หา มแกลง ทาํ โดยเดด็ ขาด 2. แสดงออกทางสีหนา แววตา และนํ้าเสียง ใหสอดคลอ งกับการพูดแสดงความดีใจ หรอื การพดู แสดงความเสียใจ 3. หากเปน การพูดแสดงความดีใจ จะตอดวยการอวยพรใหด ียิ่งขึ้น หากเปน การพูดแสดง ความเสียใจ จะตองปลอบใจและทําใหลมื เหตกุ ารณน ้ันโดยเร็ว 4. การพดู ตอนรบั การพูดตอ นรับเปนการพูดยินดีตอ สมาชิกใหม หรือยินดีตอ นรับผูมาเย่ียมเยือน ใหผูฟ ง สบายใจและรสู กึ อบอนุ ท่ีไดมาสถานทน่ี ี้ การพูดตอ นรับ มีวิธกี ารดงั น้ี 1. การพูดในนามของ กลมุ หนว ยงาน องคกรใด จะตอ งกลา วขึ้นตน ดว ยวา “ในนามของ .............ขอตอ นรบั ...........” 2. การพูดดว ยคาํ ท่สี ภุ าพนุมนวลและนาประทับใจ 3. อาจมกี ารแนะนาํ บุคคล สถานที่ ใหผูมาไดท ราบหรอื รจู กั 4. อาจพดู ลงทายดวย ยนิ ดตี อนรบั ในโอกาสหนาอกี
11 5. การพูดรายงาน การพูดรายงาน เปน การนําเสนอเรื่องราว ขอ มูล สถานการณ หรือความกา วหนา ในการ ทาํ งาน ความกา วหนา ของการศึกษาคนควา การพดู รายงาน มีวิธีการดงั น้ี 1. เนอื้ หาสาระท่จี ะพดู ตอ งถูกตอ ง เชื่อถือได และอา งอิงได 2. การนาํ เสนอเนื้อหาสาระตองเหมาะสมกบั ผฟู งและสถานการณท พี่ ดู 3. ใชภาษาเปน ทางการ เพราะเปน งานวิชาการ 4. อปุ กรณ เครือ่ งมือ หรือเอกสารประกอบตอ งเตรียมใหพ รอม 5. ควรเปดโอกาสใหผูฟ งไดซักถามขอสงสัย หรอื ใหอ ธบิ ายเพิ่มเติม เพอื่ ความเขาใจ กจิ กรรม ฝกปฎิบัตกิ ารรา งคํากลาวท่ีจะใชพ ูดในงานตาง ๆ ดังนี้ 1. การพดู อวยพร _____________________________________ 2. การพดู ขอบคุณ ____________________________________ 3. การพูดตอ นรบั _____________________________________ เรื่องที่ 4 มารยาทในการพูด มารยาทในการพดู มลี กั ษณะ ดงั น้ี 1. ใชคําพูดท่สี ภุ าพ และเหมาะสม กบั เวลา สถานที่ และโอกาส 2. หากจะพูดคดั คา นตองคัดคานดว ยเหตุผล หามใชคําพดู ดวยอารมณโ มโหหรอื โกรธ 3. ไมพ ูดใหผ อู ื่นเดอื ดรอ น และทาํ ลายผอู นื่ 4. การพดู ชมผูอน่ื จะตอ งมีบา งเพื่อเปน การใหก ําลังใจ กิจกรรม ใหผ เู รยี นนาํ เสนอตัวอยางผูท่ีไมมีมารยาทในการพูดพรอมอธิบายลักษณะท่ีแสดงถึงการไมมี มารยาทและขอเสนอแนวทางแกไข
12 บทที่ 3 การอา น สาระสาํ คัญ การอานน้ันเปนการเปด ประตไู ปสูโลกกวาง การอานรอยแกวและรอยกรองได ตลอดจนการ เลือกหนงั สอื อานไดเ หมาะสมจะทาํ ใหการอา นมีประสทิ ธิภาพยง่ิ ขนึ้ ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวงั ผูเรียนสามารถ 1. อธบิ ายหลกั การ ความสําคัญ และจดุ มงุ หมายของการอา นได 2. อา นรอ ยแกวไดถกู ตอ งชัดเจน รวมทง้ั เกบ็ ใจความเม่ืออา นในใจได 3. อา นบทรอ ยกรองที่ใชถ อยคํางาย ๆ ได 4. เลือกหนังสอื อา นและบอกประโยชนข องการอานได 5. บอกมารยาทในการอา นและสรา งนิสัยรกั การอานได ขอบขา ยเน้ือหา เรื่องที่ 1 หลักการ ความสําคัญ และจดุ มงุ หมายของการอา น เรือ่ งท่ี 2 การอา นรอ ยแกว เรื่องที่ 3 การอา นรอ ยกรอง เรื่องท่ี 4 การเลอื กอา นหนังสอื และประโยชนของการอาน เร่ืองท่ี 5 มารยาทในการอานและสรา งนิสัยรกั การอาน
13 เรอ่ื งท่ี 1 หลกั การ ความสาํ คัญ และจดุ มงุ หมายของการอาน 1. หลักการอาน 1. ควรมจี ดุ มงุ หมายในการอานทกุ คร้งั เพอ่ื เปนการประเมนิ หลังการอา นจบแลววา ไดบ รรลุถึง จุดมงุ หมายหรอื ไม 2. เลือกอา นหนังสือตามความสนใจของตน จะไดค วามรูและประสบการณต รงกบั ความตองการ และกระต้อื รอื รน ทจ่ี ะอา น 3. อา นถูกตอ งตามอักขรวิธี ออกเสียง ร และ ล ชัดเจน รวมทั้ง การเวน วรรคท่ีถูกตอ ง ซึง่ การอานประเภทน้ีจะเปนการอานออกเสียง 2. ความสําคญั ของการอาน 1. การอานเปน การรบั สารโดยเนน เนอ้ื หาสาระท่ีหลากหลาย ผูอ า นเลือกที่จะอา นไดต ามความ ตอ งการ 2. การอา นไดความรู ทักษะและประสบการณท่นี ําไปใชป ระโยชนไ ด 3. การอา นเปน การพฒั นาความคดิ ของผอู าน 4. การอา นเปน การใชเวลาใหเกิดประโยชนไ ดท ้ังความรแู ละความเพลิดเพลิน 3. จดุ มุง หมายของการอา น 1. เพ่ือใหเ กิดความรู ตามทีผ่ อู านตอ งการเลอื ก เพราะสามารถอานได 2. เพือ่ ใหเ พลดิ เพลนิ โดยเฉพาะการอา นประเภท จรรโลงใจ เชน นทิ าน นยิ าย นวนิยาย เปน ตน 3. เพอ่ื นําความรูไปประยุกตใ ช โดยศึกษาจากเน้ือหาสาระ หรอื ตวั อยางของผูท ี่ประสบความสําเร็จ และนาํ ไปปฏิบตั ิ 4. เพอื่ ใหเปนบคุ คลทนั สมัย ทนั เหตุการณ มีความรรู อบดาน ซึ่งจะไดจากการอาน กิจกรรม ตอบคําถามตอ ไปนี้ 1. ในการอานมีหลกั การอยางไรบาง 1. ________________________________________________________________ 2. ________________________________________________________________ 3. ________________________________________________________________ 2. การอานมคี วามสาํ คญั อยา งไร 1. ________________________________________________________________ 2. ________________________________________________________________ 3. ________________________________________________________________
