คำนำ รายงานผลการปฏิบัติงานตามนโยบายการนิเทศ ติดตามการพัฒนาประสิทธิภาพการจัด การศึกษาโรงเรียน ระดับกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับนี้ เป็นเอกสารจัดทาข้ึนเพื่อ อธิบายขั้นตอน วิธีการ กระบวนการ แนวคิด หลักการ และเหตุผล ในการดาเนินการตามนโยบาย ของท่านเสริมฤทธ์ิ หวายฤทธิ์ ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 ทั้ง 7 ประเด็น ซง่ึ ได้แก่ 1. การยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น 2. การพัฒนาการอ่านออกยกชัน้ 3. นวัตกรรมการสอน 4. นวตั กรรมการบริหาร 5. 1 โรงเรยี น 1 กิจกรรมเด่น 6. โรงเรยี น 1 อัตลกั ษณบ์ ุรรี ัมย์ 7. โรงเรียนปลอดขยะ ขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทาเอกสารฉบับนี้จนแล้วเสร็จและหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา คุณภาพของผู้เรียนมิมากก็น้อย ในโอกาสต่อไป
สำรบัญ หน้ำ เร่อื ง 1 คำนำ 1 สำรบัญ 4 กำรยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทำงกำเรียน 6 8 - ส่วนที่ 1 เปน็ การพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นในภาพรวมของสถานศึกษา 12 - ส่วนท่ี 2 เปน็ การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น NT / O-NET 13 - สว่ นท่ี 3 เป็นการส่งเสริมการเรียนรใู้ ห้กบั ผู้เรยี นอยา่ งหลากหลายวิธี 14 กำรพัฒนำกำรอำ่ นออกยกช้ัน 15 นวัตกรรมกำรสอน ( 1 ครู 1 นวตั กรรม ) 16 - การจัดกจิ กรรมการเรียนรูผ้ ่านหนังสอื ภาพประกอบการเรียนรแู้ ละการนบั จานวน 1-10 17 - ไม้บรรทัดสระสอนอ่าน 18 22 - การออกเสียงพยัญูชนะภาษาอังกฤษโดยใช้สอ่ื และเทคโนโลยใี นการจดั การเรียนรู้ 24 - กิจกรรมสง่ เสรมิ การคิดวเิ คราะห์และแก้ปญั หากล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ 28 - การใช้แบบฝกึ ทักษะการอา่ นภาษาองั กฤษเพื่อความเขา้ ใจของนักเรียนประถมศึกษาปที ี่ 32 36 6 เรยี นรว่ ม จากการจดั การเรยี นรู้การอา่ นตามรูปแบบการสอนที่เป็นสากล 39 1 โรงเรียน 1 กิจกรรมเดน่ 45 โรงเรยี น 1 อตั ลกั ษณ์บรุ ีรมั ย์ โรงเรยี นปลอดขยะ นวตั กรรมกำรบรหิ ำร - T1 (Team Work) - T2 (Teacher) - T3 (Technology) - T4 (Trying) ภำคผนวก คณะผู้จดั ทา
กำรยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทำงกำรเรียน โรงเรยี นบ้ำนบ่อดนิ การยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนนั้น ถือเปน็ ภารกจิ ท่ีสาคัญทีส่ ดุ ของโรงเรยี นบ้านบ่อดนิ ซ่ึง ไดด้ าเนินการพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนเป็น 3 สว่ น ดังน้ี ส่วนที่ 1 เป็นกำรพัฒนำผลสมั ฤทธท์ิ ำงกำรเรยี นในภำพรวมของสถำนศึกษำ โดยมีการพัฒนานวัตกรรมของครูผู้สอนและจัดสอนซ่อมเสริมในชั่วโมงสุดท้ายของวันใน แตล่ ะสัปดาห์อยา่ งต่อเนือ่ งของภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2561 เพอ่ื พฒั นานักเรียนทุกคน ในทุกระดับช้ัน เพื่อให้สามารถจบการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยมีรายละเอียดของกระบวนการ ยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน ดังน้ี ขนั้ ท่ี 1 วเิ คราะห์สภาพปจั จุบนั เกย่ี วกบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ขน้ั ท่ี 2 กาหนดเปา้ หมาย/วางแผนในการพัฒนา ข้นั ท่ี 3 สร้างเคร่ืองมือ/นวัตกรรมเพ่ือใช้ในการพฒั นา ขนั้ ท่ี 4 การจัดกิจกรรมการเรยี น/การนิเทศติดตาม ขั้นที่ 5 รายงานสรุปผล
2 นวตั กรรมของครู ระดบั ชน้ั อนุบาล ไดจ้ ดั กจิ กรรมการเรียนรูผ้ ่านหนังสอื ประกอบการเรยี นรแู้ ละการนับจานวน 1-10 เพ่อื เปน็ การวางพน้ื ฐานและทักษะทางคณติ ศาสตรใ์ ห้กบั นกั เรยี น ระดับช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 ไดจ้ ดั กิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้นวตั กรรม “ไม้บรรทัดสระสอนอา่ น” เพ่อื เปน็ การวางพนื้ ฐานและทักษะทางภาษาไทยใหก้ ับนักเรียน