14 3. ผเู รียนมีจุดมงุ หมายในการอานอยา งไรบาง 1. ________________________________________________________________ 2. ________________________________________________________________ 3. ________________________________________________________________ เรือ่ งท่ี 2 การอานรอ ยแกว 1. ความหมายของรอยแกว รอ ยแกว หมายถงึ ขอ ความทเี่ ขียนขึ้นโดยไมไ ดคํานงึ การสมั ผัส ตวั อยางเชน การเขยี นตําราเรยี น การเขียนขา ว การเขยี นประกาศ และการเขยี นขอ ความท่ัว ๆ ไป 2. การอา นรอ ยแกว 2.1 การอานออกเสยี ง มหี ลกั การอา นดังนี้ - อา นออกเสียงใหถ กู ตอ งตามอักขรวิธี - อา นอยางมจี งั หวะ แบงวรรคตอนถูกตอ ง - อานอยา งเขาใจเน้ือเร่อื ง นา้ํ เสยี งจะไดเหมาะสม เชน อา นเรอ่ื งเกีย่ วกับความสขุ เสยี งจะตองสดชน่ื ร่นื เรงิ หากเปนเรือ่ งเศรา น้ําเสยี งจะตอ งเศรา ตามไปดวย เปนตน - อา นเสียงดังฟงชัด 2.2 การอาน ขอ ความ บทความ และเรอ่ื งสั้น ขอ ความ บทความและเรอื่ งสัน้ เปน การอานรอยแกว สว นใหญเ ปน การอานในใจ ซงึ่ ผูอาน จะตอ งจับใจความสําคัญใหไ ด วาเร่ืองทีอ่ า นคอื อะไร กลา วถึงใคร ที่ไหน และเมอ่ื ไร เปน ตน 2.3 การอานจบั ใจความสาํ คญั การอานจับใจความสําคญั ผูอ านเมื่ออานจบแลว จะตอ งจับใจความสําคัญได เชน เร่ืองอะไร เกิดกบั ใคร เมื่อใด และมผี ลอยางไร ตัวอยา งการอานจับใจความสําคญั เรอ่ื ง นาํ รอง นายจิตรพงษ กวางสุขสถิต ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการกลุมธุรกิจปโ ตรเลียมข้ันตนและ กาซธรรมชาติ บริษัท ปตท. เปดเผยวา ปตท. ไดร ว มกับบริษัท เกษมศักดิ์ เทรดดิ้ง ผูประกอบการผลติ เหล็กเพ่ือทดลองใชกา ซธรรมชาติในรูปของกาซธรรมชาติอัดหรือซีเอ็นจี ภายในโรงงาน ซึ่งเนน กลุม โรงงานอตุ สาหกรรมทไี่ มม แี นวทอสงกาซฯ ผานโดยจะทําใหภ าคเอกชนลดตนทนุ การผลติ จากเดมิ ทต่ี อง ใชน ํ้ามันเตาหรอื ดีเซลทีม่ ีราคาสงู (หนังสอื พมิ พเดลนิ ิวส ฉบับวนั ที่ 11 กมุ ภาพนั ธ 2552)
15 ใจความสาํ คญั ประธานเจาหนา ที่ปฏิบัติการกลุมธุรกิจปโตรเลียมเปด เผยวา ปตท. ไดร ว มกับบริษัทเกษมศักดิ์ เทรดด้ิง ทดลองใชก าซธรรมชาติในรปู ของกาซเพื่อลดตนทนุ การผลติ 2.4 การอา นเพื่อแสดงความคดิ เหน็ และสรุปความ การอา นเพื่อแสดงความคิดเห็นของผูอา นตอบทความ ขาว หรือเร่ืองที่อาน การแสดงความ คดิ เห็นสวนมากจะแสดงตอ เนอื้ หาสาระวานาจะจรงิ หรอื ไมนาเปน ไปได หรอื ไมน า จะเกดิ ได เปน ตน สวนการอานเพอ่ื สรุปความเปน การอานแลวนําใจความสําคัญมาสรุปความเปน สํานวนของตนเอง จะเปนการสรุปดว ยวาจาหรือเขยี นกไ็ ด ตวั อยางการอานเพื่อแสดงความคดิ เห็นและสรปุ ความ เรอ่ื ง ภัยแลง ...ยืดเวลาชาํ ระหนี้ นายอนนั ต ภสู ิทธิกุล เลขาธิการสํานักงานการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) เปดเผยวา ในทุกปพ น้ื ท่ีเกษตรกรรมในประเทศไทยจะประสบกับสถานการณภ ัยแลงในชว งฤดูหนาวคือตั้งแต เดือนตุลาคม - กุมภาพันธ และตอ เนื่องมาจนถึงฤดูรอ น คือระหวา งเดือนกุมภาพันธ - พฤษภาคม โดยเฉพาะอยางย่ิงเดือนมีนาคม - เมษายน ที่ท่ัวทุกภาคของประเทศไทยตอ งประสบปญ หาภัยแลง และในบางทอี าจเกิดภาวะฝนทิ้งชวงในชว งกลางของฤดูฝนคือ ตั้งแตป ลายเดือนมิถุนายน - กรกฎาคม โดยจะเปนเวลาประมาณ 1 - 2 สปั ดาห หรืออาจถึง 1 เดอื น “สถานการณภ ัยแลง ปน ้ี ส.ป.ก. เตรียมพรอ มแกไ ขปญ หาในเบ้ืองตนไว คาดวา นอกจากพืชไรแ ละ ขาวนาปท ่ีอาจจะประสบปญหาขาดแคลนน้ําหรือฝนทิ้งชวงแลว พืชชนิดอื่นคิดวาไมนาจะมีปญ หา แตอยางใด สําหรับการดูแลทรัพยากรในชว งแลงอาจจะประสบปญหาบา งในบางพื้นท่ี อยา งไรก็ตาม ส.ป.ก. ไดเ ตรียมการสนบั สนนุ แหลง ทนุ เพื่อการปรบั โครงสรางการผลิตใหม และเหนือส่ิงอ่ืนใด ส.ป.ก. เช่ือมน่ั วา องคความรูท่ีเกษตรกรในเขตปฏริ ปู ท่ดี นิ ไดพัฒนามาอยางตอ เนื่องจะสามารถชว ยใหพ วกเขา รับมือและผา นวกิ ฤตไิ ปไดด วยในทสี่ ุด” นายอนันต กลาว (หนังสอื พมิ พเ ดลนิ ิวส ฉบบั วันท่ี 11 กมุ ภาพนั ธ 2552) ความคดิ เห็นและสรุปความ นบั ไดวา เปน การเสนอวธิ กี ารแกไ ขและชวยเหลือเกษตรกรไดเปนการยืดเวลาชําระหน้ีโดยปรับโครง สรา งของการผลิตใหม เน่อื งจากฝนแลงผลผลติ อาจจะไมม ผี ล การอานจบั ใจความนี้ ครสู ามารถปรบั เปลี่ยนโดยนาํ เหตุการณป จจบุ นั หรอื ที่เกีย่ วของทงั้ ชุมชนมา อา นแทนได
16 กจิ กรรม ตอบคําถามตอไปน้ี 1. ผเู รยี นมีหลักการอา นออกเสยี งอยางไร 1. _________________________________________________________ 2. _________________________________________________________ 3. _________________________________________________________ 4. _________________________________________________________ 2. ใหผ ูเรียนทกุ คนอา นในใจเร่ืองตอ ไปน้ี แลว จับใจความสาํ คัญและเขียนสรุปความ ผนู ํายุวเกษตรกรไทยเตรียมไปญป่ี ุน การประชุมคณะกรรมการบริหารโครงการฯ โดยมีตัวแทนของ 5 หนวยงาน คือ กรมสงเสริมการ เกษตร สาํ นกั งานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ กรมสงเสริมสหกรณ กรมปศุสัตว และสํานักงาน การปฏิรูปท่ีดินเพื่อการเกษตรกรรมไดม ีมติวา จะใหย ุวเกษตรกรเขา รับการฝก งานตามโครงการฯ ณ ประเทศญปี่ นุ ในปน ี้ จาํ นวน 21 คน ยุวเกษตรกรทีผ่ า นการคัดเลอื กจะตองเขา รับการอบรมพน้ื ฐานการเกษตรและภาษาญี่ปุนโดยกรม สงเสรมิ การเกษตร ในระหวางวันที่ 16 กุมภาพนั ธ 2552 ถงึ 31 มีนาคม 2552 ณ ศูนยสงเสริมเยาวชน เกษตร จ. กาญจนบรุ ี และกาํ หนดเดินทางไปฝกงาน ณ ประเทศญป่ี นุ ในวนั ท่ี 6 เมษายน 2552 (หนงั สือพมิ พเ ดลนิ วิ ส ฉบบั วนั ท่ี 11 กุมภาพันธ 2552) ใจความสําคัญและสรุปความได ดงั นี้ _____________________________________________________________ _____________________________________________________________ _____________________________________________________________ _____________________________________________________________ _____________________________________________________________
17 เรื่องที่ 3 การอานรอยกรอง 1. ความหมายของรอยกรอง รอยกรอง หมายถึง คาํ ประพนั ธแ ตง ขนึ้ โดยมกี ารสมั ผัสใหคลอ งจองกัน 2. การอา นรอ ยกรอง 2.1 การอานคําคลอ งจอง บทกลอมเดก็ และเพลงพ้ืนบาน ใหอา นเปน จังหวะหรือใหคลอ งจอง มีการเอ้อื นคาํ เปน ตน ตัวอยางคาํ คลองจอง ขงิ ก็ราขา กแ็ รง, คนรกั เทา ผืนหนังคนชงั เทา ผืนเสือ่ , โยกเยกเอยนาํ้ ทวมเมฆ เปนตน ตวั อยางบทกลอมเดก็ โอละเหเอย แมจะเหใ หน อนวัน ตนื่ ข้ึนมาจะอาบนาํ้ ทําขวญั นอนวนั เถดิ แมคุณ พอ เนอ้ื เย็นเอย แมมใิ หเ จาไปเลน ท่ที า น้ํา จระเขจะมา มนั จะคาบเจา เขา ถ้ํา เจา ทองคําพอ คณุ ตัวอยางเพลงพ้นื บา น เพลงเก่ยี วขา ว ควา เถิดหนาแมค วา รีบตะบึงถึงคันนา จะไดพ ูดจากันเอย เกยี่ วเถิดหนาแมเ กย่ี ว อยามวั แลเหลียว เคยี วจะบาดมอื เอย 2.2 การอา นกลอนสุภาพ จังหวะในการอานคาํ ในกลอนสุภาพแบง คาํ ตามแผนผัง ดังน้ี 000/00/000/ 000/00/000/ 000/00/000/ 000/00/000/ ภายใน 1 วรรคมี 8 คํา จะอา น3/2/3 หากมี 9 คํา จะอาน 3/3/3 กลอนสุภาพ บทหน่ึงจะมี 2 บาท บาทที่ 1 เรียกวา บาทเอก มี 2 วรรค คอื สดับ, รบั บาทที่ 2 เรยี กวา บาทโท มี 2 วรรค คอื รอง และ สง ดงั นี้
๑ บท สดบั 18 ๐๐๐/๐๐/๐๐๐ บาทเอก รบั บาทโท รอง ๐๐๐/๐๐/๐๐๐ ๐๐๐/๐๐/๐๐๐ สง ๐๐๐/๐๐/๐๐๐ ตัวอยางกลอนสภุ าพ มีคนรักรสถอ ยอรอยจิต ถึงบางพดู พดู ดเี ปน ศรศี ักดิ์ จะถูกผดิ ในมนุษยเ พราะพูดจา แมนพูดช่วั ตวั ตายทาํ ลายมิตร (สนุ ทรภู) กิจกรรม จงตอบคําถามตอ ไปน้ี 1. ความหมายของรอ ยกรองคอื 2. การอา นกลอนสุภาพมีดงั นี้ 3. ผเู รียนจะเลอื กหนงั สอื อา นไดอ ยางไร 1. __________________________________________________ 2. _________________________________________________ 3. _________________________________________________ 4. ประโยชนของการอา นมดี ังนี้ 1. __________________________________________________ 2. __________________________________________________ 3. __________________________________________________
19 เร่ืองท่ี 4 การเลือกอานหนังสือและประโยชนของการอาน 1. การเลอื กอานหนังสือ 1. อานหนงั สือตามความสนใจ หรอื ความตองการซง่ึ สามารถหาอา นไดท ่ีหอ งสมุดประชาชนหรือ ศูนยการเรยี นรูชุมชน หรอื ท่ีอน่ื ๆ 2. การเลือกอานหนังสือกอ นอ่ืนจะตอ งดูทส่ี ารบญั เพ่อื ดเู นอื้ หาวา ตรงกบั ความสนใจ และ ตองการอา นหรือไม 3. อา นเพอื่ หาสาระไตรต รองกาํ หนดความตองการ ใหอา นรายชือ่ หนังสอื ในหนา บรรณานุกรม เพราะจะมรี ายช่ือหนงั สอื ทป่ี ระกอบการเขยี น ซ่ึงจะมเี น้อื หาสาระใกลเคยี งกบั สงิ่ ทีต่ อ งการ 4. พิจารณาจากผเู ขียน วฒุ ิการศึกษาหรอื ประสบการณท าํ ใหเ ช่ือมนั่ ไดว า เปน หนงั สอื ทม่ี คี ุณภาพ 5. ดจู ากชอ่ื หนงั สือที่จะอาน นอกจากพจิ ารณาเนอื้ หาสาระแลว จะตอ งดคู ณุ ภาพการพิมพ ตัวหนังสือ ภาพประกอบ และราคาวาเหมาะสมหรือไม 2. ประโยชนข องการอา น ประโยชนทไ่ี ด 1. ไดรับความรู ความคิด และประสบการณท จ่ี ะนําไปใชป ระโยชนไ ด 2. ไดรับความเพลดิ เพลนิ ผอนคลาย 3. ใชเ วลาวา งใหม ปี ระโยชน กจิ กรรม จงตอบคําถามตอไปน้ี 1. ผูเ รยี นจะเลอื กหนงั สอื อา นไดอยา งไร 1. ................................................................................................................................................ 2. ................................................................................................................................................ 3. ................................................................................................................................................ 2. ประโยชนของการอา น มดี งั น้ี 1. ................................................................................................................................................ 2. ................................................................................................................................................ 3. ................................................................................................................................................
20 เรื่องที่ 5 มารยาทในการอา นและสรา งนสิ ยั รกั การอาน 1. มารยาทในการอาน 1. ไมอา นเสียงดงั รบกวนผอู ่ืน 2. อานเสร็จแลว ควรเก็บหนงั สอื ไวทเี่ ดมิ 3. ไมควรอา นเร่อื งสวนตัวของผูอื่น 4. ไมขีดเขยี นทําลายหนังสือทีเ่ ปน สมบัตขิ องสว นรวม 5. ไมช ะโงกหนาไปอานในขณะทผ่ี ูอ ื่นกําลังอา น 2. การสรา งนสิ ัยรักการอาน 1. อา นหนังสือทตี่ นเองชอบ 2. อานอยางมสี มาธิ และจับใจความได 3. อา นหนงั สือทุกคร้ังท่วี า ง 4. ควรมีหนงั สอื ติดตวั เสมอเพือ่ อานไดท ุกครัง้ ทตี่ องการ 5. ควรอา นและจดบนั ทกึ ขอความ คติท่ีตนเองชอบ กจิ กรรม จงตอบคาํ ถามตอไปนี้ 1. ผเู รยี นจะมมี ารยาทในการอานอะไรบาง ทนี่ อกเหนอื จากการศกึ ษาขางตน 1. ______________________________________________________ 2. ______________________________________________________ 3. ______________________________________________________
21 บทที่ 4 การเขยี น สาระสาํ คัญ การเขยี นเปน ทักษะสาํ คญั ทฝ่ี กฝนได การเขยี นอกั ษรไทยและการเขียนสะกดคาํ ไดถ กู ตอง จะนาํ ไปสกู ารเขยี นอืน่ ๆ ไดเ ปนอยา งดี ผลการเรียนรทู คี่ าดหวงั ผูเ รียนสามารถ 1. อธบิ ายหลกั การและความสาํ คัญของการเขียนได 2. อธิบายการเขียนอกั ษรไทย สะกดคาํ เขยี นสอื่ สารและเขียนตามรูปแบบตาง ๆ ได 3. อธิบายการเขียนรายงานการคน ควา และอางอิงความรู กรอกรายการได 4. บอกมารยาทในการเขยี นและนสิ ัยรักการอา น ขอบขายเนือ้ หา เรื่องท่ี 1 หลักการเขยี นและความสําคัญของการเขียน เรื่องที่ 2 การเขียนภาษาไทย เรื่องท่ี 3 การเขียนสะกดคําและประสมคาํ เรอื่ งที่ 4 การเขยี นส่อื สาร เรือ่ งที่ 5 การเขยี นตามรูปแบบ เร่อื งที่ 6 การเขยี นรายงานการคน ควาและอางองิ ความรู เรอ่ื งท่ี 7 การเขียนกรอกรายการ เรอ่ื งที่ 8 มารยาทในการเขยี นและนสิ ัยรักการเขยี น
22 เรือ่ งท่ี 1 หลกั การเขียนและความสําคัญของการเขียน 1. หลกั การเขยี น 1. ขอ ความทเ่ี ขียนเรียบรอยและสะอาด 2. มีความรู ความเขาใจในเรอ่ื งท่ีเขียน 3. เขยี นถกู ตองตามหลกั ภาษา และสะกดถูกตอ ง 4. มจี ดุ มุงหมายในการเขียน 5. เขียนดวยความรแู ละความสามารถท่ถี า ยทอดความรู ความรสู ึก ตามความตอ งการของตนได 2. ความสาํ คัญของการเขยี น 1. เปน การส่อื สารทจ่ี ะแจง ใหผอู ื่น ไดท าํ งานหรอื ปฏิบตั ิตาม 2. เปน การเผยแพรค วามรู วทิ ยาการใหผอู น่ื ไดท ราบและนําไปใชประโยชน 3. เปน การบนั ทึกสาระสําคญั เพือ่ เปน หลักฐานและนาํ ไปใชประโยชน 4. เปนการเขยี นท่ีสามารถนาํ ไปประกอบอาชีพได เชน การเขียนขาว และการเขยี น นวนิยาย หรอื การเขียนบทละคร เปนตน กจิ กรรม จงตอบคาํ ถามตอไปนี้ 1. ผเู รยี นมหี ลกั การเขยี นอยางไรบาง ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ 2. การเขยี นนําไปใชประโยชนไดอ ยา งไรบาง ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________
23 เรอื่ งที่ 2 การเขียนภาษาไทย 1. พยญั ชนะ ภาษาไทยมพี ยญั ชนะ 44 ตัว คอื กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดตถทธนบปผฝพฟภมยรลวศ ษสหฬอฮ 2. สระ สระมี 21 รปู ดงั น้ี ะ เรียกวา วสิ รรชนีย ั เรียกวา ไมห ันอากาศ ็ เรยี กวา ไมไ ตคู า เรยี กวา ลากขาง ิ เรยี กวา พินทอุ ิ ุ เรยี กวา ตนี เหยยี ด ู เรียกวา ตีนคู เรยี กวา ฝนทอง ํ เรยี กวา นิคหติ , นฤคหติ “ เรยี กวา ฟน หนู เ เรียกวา ไมหนา ใ เรยี กวา ไมมวน ไ เรียกวา ไมมลาย โ เรยี กวา ไมโ อ อ เรียกวา ตวั ออ ย เรียกวา ตัวยอ ว เรียกวา ตัววอ ฤ เรยี กวา ตัวรึ ฤา เรยี กวา ตัวรอื ฦ เรียกวา ตวั ลึ ฦา เรียกวา ตัวลอื
24 3. วรรณยกุ ต มี 4 รปู 1. เรยี กวา ไมเอก 2. เรียกวา ไมโ ท 3. เรยี กวา ไมตรี 4. เรียกวา ไมจตั วา 4. เลขไทย เปน ตัวอกั ษรท่ใี ชแทนการนบั คอื ๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ กจิ กรรม จงตอบคาํ ถามตอไปนี้ บอกชอื่ สระดงั นี้ 1. ะ เรียกวา _________________________________________________ 2. ุ เรียกวา _________________________________________________ 3. ู เรยี กวา _________________________________________________ 4. เ เรียกวา _________________________________________________ 5. ไ เรยี กวา _________________________________________________ 6. โ เรียกวา _________________________________________________ 7. ย เรียกวา _________________________________________________ 8. ว เรียกวา _________________________________________________ 9. ฤ เรียกวา _________________________________________________ 10. ฦา เรยี กวา _________________________________________________ เรอื่ งท่ี 3 การเขียนสะกดและประสมคํา 1. การเขียนสะกดคํา การสะกดคํา หมายถึง การออกเสียงจาํ แนกคําเพอ่ื ใหทราบสว นประกอบของคาํ 1.1 คาํ ทีม่ ีตวั สะกด เปน คําทป่ี ระสมดว ยพยญั ชนะ สระ และพยญั ชนะทา ยคาํ แบง เปน 8 มาตรา 1.1.1 มาตราแมก ง คอื พยางคท มี่ ีตวั ง สะกด เชน จาง บาง 1.1.2 มาตราแมก ม คือ พยางคท มี่ ตี วั ม สะกด เชน ถม ดม 1.1.3 มาตราแมเ กย คอื พยางคทมี่ ตี ัว ย สะกด เชน เลย ตาย
25 1.1.4 มาตราแมเกอว คอื พยางคท ม่ี ตี ัว ว สะกด เชน สาว เลว แจว 1.1.5 มาตราแมกน คือ พยางคท ม่ี ตี ัว น สะกด เชน กนิ นอน หรอื ทต่ี วั อ่ืนท่ี ทาํ หนาท่แี ละออกเสยี งเหมอื น น สะกด คือ ญ ณ ร ล ฬ เชน จรญู คูณ ขจร มลู และทมิฬ 1.1.6 มาตราแมกก คอื พยางคท มี่ ตี วั ก สะกด เชน มาก จาก หรอื ตวั อนื่ ที่ทาํ หนา ทแ่ี ละออกเสียงเหมอื นมี ก สะกดคือ ข ค ฆ เชน สขุ พรรค และเมฆ 1.1.7 มาตราแมกด คือ พยางคท ม่ี ีตวั ด สะกด เชน กด มด หรอื ตัวอ่นื ที่ทํา หนา ที่และออกเสียงเหมอื นมตี ัว ด สะกด เชน จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ และ ส เชน ดจุ ราช กาซ กฎ นาฏศิลป รฐั ครุฑ วุฒิ มารุต รถ บาท พทุ ธ เพศ เศษ และรส 1.1.8 มาตราแมกบ คอื พยางคท ีม่ ีตัว บ สะกด เชน พบ ลบ หรอื ตัวอ่นื ทที่ าํ หนา ท่ี และออกเสยี งเหมือนมีตัว บ สะกด เชน ป พ ภ เชน ทวีป ภาพยนตร โลภมาก ธูปเทียน นพิ พาน 1.2 คําทไี่ มม ีตวั สะกด เปน คาํ ทป่ี ระสมดว ยพยัญชนะตน สระ หรือคาํ ทมี่ ตี วั สะกดในแม ก กา เชน จะ นํา ไป เปนตน 2. การประสมคาํ เปน การสรางคําโดยใชพ ยัญชนะ สระ และวรรณยกุ ต คาํ พยัชนะ สระ ตัวสะกด วรรณยกุ ต บาน บ า น - ราน ร า น งาม ง า ม - ล้นิ ล ิ น การอานออกเสียงสะกด เชน บอ – อา – นอ – บาน บาน อานวา งอ – อา – มอ – งาม งาม อานวา รอ – อา – นอ – ราน – โท – ราน รา น อานวา ลอ – อิ – น – โท – ลนิ้ ล้ิน อา นวา