3 ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 2 ไดจ้ ัดกิจกรรมการเรยี นรู้การอ่านออกเสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษ โดยใชส้ อ่ื และเทคโนโลยี เพอ่ื เป็นการวางพนื้ ฐานและทักษะทางภาษาองั กฤษให้กบั นักเรียน ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3-4 เรียนรว่ ม ไดจ้ ดั กจิ กรรมการเรยี นรูโ้ ดยใช้กิจกรรมเสริมสร้างการ คดิ วเิ คราะห์และแก้ปัญหา เพอื่ เปน็ การวางพื้นฐานและทักษะทางคณติ ศาสตร์ใหก้ บั นักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5-6 เรียนร่วม ได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ การอ่านภาษาองั กฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนเรียนร่วม จากการจัดการเรียนรู้การอ่านตามรปู แบบ การสอนท่ีเป็นสากล (Universal Design of Instruction) เพ่ือเป็นการพัฒนาความสามารถด้านการ อา่ นภาษาอังกฤษเพอื่ ความเข้าใจให้กับนักเรียนเรยี นร่วม
4 ส่วนที่ 2 เปน็ กำรพัฒนำผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรียน NT / O-NET ไดก้ าหนดแนวทางในการพัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนในระดับชัน้ ประถมศึกษา ปที ่ี 3 (NT) และในระดับช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 (O-NET) ดังน้ี 1. วางแผนการสอนตามมาตรฐานและตวั ช้วี ดั 2. กาหนดการสอนชน้ั ป. 3 และ ป. 6 ใหจ้ บภายในเดอื นธันวาคม 2561 3. กาหนดตาราง/วนั /เวลาในการจดั กจิ กรรมติวข้อสอบไว้อย่างชัดเจน 4. นาแนวข้อสอบ NT/O-NET ไปใชต้ วิ ใหก้ ับนักเรียนเพื่อให้นักเรยี นคุน้ เคยและ มปี ระสบการณ์การทาข้อสอบ (รปู แบบข้อสอบ/กระดาษคาตอบ/การระบายคาตอบ) 5. โรงเรยี นประกาศใหร้ างวัลนักเรียนท่ีมีคะแนนสงู /มคี วามกา้ วหน้าสูง เพ่ือเป็นการเสรมิ แรงทางบวกใหก้ ับนกั เรียน
5
6 ส่วนที่ 3 เปน็ กำรส่งเสริมกำรเรยี นรู้ใหก้ ับผู้เรียนอย่ำงหลำกหลำยวิธี เชน่ 1. การเรียนรู้ และการค้นคว้าหาความรูด้ ้วยตวั ของผเู้ รยี นเอง 2. การศกึ ษาจากแหล่งเรียนรูภ้ ายนอกห้องเรียน หรอื การไปทัศนศกึ ษา 3. การเปล่ยี นบรรยากาศในการเรยี นเช่น เรยี นรอู้ ยนู่ อกห้องเรียน 4. การไปศกึ ษาเรียนรูจ้ ากสถานที่จรงิ เช่น วดั ตลาด โรงงาน โรงพยาบาล หรอื หา้ ง สรรพสิน้ ค้า สถานทรี่ าชการ เป็นต้น
7
กำรพัฒนำกำรอ่ำนออกยกช้นั ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติ เป็นสมบตั ทิ างวัฒนธรรมอันก่อใหเ้ กิดความเป็นเอกภาพ และ เสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาตใิ ห้มีความเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการติดตอ่ ส่ือสาร เพื่อสร้างความ เข้าใจความสัมพันธ์ ท่ีดีต่อกัน ทาให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดารงชีวิตร่วมกันในสังคมได้ อย่างสนั ตสิ ขุ นอกจากนีภ้ าษาไทยยังเป็นเครือ่ งมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์ จากแหล่งข้อมูล สารสนเทศต่าง ๆ เพื่อพัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการ พัฒนาอาชพี ใหม้ คี วามมนั่ คงทางเศรษฐกิจ ภาษาไทยเป็นทักษะ ทตี่ ้องฝึกฝนจนเกดิ ความชานาญใน การใช้ภาษา เพือ่ การส่ือสาร การเรียนร้อู ย่างมีประสิทธภิ าพ และการนาไปใชใ้ นชีวติ จริง ซง่ึ การอ่านและ การเขยี น มีความสาคญั อย่างมากทจ่ี ะตอ้ งได้รบั การพฒั นาอย่างเร่งด่วน จากการประเมินผลความสามารถด้านการอ่านออก เขียนได้ โดยสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 พบว่า โรงเรยี นยังมีนักเรียนจานวนหนง่ึ ที่มีผลการอ่านและการเขียนตา่ กว่า มาตรฐาน จาเป็นต้องได้รับการพัฒนาอย่างเร่งด่วน เพื่อพัฒนาให้นักเรียนกลุ่มดังกล่าวมีความสามารถ ในการอ่านออก เขียนได้ อ่านรู้เร่ืองและสื่อสารได้ โดยได้มีการวางแผนร่วมกันท้ังในระยะเร่งด่วน และ ระยะยาว ในระยะเร่งดว่ นไดท้ าความเข้าใจกับครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1- 6 เพื่อรับทราบนโยบาย ในการพัฒนาและดาเนินการพัฒนานักเรียนด้วยกิจกรรมท่ีหลากหลาย สาหรบั นักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีท่ี 1- 6 ท่ีมีปัญหาการอ่านและเขียนไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด มีจานวน 3 คน คือนักเรียนช้ัน ประถมศกึ ษาปีที่ 1 นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3 และนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 5 โดยทางโรงเรียน มวี ิธีการแกไ้ ขปัญหา เพ่ือสนองต่อจุดเน้นและแนวนโยบาย การอ่านออกยกชั้น ของสานักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษาบรุ ีรมั ย์ เขต 2 ดังน้ี 1. มีการนาเสนอภาษาไทยวันละคาหนา้ เสาธง 2. การฝึกอ่านจากบัตรคา 3. การฝกึ อา่ นควบคู่กบั การเขียน 4. การฝกึ คดั ลายมอื นอกจากจะทาให้ลายมือสวยงามแลว้ ยังเป็นการช่วยในการจดจา คาต่าง ๆ ได้มากขน้ึ ดว้ ย 5. ครูอาสาสอนซ่อมเสริมหลังเลิกเรียน โดยการใช้สื่อ และนวัตกรรมเข้ามาช่วยใน การจัดการเรยี นการสอน จากผลการจัดกิจกรรมดังกล่าว พบวา่ นักเรียนสามารถจดจาคาศัพท์ไดม้ ากข้ึน อ่านคาศัพท์ได้ เพิ่มขนึ้ พรอ้ มทง้ั เขียนคาศพั ทไ์ ด้มากขน้ึ ดว้ ย ซงึ่ โดยรวมแล้วถือว่านักเรียนมีพฒั นาการและทกั ษะในการ อา่ นท่ดี ขี ึน้ ตามศักยภาพของนกั เรียนแต่ละบุคคล
9
10
11
12 นวัตกรรมกำรสอน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 โดยผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษา ฯ มีนโยบายให้ครูแตล่ ะคนพฒั นาการจดั การเรียนการสอนของตนให้มีคณุ ภาพยง่ิ ขึน้ โดยให้ มีนวัตกรรมของตนเอง ซ่ึงการจัดการเรียนการสอนเป็นหน้าที่หลักในอาชีพของครู และไม่ให้ทอดทิ้ง เด็กอ่อน นวัตกรรมของครูเป็นการพัฒนาเด็กเก่งและช่วยเหลือเด็กอ่อน ทาใหก้ ารจัดการเรียนการสอน ของครูลดช่องว่างระหว่างเด็กอ่อนกับเด็กเก่ง เด็กในห้องเรียนสามารถเรียนไปพร้อม ๆ กันได้โดยมี ปัญหาน้อยลง ทาให้เด็กเรียนรู้อย่างมีความสุข ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของเด็กดีขึ้น ซึ่ง สอดคล้องกับนโยบาย ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 ที่มุ่งยกระดับ ผลสมั ฤทธ์ิของโรงเรียนใหส้ ูงขึ้น ทางโรงเรยี นบ้านบ่อดนิ เห็นความสาคญั ของนโยบายนี้ จึงไดด้ าเนินการโดยผู้อานวยการโรงเรยี น นายณัฐพล มีเวที ไดจ้ ัดประชุมครูขึ้นและกาหนดระยะเวลาในการจดั ทานวัตกรรม ใชส้ อน และสรุปผล โดยช่วยกันวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากการจัดการเรียนการสอน ท่ีทาให้การสอนไม่ประสบผลสาเร็จ เท่าที่ควรและส่งผลในระยะยาวถึงผลการสอบโอเนตท่ีได้คะแนนยังไม่เป็นที่น่าพึงพอใจ ซึ่งได้แก่วิชา คณติ ศาสตร์ และภาษาอังกฤษ สว่ นวิชาภาษาไทยเปน็ นโยบายของสพฐ. ท่นี ักเรียนชัน้ ป. 1 ทุกคนต้อง อ่านออก และสอดคล้องกับนโยบายของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 ที่ ให้นกั เรยี นอ่านออกยกชั้น คณะครูจึงจัดทานวตั กรรมขน้ึ เพ่ือตอบโจทย์น้ี
13 กำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นรูผ้ ำ่ นหนงั สือภำพประกอบกำรเรียนรแู้ ละกำรนบั จำนวน 1-10 โดย นำงสำวกรรณขจร แสงงำม ตำแหนง่ ครโู รงเรยี นบ้ำนบอ่ ดิน เด็กปฐมวัยเรียนรู้คณิตศาสตร์มิใช่เฉพาะจานวน และตัวเลข เด็กสามารถท่ีจะเรียนรู้ได้ดีด้วย วิธีการสังเกต เปรียบเทียบจานวนของท่ีมากกว่าหรือน้อยกว่า ส้ัน-ยาว สูง-ต่า ใหญ่-เล็ก หนัก-เบา ลาดับ เพิ่ม-ลดหรือแม้แต่ปริมาตรมาก-น้อย ของสิ่งที่บรรจุในภาชนะ ซึ่งถ้าเป็นเรอ่ื งหรือของจริงใกล้ตัว เด็กจะเห็นเป็นรูปธรรมที่ทาให้เข้าใจได้ง่าย