26 กจิ กรรม จงตอบคําถามตอ ไปนี้ 1. ใหยกตัวอยางคําท่ีสะกด ดวยแมก ง แมกน แมกม แมก บ และ แมเกย อยา งละ 3 คาํ แมกง _________________________________________________________________ แมก น _________________________________________________________________ แมก ม _________________________________________________________________ แมกบ _________________________________________________________________ แมเ กย _________________________________________________________________ 2. ใหยกตวั อยา งประสมคาํ ที่มีพยัญชนะ สระ และวรรณยุกตมา 5 ตวั 1. _______________________________________________________________ 2. _______________________________________________________________ 3. _______________________________________________________________ 4. _______________________________________________________________ 5. _______________________________________________________________ เรอ่ื งที่ 4 การเขียนสื่อสาร การเขยี นส่ือสาร หมายถงึ การเขยี นท่ผี ูอ น่ื อา นแลว ไดค วามตามจดุ มุง หมายของผเู ขยี น ในระดบั ประถมศึกษานี้ ของผเู รยี น กศน.ควรจะเขยี นสิ่งตา ง ๆ เหลาน้ไี ด 1. การเขียนประวตั ติ นเอง การเขียนประวัติตนเองเปนการเขียนขอความเพื่อแสดงตนใหผ ูอื่นรูจักรายละเอียด เก่ยี วกับเจาของประวตั ิ หัวขอ หลัก ๆ ควรมดี งั นี้
27 ประวัติตนเอง ชือ่ ....................................................นามสกลุ ............................................................................................ เกิดวนั ท.ี่ ...........เดือน ................................... พ.ศ. ................... อายุ ....................................................... สถานภาพสมรส......................................................................................................................................... อาชีพ......................................................................................................................................................... ทีอ่ ย.ู .......................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... สถานท่ที ํางาน .................................................................................................................................................................. ประวตั ิการศกึ ษา .................................................................................................................................................................. ประสบการณใ นการทํางาน .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ความรูค วามสามารถพเิ ศษ .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. การเขยี นบันทึกประจําวนั การเขียนบันทกึ ประจาํ วนั เปนการเขียนเกี่ยวกบั ส่งิ ท่ีทํา ทีพ่ บ หรือที่เก่ียวขอ งกับผูอื่นใน วนั นั้น ๆ หลกั การเขยี นบนั ทกึ ประจาํ วนั ไดแก 1. บนั ทึกเปนประจาํ ทุกวนั 2. บนั ทกึ ตามความเปน จรงิ 3. เลือกบันทกึ เฉพาะเร่อื งสําคัญ หรือทต่ี องการจดจํา 4. ใชภ าษา ถอยคํางา ย ๆ อยา งไมเปนทางการ และขอ ความกระชบั 5. อาจแทรกความรูส ึก และความคิดเหน็ ของผูบนั ทกึ ตัวอยา งการเขยี นบันทกึ ประจําวัน วนั ที่ 10 กมุ ภาพันธ 2554 วนั น้ตี ่ืนนอนตอนเชา ตองรีบไปทํางาน ท่ีทํางานมกี ารประชุมเก่ียวกับแผนการทํางานในเดือน มนี าคม ตง้ั แต เวลา 10.00 - 12.00 น. ตอนบา ยทาํ งานท่ยี งั ไมเสร็จใหเ สร็จ กลับบา นและถึงบา น เวลา 18.30 น. รถตดิ มากถงึ ชา กวาทุกวนั เหนอื่ ยกบั การเดนิ ทางมาก
28 3. การเขยี นเลาเรอื่ งเกย่ี วกบั ขา วหรือเหตกุ ารณ การเขียนเลา เร่ือง เปนการเขยี นจากประสบการณตรงใหผ อู ื่นเขา ใจ โดยมหี ลกั การเขยี น ดงั น้ี 1. เขยี นตามความจริง 2. ใชภาษาทจ่ี ะใหผ ูอืน่ เขาใจและละเอยี ดพอท่ีจะอา นเขา ใจ 3. เขียนใหถ ูกตองตามหลักภาษาไทย 4. อาจจะมีเน้ือหาสาระ แสดงความคิดเหน็ หรอื ขอ เสนอแนะอนื่ ๆ ได ตัวอยางการเขียนเลา เรื่อง เหตุการณท ีป่ ระทับใจ เม่อื หยุดงานไดไ ปเท่ียวทะเลทจ่ี ังหวดั ระยอง เรยี กวา บานเพ ขณะท่ีนั่งเลน ริมชายหาด มีเด็กถูก มอเตอรไซตชนจึงเดินไปดูเด็กไดร ับบาดเจ็บเล็กนอย คงจะชนไมแ รง รถมอเตอรไซคขับเลยไปแลว ไมยอมหยดุ ดเู ลย คงคดิ วาไมเ ปนอะไรมาก เราจึงพาเดก็ ไปสงทส่ี ถานอี นามัยท่ีอยูใ กลๆ เจา หนา ท่ีไดทํา ความสะอาดบาดแผลและใสย าให เราไดพาเด็กไปสงที่บาน และเราก็กลับมานั่งชมทะเลที่บานเพตอ จนถึงบาย 4 โมงเยน็ จึงกลับบา น วันน้ีไดทาํ ความดี เปนเหตกุ ารณท ี่ประทับใจท่ไี ดชวยเหลือเพ่อื นมนุษย กจิ กรรม จงตอบคาํ ถามตอไปนี้ 1. ผเู รียนคดิ วา ในการเขยี นประวตั ติ นเอง ขอความใดสําคัญทส่ี ดุ __________________________________________________ __________________________________________________ __________________________________________________ __________________________________________________ __________________________________________________ 2. ใหผเู รียนเขียนบันทึกประจําวัน __________________________________________________ __________________________________________________ __________________________________________________ __________________________________________________ __________________________________________________
29 3. ใหผ ูเรยี นเขยี นเลา เรอ่ื งหรือเหตกุ ารณท ีป่ ระทบั ใจ __________________________________________________ __________________________________________________ __________________________________________________ __________________________________________________ __________________________________________________ เรื่องที่ 5 การเขียนตามรปู แบบ การเขยี นตามรูปแบบ เปนการเขียนตามแบบท่กี ําหนด เชน การเขยี นเรียงความ 1. การเขยี นเรยี งความ การเขยี นเรียงความ เปนการแสดงออกทางความคิดและประสบการณข องผเู ขียนเพอื่ ให ผูอน่ื ทราบ ซึ่งมีรปู แบบในการเขียน 1. ช่อื เรอื่ งจะบอกเคา โครงเรอ่ื งได เชน โรงเรียนของฉัน ชุมชนทฉ่ี ันอยู เปนตน 2. การเขยี นเรยี งความจะมอี งคประกอบอยู 3 สว น คือ 1. คํานํา เปน การเรมิ่ ตน ของเรยี งความทเี่ ปน สว นดงึ ดูดใจ ใหส นใจอา นทงั้ เรอ่ื ง 2. เน้อื เรื่อง เปน เนอ้ื หาสาระของเรยี งความท้ังเรอื่ ง จะตอ งคิดโครงเรื่องกอ นจึงจะ เขียนและเขียนรายละเอียดตอ ไป 3. บทสรปุ เปน การสรปุ แกน ของเรอ่ื ง ไมค วรจะยาวมาก 2. การยอความ การยอ ความเปนการสรุปใจความสําคญั จากเร่อื งทอ่ี านดว ยภาษาหรอื สาํ นวนของตนเอง หลกั การยอ ความ 1. ยอ ความตามรปู แบบของการยอ ความ 2. อานเร่อื งที่จะยอจนเขาใจ 3. พจิ ารณาใจความสําคัญและนาํ มาเขยี นเปน ภาษาหรอื สํานวนของตนเอง 4. รปู แบบของการยอ ความ จะมคี ํานาํ เพื่อเขียนทม่ี าเบอ้ื งตน ของยอ ความนัน้ เชน ยอความเร่ือง................................................ของ (ผแู ตง)............................................................... จากหนังสอื .............................................................ความวา ...................................................................... ยอขาวเรอื่ ง………….......................................เขียนโดย................................................................................ จากหนงั สอื ........................................ ความวา............................................................................. ยอหนาตอ มาจะเปนใจความสาํ คัญจากการอาน.........................................................................................