ทาอย่างไรให้คณิตศาสตร์เป็นเรื่องง่ายสาหรับเด็ก ซึ่ง แน่นอน อะไรท่ีสนุก เด็กต้องชอบ ดังนั้นความสนุกจึงเป็นแรงจูงใจที่วิเศษ การเรียนรู้คณิตศาสตร์จาก เกม ปริศนาต่าง ๆ ท่ีท้าทาย และไม่ยากเกินวัยเด็ก สอดคล้องกับชีวิตประจาวัน มองเห็นจากของจริง เดก็ จะเขา้ ใจง่าย สนกุ สนานและประสบความสาเร็จในการเรยี นรู้ บนพ้ืนฐานของอารมณ์ทส่ี นกุ และชอบ ย่อมเพ่มิ พลังในการเรียนรู้ เนื่องจากนักเรียนชั้นอนุบาลปีท่ี 3 โรงเรียนบ้านบ่อดินจานวน 2 คน ยังไม่รู้จักตัวเลขและค่า จานวน 1-10 คุณครจู ึงจดั ทาหนงั สอื ภาพประกอบการเรยี นรู้และการนับจานวน 1-10 เพ่ือให้เด็กฝกึ การ นับจานวนและร้จู ักค่าจานวน ตัวเลข โดยนารูปภาพสัตวน์ ้ามาทาเปน็ สอื่ เพื่อใหเ้ ดก็ ไดฝ้ กึ นบั สตั ว์น้า ทีละ 1 ตัว ทาให้เด็กได้เรยี นรูว้ ิธีการนบั ทถี่ ูกต้องและรู้จกั ตวั เลข 1-10
14 “ไมบ้ รรทัดสระสอนอ่ำน” โดย นำงสำวเพชรรัตน์ กสุ ะรมั ย์ ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้ำนบ่อดิน ปัจจุบันวิชาภาษาไทยจะประสบกับปัญหานักเรียนขาดทักษะการอ่าน ซึ่งเป็นทักษะที่มี ความสาคัญและไม่ได้รับการส่งเสริมอย่างต่อเน่ือง นักเรียนไม่สามารถอ่านคาได้ถูกต้องและแม่นยา และจากการสังเกตของครูผู้สอนวิชาภาษาไทยในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 นักเรียนบางส่วนยังอ่าน สะกดคาได้ไม่ถูกต้อง สาเหตุดังกล่าวทาให้นักเรียนเกิดความเบ่ือหน่ายต่อการเรียนวิชาภาษาไทยใน ระดับชั้นของตนเองและระดับช้ันท่สี ูงขึน้ จงึ มกี ารใชส้ ่ือการสอนเขา้ มามบี ทบาทในการดงึ ดูดความสนใจ ให้กับเด็ก โดยเฉพาะในเด็กเล็กซึ่งยังไม่สามารถมีสมาธิจดจ่ออยู่ในเร่ืองเดียวได้นาน ๆ อย่างเร่ืองของ การอ่านและการสะกดคา โดย“ส่ือไม้บรรทัดสระ” สามารถนามาปรับใช้ในช้ันเรียนได้เป็นอย่างดี และ สามารถนามาจดั กจิ กรรมใหก้ ับนักเรยี นไดอ้ ย่างสนกุ สนานอกี ด้วย
15 กำรออกเสียงพยญั ชู นะภำษำองั กฤษโดยใชส้ ื่อและเทคโนโลยี ในกำรจดั กำรเรยี นรู้ สำหรบั นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษำปีท่ี 2 โรงเรยี นบ้ำนบ่อดิน ในยุคที่ประเทศไทยได้เข้าสู่ประชาคมอาเซียน เด็กไทยจาเป็นต้องเรียนรู้ภาษาอังกฤษไว้เพ่ือ สื่อสารกับชาวต่างชาติ และเพื่อสิทธิประโยชน์อีกมากมายไม่ว่าทางด้านเศรษฐกิจ สังคม อาชีพ แต่ ปัจจุบันเด็กในช้ันต้น ๆ ยังมีพ้ืนฐานภาษาอังกฤษไม่ค่อยดีซ่ึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทาให้ให้การเรียนในช้ัน ตอ่ ไปไมด่ เี ท่าทค่ี วร และส่งผลให้ผลการสอบโอเนต็ ยังไมป่ ระสบผลสาเรจ็ ผู้สอนจึงจัดทานวัตกรรมข้ันพ้ืนฐาน เร่ืองการออกเสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษข้ึน เพ่ือให้ นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 ไดเ้ รียนรู้ โดยใช้สือ่ แบบฝึก และการเรียนจากยทู ูป eng 24 เพอ่ื ให้ เดก็ ออกเสียงได้ถกู ตอ้ งพร้อมทั้งรูจ้ ักพยัญชนะ และยังใหเ้ ด็กไดฝ้ ึกเขยี นพยัญชนะประกอบด้วย ซง่ึ เป็น พน้ื ฐานท่ีจะเรียนเรอ่ื งตอ่ ไปให้งา่ ยขน้ึ และเปน็ การปพู ้ืนฐานทดี่ ใี หช้ น้ั ต่อไป
16 กจิ กรรมส่งเสริมกำรคิดวเิ ครำะหแ์ ละแกป้ ัญหำกลมุ่ สำระกำรเรยี นร้คู ณติ ศำสตร์ ชั้นประถมศึกษำปีท่ี 3- 4 เรยี นร่วม คณิตศาสตร์มีบทบาทสาคัญย่ิงต่อความสาเร็จในการเรียนรู้ในทศวรรษที่ 21 เนื่องจาก คณิตศาสตร์ช่วยให้มนุษย์มีความติดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบและถี่ถ้วน ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และสามารถนาไปใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ คณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือในการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศาสตร์อื่น ๆ อันเป็นรากฐานในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาตใิ ห้มีคุณภาพ และพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศให้ ทัดเทียมกับนานาชาติ การศึกษาคณิตศาสตร์จึงจาเป็นต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทันสมัย และสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้า อย่างรวดเรว็ ในยุคโลกาภวิ ัฒน์ ผ้สู อนจงึ จัดทากจิ กรรมส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และแกป้ ัญหากลมุ่ สาระ การเรียนร้คู ณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมปที ่ี 3–4 ขนึ้ มา