30 ตวั อยางยอ ความ เมอื งโองแนะระวงั ไฟปา นายสุเมธ ชัยเลิศวณิชกุล ผูว าราชการจังหวัดราชบุรี กลา วถึงการรณรงคประชาสัมพันธ ปองกันไฟปา วา เน่ืองจากในขณะนี้เขาสูช ว งที่มีอากาศแหง แลง และมีลมแรง อีกท้ังเปน ระยะเวลาที่ เกษตรกรเก็บเก่ยี วพชื ผลทางการเกษตรแลว และมักจะเผาซากพืช ตอซัง ขา วฟาง อันเปนเหตุใหเ กิด ไฟไหมลุกลามเขา ไปยงั พื้นทีป่ าไม จนกลายเปน ไฟปา สรางความเสียหายแกพ ันธไุ มแ ละสัตวปา รวมทั้ง ทําใหส ภาวะโลกรอนรุนแรงย่ิงข้ึน ดังนั้นจังหวัดราชบุรี จึงขอความรวมมือจากประชาชนในจังหวัด อยาเผาวัสดสุ ่งิ ของใด ๆ อันเปน สาเหตใุ หเ กดิ ไฟปาได และหากพบเห็นไฟปา กรณุ าแจง ใหศูนยปฏิบัติการ ควบคุมไฟปา ภาคกลางทราบดวย (หนงั สือพมิ พเดลนิ ิวส ฉบบั วนั ที่ 11 กมุ ภาพนั ธ 2552) ยอ ขาวเร่อื ง เมืองโองแนะระวงั ไฟปาจากหนงั สือพิมพเ ดลินิวส ฉบับวันท่ี 11 กุมภาพันธ 2552 หนา 15 ความวา นายสุเมธ ชัยเลิศวณิชกุล ผูวาราชการจังหวัดราชบุรี จัดใหม ีการรณรงคป ระชาสัมพันธ ใหป ระชาชนระวงั ไฟปา เผาซากพชื ตอซัง ฟางขาว จนเกิดเหตุเปนไฟปาสรางความเสียหายแกพันธุไม สัตวป า และทําใหภาวะโลกรอ น หากพบเหน็ ไฟปา แจง ศูนยปฏบิ ตั ิการควบคุมไฟปา ภาคกลางทราบ 3. การเขียนจดหมาย จดหมายทผี่ เู รียนควรศกึ ษาในระดบั ประถมศึกษา คือ การเขียนจดหมายกิจธรุ ะ หลกั การเขียนจดหมาย 1. เขียนใหส ะอาดเรียบรอย 2. อา นและเขา ใจความประสงคช ดั เจน 3. ใชภาษาสภุ าพและถกู ตองตามหลกั ภาษา 4. ถูกตองตามรูปแบบการเขยี นจดหมาย รปู แบบการเขียนจดหมายกจิ ธุระ สถานท.่ี .................................................. วัน..........เดอื น.....................ป. ............... เร่ือง ........................................................................ เรยี น ....................................................................... (ขอ ความ) .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... คําลงทาย .............................................. ช่ือผเู ขียนจดหมาย .......................
31 ตัวอยา งการเขยี นจดหมายกจิ ธุระ กลมุ พฒั นาเศรษฐกิจพอเพียง ต.บางใหญ อ. บางใหญ จ.นนทบรุ ี 11140 12 กมุ ภาพันธ 2552 เรือ่ ง ขอยืมอุปกรณกฬี า เรียน ผอู ํานวยการ กศน. อําเภอบางใหญ ดวยกลมุ พัฒนาเศรษฐกิจพอเพยี ง จะใหมกี ารแขง ขันกฬี าภายใน ในวันที่ 20 กมุ ภาพันธ 2552 เวลา 8.00 – 17.00 น. จงึ ใครขอยืมอปุ กรณก ฬี า เพ่ือใชป ระกอบการแขงขนั จาํ นวน 5 รายการ ดังนี้ 1. ลกู ฟตุ บอล 3 ลกู 2. ลกู บาสเกต็ บอล 2 ลูก 3. ไมแบดมินตนั 3 คู 4. เซปกตะกรอ 8 ลกู 5. นกหวีด 5 ตวั โดยจะคืนอุปกรณดังกลา ว ภายในวันท่ี 21 กมุ ภาพนั ธ 2552 จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบและพจิ ารณา ขอแสดงความนับถือ (นายเดชา ไทยจงเจรญิ ) ประธานกลมุ พัฒนาเศรษฐกจิ พอเพยี ง กจิ กรรม 1. ทา นคดิ วาในการเขียนประวัตติ นเอง ขอ ความใดสาํ คญั ที่สดุ เพราะเหตใุ ด 2. เขยี นเรียงความเร่ืองครอบครวั ของฉัน 3. ยอขา วจากหนงั สือพิมพ 1 เรือ่ ง โดยแนบตนฉบบั ขาวดว ย 4. เขยี นจดหมายกิจธรุ ะ 1 ฉบบั __________________________________________________________ __________________________________________________________ __________________________________________________________ __________________________________________________________ __________________________________________________________
32 เร่อื งท่ี 6 การเขยี นรายงานการคน ควา และอา งอิงความรู 1. การเขียนรายงานการคนควา การเขยี นรายงานเปนการเขียนผลการศึกษาจากการคน ควา เพอ่ื นาํ เสนอผบู ังคบั บัญชา หรือผสู อน หลักการเขียนรายงาน 1. ขอมูลทเี่ ขยี นตอ งเปน ความจริง 2. ขอ มูลใดทีน่ าํ มาจากผรู อู ืน่ ตอ งเขยี นเปน เชงิ อรรถและบรรณานกุ รม 3. เขียนเปน ทางการ ใชภ าษาถกู ตอ ง และชัดเจน สวนประกอบของรายงาน 1. ปกหนา ประกอบดว ยชอื่ เรือ่ ง ช่ือผเู ขียน และนําเสนอผใู ด 2. คํานํา เปน ความเรียงมี 3 สว น คอื ความเปนมาและวตั ถปุ ระสงค สาระของรายงาน ประโยชนท ่ไี ดร ับและขอบคณุ ผูมสี ว นชวยเหลอื 3. สารบัญ 4. เนอ้ื หาสาระ 5. บรรณานุกรม 2 . การเขยี นอางองิ ความรู การเขยี นอางอิงความรู หมายถงึ การเขียนเชิงอรรถและบรรณานกุ รม 1. เชิงอรรถ เชิงอรรถเปนชื่อผเู ขียน ปท พ่ี ิมพและเลขหนาหนงั สือทน่ี าํ ไปใชป ระกอบการเขียน เชน อุทัย ศิริศักด์ิ (2550, หนา 16) การเขียน อา งอิงแบบน้ีจะไมไ ดเขียนชื่อหนังสือ ช่ือหนังสือจะเขียน ในหนาบรรณานุกรม 2. บรรณานุกรม บรรณานกุ รม ประกอบดว ยรายช่อื หนงั สือทใี่ ชป ระกอบการเขียน โดยจะตอ งเขยี น เรียงตามตวั อกั ษรช่ือผแู ตง โดยเขียนชอื่ ผูแ ตง ชือ่ หนังสอื ชอ่ื สถานทพ่ี มิ พ ชอื่ โรงพมิ พแ ละปท พี่ มิ พ เชน กนกอร ทองคํา. การใชภาษาไทย, กรงุ เทพฯ : ไทยววิ ัฒน, 2549. ศริ ิอร ทองอาํ ไพ. หลกั การใชภ าษา, นนทบรุ ี :ไทยเจรญิ , 2550