17 “ผลกำรใช้แบบฝึกทกั ษะกำรอำ่ นภำษำองั กฤษเพื่อควำมเข้ำใจของนักเรยี นประถมศึกษำปที ี่ 6 เรยี นรว่ ม จำกกำรจัดกำรเรยี นรกู้ ำรอ่ำนตำมรปู แบบกำรสอนท่เี ป็นสำกล (Universal Design Instruction)” โดย นำงกำญจนำ โพธขิ ำ ผลการวดั และประเมินผลระดับสถานศกึ ษาในวิชาภาษาอังกฤษสาหรับนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปี ที่ 6 เรียนร่วม ของโรงเรียนบ้านบ่อดินแต่ละปีการศึกษาท่ีผ่านมา พบว่าอยู่ในระดับค่อนข้างต่า ประกอบกับผลการทดสอบระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-Net) ของชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ไม่ผ่านเกณฑ์ข้ัน ต่าคือร้อยละ 50 และมีค่าต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยในระดับชาติ จากข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ภาษาอังกฤษของนักเรียนโรงเรียนบ้านบ่อดินดังกล่าว ในการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 ควรได้รับการปรับปรุงและพัฒนาเพ่ือเป็นการช่วยยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นใหส้ ูงขนึ้ เพอ่ื เป็นการแกป้ ัญหาและพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนดังกล่าวจึงได้ นาแนวทางการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอนท่ีเป็นสากล มาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบเรียนร่วม เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนช้ัน ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 เรยี นรว่ ม โดยคาดวา่ จะสามารถพัฒนาความสามารถการอ่านภาษาองั กฤษเพื่อความ เข้าใจของนักเรียนเรียนร่วมได้อย่างเหมาะสมตามศักยภาพ มีพัฒนาการทางการอ่านภาษาอังกฤษเพ่ือ ความเข้าใจทด่ี ียิง่ ข้นึ และสามารถพบกบั ความสาเรจ็ ทางการเรียนบรรลุเปา้ หมายท่ีกาหนดไว้
๑ โรงเรยี น ๑ กจิ กรรมเด่น เนื่องจากโรงเรยี นบ้านบ่อดนิ เป็นโรงเรียนขนาดเลก็ มีครผู ู้สอนไม่ครบชน้ั และมีนักเรียนทีม่ คี วาม ต้องการพิเศษเรียนร่วมอยู่ด้วย จึงได้แก้ปัญหาน้ีด้วยการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมคละช้ันและได้ พัฒนารูปแบบการสอน PLePSuRe เพอื่ การเรียนรขู้ องนักเรียนทกุ คนในชนั้ เรียนรว่ มระดับประถมศึกษา ข้ึนมา ซึ่งรปู แบบการสอน PLePSuRe นี้ไดแ้ บ่งกจิ กรรมการสอนออกเป็น 5 ขนั้ ได้แก่ ข้ันที่ 1 การเตรยี มพ้นื ฐานการเรยี น (P-Preparing) ข้ันที่ 2 การรว่ มมือกนั เรียนรู้ (Le-Learning together) ขน้ั ท่ี 3 การนาเสนอผลการเรยี น/ผลงาน (P-Presenting) ขน้ั ท่ี 4 การสรปุ การเรยี นรู้ (Su-Summary) ขน้ั ที่ 5 การซ่อมเสรมิ (Re-Remedial) จากผลการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมคละช้ันโดยใช้รูปแบบการสอน PLePSuRe เพื่อการ เรียนรู้ของนักเรียนทุกคนในช้ันเรียนร่วมระดับประถมศึกษาในทุก ๆ ปีการศึกษาท่ีผ่านมา พบว่า สามารถแก้ปัญหาเร่ืองบุคลากรไม่ครบช้ันและเด็กท่ีมีความต้องการพิเศษเรียนร่วมได้เป็นอย่างดี มี ผลสาเร็จเปน็ ท่ปี ระจักษแ์ ละเปน็ ท่ียอมรับจากผูบ้ งั คับบัญชาและผ้ทู ี่เกี่ยวข้องกบั การศึกษา
19 ขั้นที่ 1 กำรเตรียมพื้นฐำนกำรเรียน (P-Preparing) ข้นั ที่ 2 กำรร่วมมือกนั เรียนรู้ (Le-Learning together)