33 กิจกรรม จงตอบคาํ ถามตอไปนี้ 1. สวนประกอบของรายงาน มดี งั นี้ __________________________________________________________________ __________________________________________________________________ __________________________________________________________________ __________________________________________________________________ 2. ขอความในเชงิ อรรถ บอกอะไรบา ง __________________________________________________________________ __________________________________________________________________ __________________________________________________________________ __________________________________________________________________ 3. บรรณานุกรม บอกใหเ รารอู ะไรบาง __________________________________________________________________ __________________________________________________________________ __________________________________________________________________ __________________________________________________________________ เรือ่ งที่ 7 การเขยี นกรอกรายการ การกรอกรายการเปน การกรอกแบบฟอรม ของหนวยราชการ หรอื หนว ยงานตาง ๆ ท่ใี หก รอก เพอื่ แสดงขอมูลที่หนวยงานนัน้ ๆ ตองการทราบ เชน การกรอกใบสมคั รเรยี น การกรอกแบบฟอรม การติดตง้ั โทรศพั ท หรอื การกรอกแบบฟอรม การขอใชไ ฟฟา เปนตน หลกั การกรอกแบบรายการ 1. อา นขอความในแบบรายการน้นั ๆ ใหเ ขาใจกอนจะเขียนขอความ 2. เขยี นใหถ กู ตอ งและสะอาด 3. กรอกขอความตามความจริง 4. ใชถ อ ยคาํ สน้ั ๆ และกะทดั รัด 5. ปฏบิ ัตติ ามขอ บังคับ หรอื คําแนะนําของแบบรายการนั้น ๆ
34 แบบรายการทจ่ี ะใชใ นชีวติ ประจําวัน 1. แบบฟอรมธนาณัติ 2. แบบฟอรม สงพสั ดทุ างไปรษณยี 3. แบบฟอรม สมคั รตา ง ๆ 4. แบบฟอรมคํารอ ง 5. แบบฟอรมสญั ญา 6. แบบฟอรมฝากเงนิ แบบฟอรมถอนเงิน ของสถาบนั การเงนิ กิจกรรม ใหผ เู รียนเลือกกรอกแบบรายการ ขา งลางนี้ 2 ชนดิ โดยใชแบบฟอรมจรงิ จากหนว ยงานนน้ั ๆ และจัดเก็บไวใ นสมุดแบบฝก หดั หรือแฟม ขอมลู วชิ าภาษาไทย 1. แบบฟอรม ธนาณตั ิ 2. ใบสงพสั ดทุ างไปรษณีย 3. ใบสมคั รตา ง ๆ 4. ใบคํารอง 5. หนงั สือสญั ญา 6. ใบฝากเงิน ถอนเงนิ ของสถาบนั การเงิน เร่อื งท่ี 8 มารยาทในการเขยี นและนิสยั รักการเขียน 1. มารยาทในการเขยี น 1. เขียนถูกตองและชดั เจนใหผ อู ื่นอา นได 2. เขยี นเชงิ สรา งสรรค ไมเขยี นเพ่อื ทําลายหรอื ทําใหเกดิ ความเสียหายแกผอู ืน่ 3. เขียนในสถานทค่ี วรเขยี น ไมเ ขยี นในท่ไี มสมควร เชน สถานทส่ี าธารณะ 4. เขียนทุกอยา งดว ยขอมูลทเ่ี ปนความจรงิ 5. ไมขดี หรอื เขียนขอ ความในหนังสือ เอกสารและอ่ืน ๆ ทเ่ี ปน ของประชาชนโดยรวม เชน หนังสอื ในศูนยก ารเรยี น หรือหองสมดุ 2. นสิ ยั รักการเขยี น 1. เริ่มตน ดวยการเขียนสงิ่ ทง่ี า ย และไมใชเ วลามาก 2. เขยี นตอเน่อื งจากการเขยี นคร้งั แรก เชน การเขียนบันทกึ ประจําวัน 3. เรมิ่ เขียนดวยขอความที่งา ยและส้นั และกาํ หนดเวลากับตนเอง ใหพ ยายามเขียน ทกุ วันตามระยะเวลาที่พอใจ จะทําใหเ ขยี นไดโดยไมเบอื่ หนาย
35 กจิ กรรม จงตอบคําถามตอ ไปน้ี 1. มารยาทในการเขียนของผเู รยี น มีอะไรบาง 1. ________________________________________________ 2. ________________________________________________ 3. ________________________________________________ 4. ________________________________________________ 5. ________________________________________________ 2. ผเู รยี นจะปฏบิ ตั ติ นอยางไร จึงจะถือวา เปน การสรางนสิ ยั รักการเขยี น 1. ________________________________________________ 2. ________________________________________________ 3. ________________________________________________
36 บทท่ี 5 หลกั การใชภ าษา สาระสาํ คญั หลักการใชภาษาเปน การนาํ ความรทู างภาษามาใชจรงิ ตามลกั ษณะกฎเกณฑของภาษาไทย ซึ่งประกอบดวยอักษรไทย พยางค คําในมาตราตัวสะกด ชนดิ ของคาํ ประโยค และอื่น ๆ ผลการเรยี นรูท ค่ี าดหวงั ผูเ รียนสามารถ 1. อธบิ าย เสียง รูปอกั ษรไทย พยญั ชนะ สระ วรรณยุกต และไตรยางคไ ด 2. อธิบายการใชคํา ชนิดของคํา หนาท่ีของคํา ประโยค เครื่องหมายวรรคตอนและการใช พจนานุกรมได 3. อธบิ ายสาํ นวน คําพงั เพย สุภาษติ คําราชาศพั ท และคําสุภาพได 4. อธิบายการใชภ าษาอยางเหมาะสมตามกาลเทศะ บุคคล และสถานการณ ขอบขา ยเนื้อหา เรื่องที่ 1 เสยี ง รูปอกั ษรไทยและไตรยางค เรือ่ งที่ 2 ความหมายและหนา ท่ีของคํา กลมุ คําและประโยค เร่ืองที่ 3 เคร่ืองหมายวรรคตอนและอกั ษรยอ เรอ่ื งท่ี 4 หลกั การใชพ จานกุ รม คาํ ราชาศพั ทแ ละคําสภุ าพ เรอ่ื งที่ 5 สํานวนภาษา เรื่องท่ี 6 การใชทกั ษะทางภาษาเปนเครอ่ื งมอื ในการแสวงหาความรู เร่ืองที่ 7 ลักษณะของคําไทย คาํ ภาษาถ่นิ และคาํ ภาษาตางประเทศในภาษาไทย
37 เรอื่ งที่ 1 เสยี ง รูปอักษรไทย และไตรยางค ผเู รยี นไดศกึ ษารูปอกั ษร คือ พยญั ชนะ 44 ตวั สระ 21 รปู วรรณยกุ ต 4 รปู และเลขไทย ๐ – ๙ แลว ในเรือ่ งที่ 2 การเขียนอกั ษรไทย ซึ่งอยใู นบทท่ี 4 การเขียน ในเร่ืองน้ีผเู รียนจะไดศกึ ษาเสยี งของภาษาไทย คอื เสยี งพยญั ชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยกุ ตตามรายละเอียด ดังน้ี 1. เสยี งพยญั ชนะ เสียงพยัญชนะมี 21 เสยี ง รูปพยญั ชนะ เสียงพยัญชนะ ก ก - กอ ขฃคฅ ฆ ค - คอ ง ง - งอ จ จ - จอ ช ฌ ฉ ช - ชอ ซสศษ ซ - ซอ ดฎ ด - ดอ ตฏ ต - ตอ ทธฑฒถฐ ท - ทอ นณ น - นอ บ บ -บอ ฟ ฟ - ฟอ พภผ พ - พอ ฟฝ ฟ - ฟอ ม ม – มอ