20 ขน้ั ที่ 3 กำรนำเสนอผลกำรเรียน/ผลงำน (P-Presenting) ขน้ั ท่ี 4 กำรสรุปกำรเรยี นรู (Su-Summary)
21 ขนั้ ที่ 5 กำรซอ่ มเสริม (Re-Remedial)
1 โรงเรียน 1 อัตลักษณ์ กำรแต่งกำยด้วยผำ้ ไทยทุกวันองั คำรและวนั ศุกร์ ศลิ ปวฒั นธรรมและประเพณีของไทยเป็นส่ิงที่มคี ุณค่าสมควรจะได้ปลูกฝังให้เด็กมีความรัก ความ เข้าใจ ในศิลปะประเพณีและวัฒนธรรมของไทย ดังนน้ั ทางโรงเรยี นบ้านบ่อดนิ ไดจ้ ัดกจิ กรรมสง่ เสริมการ แต่งกายแบบไทยขึ้นเพ่อื ปลูกฝงั ให้เดก็ สนับสนนุ ภูมปิ ญั ญาไทย เห็นคุณคา่ ชืน่ ชม อนุรักษ์ศลิ ปวฒั นธรรม ไทย มกี ารประชุมชีแ้ จงวางแผนการดาเนินงานเก่ียวกบั กิจกรรมการแตง่ กายผา้ ไทยทุกวนั อังคารและ วันศุกร์ โดยทางโรงเรียนได้มีการประชุมหารือกับทางด้านคณะกรรมการสถานศึกษาเก่ียวกับการแต่ง กายชุดผ้าไทยและสารวจความพึงพอใจของผู้ปกครองโดยออกจดหมายแจ้งผู้ปกครองและดาเนินการ โดยใหน้ ักเรยี นจัดหาชุดผ้าไทยจากทีบ่ ้านหรือชุมชนของนักเรยี นโดยให้นกั เรียนโรงเรียนบา้ นบ่อดินแต่ง กายชดุ ผา้ ไทยทกุ วนั อังคารและวนั ศุกร์ จากการสังเกตพบว่านักเรียนเล็งเห็นคุณค่าของวัฒนธรรมประเพณีไทย ชื่นชมวัฒนธรรมไทย โดยแตง่ กายดว้ ยผา้ ไทยได้ถูกต้องตามวนั / เวลา ที่ทางโรงเรียนกาหนดและสนบั สนุนสินค้าผลติ ภัณฑ์ภูมิ ปญั ญาท้องถน่ิ
23
โรงเรียนปลอดขยะ ควำมเป็นมำและบริบทของโรงเรียน ขยะมูลฝอยส่วนมากสามารถพบได้ทั่วไป เพราะคนเรานิยมใส่ถุงพลาสติก มากกว่าการใช้ถุงผ้า และในอดีตจะไม่มีขยะมากมายเหมือนปัจจุบัน เพราะตอนน้ันมีการใช้ใบตองหรือถุงผ้าใส่อาหารแทน ถุงพลาสติก ซ่ึงต่างจากสมัยน้ีเป็นอย่างมากขยะมูลฝอยส่วนมากสามารถพบได้ท่ัวไป ซ่ึงต่างจากสมัยนี้ เป็นอย่างมากขยะมูลฝอยสามารถพบได้ทั่วไปแต่ส่วนใหญ่ท่ีเห็นได้ชัดเจน คือ บริเวณโรงเรียนและใน โรงเรียนจะมีขยะมากกว่าทุกที่ เพราะในโรงเรียนมีนักเรียนจานวนมาก จึงทาให้มีการบริโภคอาหาร ขนมต่าง ๆ ของเด็กนักเรียน และทาให้มีขยะมูลฝอยตามมา และพฤติกรรมของนักเรียนส่วนใหญ่จะไม่ นาขยะไปท้ิงลงถังแต่จะท้ิงลงพ้ืนแทน เพราะเด็กสมัยน้ีเป็นคนมักง่ายจนเกินไป กินท่ีไหนก็ท้ิงท่ีน่ัน จึง ทาให้บรเิ วณโรงเรียนสกปรกมากขน้ึ ขัน้ ตอนกำรดำเนินกิจกรรมตำมโครงกำรโรงเรยี นปลอดขยะ ( KTMS ) กลำ่ วโดยสรปุ ได้ดังนี้ 1. ขั้นรับรู้และการสร้างความตระหนัก (Know wiedge and awareness) ประชุมคณะ ครูมอบหมายความรับผิดชอบ อบรมสร้างความรคู้ วามเข้าใจนักเรียน นกั เรียนได้เรียนรู้การคัดแยกขยะ ในระดับห้องเรียน มีการเรียนรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ โดยใช้เกมการคัดแยกขยะมาเป็นตัวกระตุ้นให้ เกิดการเรียนรู้ กาหนดพ้ืนท่ีรับผิดชอบ สร้างความรับผิดชอบในเร่ืองขยะโดยใช้เวลาหน้าเสาธง โฮมรูม การประชมุ โดยต่อเนือ่ ง จัดการโดยครูประจาช้นั
25 2. ขนั้ ฝกึ ซอ้ ม (ลดปญั หา) (Training) ทดลองการจัดการขยะด้วยวิธกี ารท่ีหลากหลายไดแ้ ก่ 2.1 การคัดแยกขยะเป็นขยะท่ีนาไปใช้ใหม่ได้ด้วยวิธีการอื่น ๆ เช่น เศษไม้ทา ปุ๋ยหมักเศษทางมะพร้าวทาไม้กวาด ถุงนมประดิษฐ์ของใช้ เศษซองกาแฟประดิษฐ์ตะกร้าเป็นของใช้ หรือนาไปขายเป็นรายได้ โดยการให้ความรู้แกน่ ักเรียนในการใช้ นาไปใช้ ประดิษฐ์ ในรายการขยะดีมี คณุ ค่า 2.2 ลดการใช้ขยะไมย่ ่อยสลาย ใหค้ วามรู้แกน่ ักเรยี นรจู้ ักขยะทไ่ี มย่ ่อยสลายและ ขยะท่ียอ่ ยสลาย ขยะทม่ี พี ิษ นาไปสู่การปฏิบัติเลือกใช้และสนับสนนุ การใช้ขยะไม่มีพิษและย่อยสลายได้ 2.3 ทิ้งขยะในถังขยะให้ถูกท่ี ฝึกวินัยในการรักษาความสะอาด เลือกท้ิงขยะใน ถังท่ี คดั แยกขยะตรงกบั ขยะในมือ 2.4 ช่วยกันทาความสะอาดในเขตรับผิดชอบ กาหนดพ้ืนท่ีโดยโครงการ ประชาธปิ ไตยมอบหมายรายชั้นในการทาและรกั ษาความสะอาด สร้างภูมิค้มุ กันให้กับตนเอง 2.5 พบขยะที่ไหนเก็บที่นั่น เป็นการปลูกฝังวินัยและจิตสาธารณะใหก้ ับนักเรียน แม้การเดินทางจากบา้ นมาโรงเรียน 2.6 ยึดม่ันคาว่า สะอาดสร้างสุขภาพแข็งแรงเป็นการนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ด้วยหลักสามห่วง สองเงื่อนไข การดาเนินงานในขั้นนี้จะมีผู้รับผิดชอบได้แก่ครูประจาเขตพ้ืนท่ี และคณะนักเรียนแกนนา โครงการประชาธปิ ไตยคอยตดิ ตาม
26 3. ขัน้ จัดการ (กาจดั ปญั หา) (Management) 3.1 การจัดการขยะที่ไม่สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ทั้งหมด ด้วยการจัดที่สาหรับ เก็บขยะเตรียมเก็บโดยหน่วยเก็บขยะของชุมชน ได้แก่รถเก็บขยะขององค์การบริหารส่วนตาบลไพศาล สปั ดาหล์ ะ 2 วนั 3.2 การบริหารจัดการขยะที่สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ส่วนที่เหลือจากการนา กลับมาใช้ในโรงเรียนด้วยวิธีการจาหน่ายให้กับโรงรับซื้อขยะเดือนละครั้งส่วนเงินเก็บไว้ในกองทุนขยะ และจดั ทาบัญชี การดาเนินการในขน้ั นีม้ ีครูฝ่ายอาคารสถานทร่ี บั ผดิ ชอบการจัดการขยะที่เหลือโดยมี คณะกรรมการนกั เรยี นทาการจาหนา่ ยและลงบัญชี
27 4 ข้ันสร้างความยัง่ ยนื (Sustainability) การบริหารจดั การขยะอยา่ งยัง่ ยนื เพ่อื สร้าง ความกา้ วหนา้ ในการดาเนนิ การอยา่ งต่อเนอ่ื งด้วยวิธีการดังนี้ 4.1 Reduce - การลดปรมิ าณขยะ โดยการใช้ผลติ ภณั ฑ์ท่ีมบี รรจภุ ัณฑส์ น้ิ เปลือง 4.2 Reuse - การนามาใชซ้ า้ เช่น ขวดแกว้ กลอ่ งกระดาษ กระดาษพิมพห์ นา้ หลงั เปน็ ตน้ 4.3. Repair - การซ่อมแซมแก้ไขส่ิงของตา่ ง ๆ ใหส้ ามารถใช้งานต่อได้ 4.4 Recycle - การแปรสภาพและหมุนเวยี นนากลับมาใชไ้ ด้ใหม่ โดยนาไปผา่ น กระบวนการผลติ ใหม่ อกี คร้ัง
1 โรงเรยี น 1 นวัตกรรมผบู้ รหิ ำร โรงเรียนบ้ำนบ่อดิน ในปัจจุบันน้อี งค์การหรือหน่วยงานต่าง ๆ ต้องพง่ึ การบรหิ ารอยู่มากในบรรดา กจิ กรรมของมนุษย์ ไม่มสี ิ่งใดสาคญั ไปกวา่ การบริหาร เพราะงานดา้ นการบริหาร จะเป็นงานท่สี าคัญตอ่ การอานวยการ ให้ มนษุ ย์ทางานได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ และประสิทธผิ ลมากกวา่ แต่ก่อน เราจะพบวา่ องค์การเกดิ ขนึ้ และมี อยู่ในสงั คมมนุษย์ทกุ หนทุกแหง่ เพื่อเป็นเคร่ืองมือสาหรับ การดาเนินกจิ กรรมต่างๆ ตลอดจนความ พยามยามของกลุ่มคน ที่มีความรู้ความสามารถ ความชานาญ รวมทงั้ ประสบการณ์ในวชิ าชพี นนั้ ๆ แลว้ รวมตวั กันขึ้นเพ่ือใหบ้ รรลุ วัตถุประสงคข์ อง องคก์ ารหรือหน่วยงาน ซ่งึ บคุ คลคนเดียวไมส่ ามารถทาได้ สาเร็จได้โดยลาพงั และองค์การจะมปี ระสทิ ธภิ าพ และประสทิ ธิผลมากน้อยเพยี งใดจะประสบผลสาเร็จ หรอื ไม่ย่อมขน้ึ อยู่กบั ความสามรถของผ้ทู ่ีทาหน้าทใี่ นการบรหิ ารในองค์การ จงึ อาจกลา่ วไดว้ า่ การ บรหิ ารเปน็ ส่งิ ควรคู่และเก่ยี วขอ้ งกับองคก์ ารเสมอ ควำมหมำยของกำรบริหำร คาว่า “การบริหาร” หรือ “การจดั การ” โดยท่วั ไปเป็นคาทม่ี คี วามหมายเหมือนกนั และใชแ้ ทน กันได้เสมอ คาภาษาองั กฤษที่มักใช้เรยี กในความหมายของ การบริหาร มี 2 คา คือ Management และ Administration ส่วนมากคาว่า Management มกั จะใช้ในทางธรุ กิจ ซงึ่ หมายถึง การนาเอานโยบายไป ปฏิบัติ โดยมกี ารกาหนดแบบงาน วธิ ีการทางาน และการใช้ปัจจยั หรือทรพั ยากรต่าง ๆ ซ่ึงเรียกวา่ การ จัดการ ส่วนคาว่า Administration มกั เนน้ การบรหิ าร เก่ียวกบั นโยบาย มักนยิ มใช้ในทางราชการ เชน่ Public Administration สาหรบั คานยิ ามของคาวา่ “การบรหิ าร” มคี านิยามอยูห่ ลายคานยิ ามแต่ที่นิยม กนั แพร่หลายกนั อยู่ในปัจจบุ ันมี 2 นิยาม คือ 1. การบริหาร คือ ศิลปะของการทางานให้สาเรจ็ โดยอาศยั บุคคลอ่ืนในความหมายนีช้ ้ใี นเหน็ วา่ ผบู้ รหิ ารประสบความสาเร็จในเปา้ หมายของพวกเขา โดยการเตรยี มการใหก้ บั บุคคลอื่นปฏิบตั ิงานอะไร กไ็ ด้ที่มคี วามจาเป็น ผบู้ รหิ ารมไิ ดป้ ฏิบัตงิ านดังกลา่ วด้วยตัวของพวกเขาเอง 2. การบริหาร คือ กระบวนการของการวางแผน การจัดองค์การ การส่ังการ และการควบคุมกาลงั ความพยายามของสมาชกิ ขององค์การ และใช้ทรพั ยากรอืน่ ๆ เพื่อความสาเร็จในเป้าหมายขององคก์ าร ท่กี าหนดไว้ ในความหมายนี้ช้ใี ห้เห็นว่า ผู้บรหิ ารใชท้ รัพยากรท้งั หมดขององคก์ าร ซง่ึ มีเงนิ ทนุ อปุ กรณ์ ขา่ วสาร และคน เพ่ือความสาเร็จในเป้าหมายขององค์การ คนเปน็ ทรพั ยากรทมี่ ีความสาคัญที่สดุ ของ องค์การ