38 รปู พยญั ชนะ เสียงพยญั ชนะ ย ย - ยอ ร ร - รอ ล ล - ลอ ว ว - วอ ฮห ฮ - ฮอ อ อ – ออ พยัญชนะตน ของคาํ บางคาํ มีการนําพยัญชนะมารวมกันแลวออกเสียงพรอ มกัน เรยี กวา “เสยี งควบกล้ํา” มีทใ่ี ชก นั พอยกเปนตัวอยา งได ดังนี้ 1. กว เชน แกวง / ไกว 2. กร เชน กรอบ / กรงุ 3. กล เชน กลอง / กลบั 4. คว เชน ควาย / ควา 5. คร เชน ใคร / ครวญ 6. คล เชน คลอ ย / เคลิ้ม 7. พร เชน พระ / โพรง 8. พล เชน พลอย / เพลง 9. ปร เชน ปราบ / โปรด 10. ปล เชน ปลุก / ปลอบ 11. ตร เชน ตรวจ / ตรอก 12. ทร เชน จนั ทรา / ทรานซสิ เตอร 13. ฟร เชน เฟรน / ฟรี 14. ฟล เชน ฟลุก / แฟลต 15. บล เชน บลอ็ ก / เบลอ 16. ดร เชน ดราฟท
39 2. เสยี งสระมี 24 เสียง โดยแบง เปน เสยี งส้ันและเสยี งยาว สระเสยี งสัน้ สระเสยี งยาว อะ อา อิ อี อึ อือ อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ เอียะ เอีย เอือะ เอือ อัวะ อัว 3. เสยี งวรรณยุกต มี 5 เสียง คือ เสยี งสามญั เชน กา เสยี งเอก เชน กา เสยี งโท เชน กา เสยี งตรี เชน กา เสียงจัตวา เชน กา คําไทยทุกคํามเี สียงวรรณยกุ ต แตอ าจไมมีรปู วรรณยกุ ต เชน ขอ หนู หู ตงั
40 4. ไตรยาค คอื อกั ษร 3 หมู ซึง่ แบงตามเสยี ง ดังนี้ 1. อกั ษรสงู มี 11 ตัว คอื ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห 2. อักษรกลางมี 9 ตัว คอื ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ 3. อกั ษรตาํ่ มี 24 ตวั คือ ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ นพฟภมยรลวฬฮ ตัวอยา งการผันวรรณยุกต อักษร 3 หมู เสียงสามัญ เสียงเอก เสยี งโท เสยี งตรี เสยี งจตั วา อกั ษรกลาง กา กา กา กา กา - กะ กะ กะ - อักษรสงู - ขา ขา - ขา - ขะ ขะ - - อกั ษรตํา่ คา - คา คา - - - คะ คะ - กจิ กรรม จงเตมิ คําและขอความใหถ กู ตอง 1. เสยี งพยัญชนะม_ี _________________เสียง 2. เสียงสระม_ี _____________________เสยี ง 3. เสียงวรรณยกุ ตม _ี ________________เสยี ง 4. นา มีเสียงวรรณยกุ ต ______________________ หมา มเี สียงวรรณยุกต ______________________ กนิ มเี สยี งวรรณยุกต ______________________ สิน มเี สียงวรรณยกุ ต ______________________ พลอย มีเสียงวรรณยุกต ______________________ 5. ไตรยางค คอื ______________________________________________
41 เรอื่ งที่ 2 ความหมายและหนาท่ขี องคํา กลมุ คํา และประโยค คํา หมายถึง เสียงท่ีเปลง ออกมาแลวมีความหมาย จะมีก่ีพยางคก็ได เชน ไก ขนม นาฬิกา เปน ตน พยางค หมายถึง เสยี งท่เี ปลง ออกมาคร้งั หนึง่ จะมคี วามหมายหรือไมม กี ไ็ ด เสยี งที่เปลง ออกมา 1 ครง้ั ก็นบั วา 1 พยางค เชน นาฬกิ า มี 3 พยางค แตม ี 1 คํา แมนาํ้ มี 2 พยางค แตม ี 1 คาํ มคี วามหมายวา ลาํ นํา้ ใหญ ซึง่ เปน ท่รี วมของลาํ ธารทง้ั ปวง ชนิดของคํา คําท่ีใชใ นภาษาไทยมี 7 ชนิด คือ คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา คําวิเศษณ คาํ บุพบท คําสันธาน และคาํ อุทาน ซึ่งคําแตละชนดิ มหี นา ท่ีแตกตางกนั ดงั นี้ 1. คาํ นาม คอื คําทีใ่ ชเรียกช่อื คน สัตว สงิ่ ของ สถานทแ่ี ละคาํ ที่บอก กริ ยิ าอาการหรือลักษณะ ตางๆ ทาํ หนา ทเ่ี ปน ประธานหรือกรรมของประโยค ตัวอยาง คาํ ท่ใี ชเ รยี กช่ือ เรียกช่ือสตั ว = แมว ชา ง หมู ทั่วไป เรยี กช่ือสง่ิ ของ = ดนิ สอ พัดลม โตะ คาํ ทใ่ี ชเรยี กช่ือ เรยี กชอ่ื สถานที่ = โรงเรยี น กรุงเทพมหานคร เฉพาะบุคคล เรียกชือ่ คน = สมศักดิ์ พรทพิ ย หรอื สถานท่ี คาํ ท่ใี ชแสดง บอกหมวดหมู = ฝงู กรม กอง โขลง การรวมกนั เปน หมวดหมู บอกอาการหรอื บอก = จะมีคําวา “การ” และ “ความ” คําที่ใชบอกอาการ คุณลกั ษณะทไี่ มม ีตัวตน นําหนา คํากริยา เชน ความสุข หรอื คุณลักษณะที่ ไมมีตัวตน คาํ ท่บี อก นามทใี่ ชตามนามอนื่ ๆ = นาฬกิ า 1 เรือน ลักษณะ เพ่ือบอกลักษณะของ ววั 3 ตัว บาน 3 หลงั
42 2. คําสรรพนาม คอื คําท่ีใชแทนคํานามหรือขอ ความทกี่ ลาวมาแลว ในกรณที ่ีไมต องการกลา ว คาํ นนั้ ซ้ําอีก ทําหนาทเ่ี ชน เดยี วกับคํานาม ตัวอยาง สรรพนามแทน ขา ขาพเจา กระผม ผม เรา อาตมา ฉัน (แทนผพู ูด) ผูพดู /ผูฟงและ เธอ ทาน มงึ เอง็ พระคณุ เจา (แทนผูกาํ ลังพดู ดวยหรือผฟู ง ) ผูท่ีกลา วถงึ เขา พวกเขา พวกมัน (แทนผทู ีถ่ ูกกลา วถึง) สรรพนามที่กําหนด น่ี โนน โนน ใหร ูค วามใกลไกล สรรพนามคําถาม ใคร อะไร ที่ไหน อันไหน 3. คํากรยิ า คอื คาํ ที่แสดงการกระทาํ อยางใดอยา งหน่ึงของคํานาม คําสรรพนาม หรือแสดง การกระทําของประธานในประโยค ใชวางตอจากคาํ ทีเ่ ปน ประธานของประโยค ตัวอยางคาํ กรยิ า ไดแ ก วง่ิ ยนื เดิน น่ัง นอน พูด ไป กนิ เลน ฯลฯ คาํ กรยิ าทตี่ อ งมีกรรม นกั เรียน ซ้อื หนังสอื มารับขางทา ยจึงจะ นายแดง กิน ขาว ไดค วามสมบรู ณ คาํ กริยาไมตอ งมี นกรอ ง กรรมมารบั ขางทาย เธอรอ งไห คาํ กริยาทต่ี อ งอาศัย ฉัน เปน แมบ าน สว นเตมิ เตม็ หรอื เธอ อยู ภูเกต็ ตอ งมีกรรมมารบั
Search