29 จากคานยิ ามของการบรหิ ารดังกล่าวแล้ว จะเห็นวา่ การบริหารจะกินความครอบคลมุ ประเดน็ ท่ี เป็นสาระสาคญั ไดด้ งั น้ี 1. จะตอ้ งมวี ตั ถปุ ระสงค์ ( Objective ) คือ เป้าหมายในการดาเนินงานท่ผี ูบ้ รหิ ารต้องดาเนนิ การ ใหป้ ระสบความสาเรจ็ 2. จะตอ้ งมีประสทิ ธภิ าพ ( Effectiveness ) คือ ความสาเร็จของผลงานตามท่คี าดหมายไว้ 3. จะต้องมีทรัพยากร ( Resource ) คือ ปจั จัยต่าง ๆ ของการบรหิ าร ทีผ่ บู้ รหิ ารเกีย่ วข้องดว้ ย โดยตรง ซงึ่ แต่เดมิ โดยทัว่ ไป ประกอบดว้ ย คน (Man) เงิน (Money) วสั ดุ (Material) และการจัดการ (Management) หรือท่เี รียกโดยย่อว่า ๔ M’s แตใ่ นปจั จบุ ัน สภาพแวดลอ้ มตา่ ง ๆ ทางสงั คมและ เทคโนโลยเี ปล่ยี นแปลงไป ทรพั ยากรดังกล่าวจึงจาเปน็ ต้องเปลย่ี นแปลงไปดว้ ย กลา่ วคือ ทรัพยากรที่ เปน็ ส่วนประกอบในการบริหาร ประกอบดว้ ย ทรัพยากรคน (Human Resource) ทรัพยากรทเ่ี ปน็ วัสดุ และอปุ กรณ์ (Physical Resource) และทรัพยากรทางดา้ นเงนิ ทนุ (Financial Resource) และ ทรพั ยากรทางด้านขา่ วสารขอ้ มลู (Information Resource) 4. มกี ารประสมประสานกนั ( Integration and Coordination ) คอื กระบวนการในการ ดาเนนิ งานด้วยประการทง้ั ปวง ที่ทาให้กิจกรรมตา่ ง ๆ สอดคล้องต่อเนื่องกนั จากการท่ีขา้ พเจ้าดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรยี นบ้านบ่อดนิ เป็นระยะเวลา 3 ปีเศษได้ ทาการศึกษา เกบ็ รวบรวมข้อมลู วเิ คราะห์บริบท ด้านตา่ ง ๆ ของโรงเรยี นบ้านบ่อดินโดยละเอียด เพอ่ื ให้ได้ข้อมลู พืน้ ฐานและข้อมลู ทีส่ ะทอ้ นความเปน็ โรงเรียนบ้านบอ่ ดนิ ในเชงิ ลึกได้อยา่ งถกู ต้อง อีกทั้ง ไดศ้ ึกษานโยบายดา้ นการจดั การศกึ ษาของหน่วยงานตน้ สังกดั ซ่งึ ถือเป็นตัวกาหนดทิศทางในการพฒั นา คุณภาพของผูเ้ รียนซึ่งเปน็ หัวใจของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ขา้ พเจ้าพบวา่ ปัจจยั ดา้ นการบรหิ าร และการจดั การที่จะส่งเสริม สนับสนนุ ใหโ้ รงเรียนบา้ นบอ่ ดินสามารถจัดการศึกษาได้ อย่างมีคุณภาพน้นั ควรยึดหลกั การในการพัฒนา 4 ด้าน ซึ่งไดแ้ ก่ 1. ด้านการมีส่วนร่วมของผมู้ สี ่วนเกีย่ วขอ้ งหรือการทางานเป็นทมี ( Teamwork ) 2. การพฒั นาดา้ นเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมกทางการศึกษา ( Technology ) 3. พัฒนาทรพั ย์กรบคุ คลภายในองค์กรหรอื ครู ( Teacher ) 4. พฒั นาหรือเสริมสรา้ งการวธิ กี ารทางานอย่างมงุ่ ม่นั ต้ังใจและมคี วามพยายาม ( Trying ) กลา่ วคอื ข้าพเจา้ ได้มุ่งเนน้ ใหค้ วามสาคัญต่อการพัฒนา 4 ด้าน โดยในข้ันตอนของการ ดาเนนิ งานพัฒนาในแต่ละดา้ นนั้นจะถกู กากับไว้ด้วยวงจร คณุ ภาพอีกชนั้ หน่ึง จงึ ได้จัดทาเปน็ รปู แบบ การบริหารจดั การของตนเองเพ่ือใช้เปน้ แนวทางในการดาเนนิ การบรหิ าร จัดการและพัฒนาโรงเรียน บ้านบ่อดินอย่างมีทิศทางซง่ึ เรียกหลกั การบริหารดังกลา่ วน้วี า่ “4T Development Model”
30 นวัตกรรมดำ้ นกำรบรหิ ำรโรงเรียนบำ้ นบอ่ ดนิ สำนกั งำนเขตพื้นทีก่ ำศกึ ษำประถมศกึ ษำบรุ รี มั ย์เขต 2 1. ชือ่ นวัตกรรม 4T Development Model 2. วัตถุประสงค์ - คุณภำพของผเู้ รยี นโรงเรียนบำ้ นบอ่ ดนิ ทกุ คน เปน็ ไปตำมมำตรฐำนกำรศกึ ษำ และ จุดมงุ่ หมำยของกำรจดั กำรศึกษำ ผเู้ รียนเป็นคนดี คนเก่ง และมคี วำมสุข เหมำะสมตำมชว่ งวัย 3. วิธดี ำเนินกำร - ใชร้ ปู แบบนวตั กรรมกำรบริหำรตำมแนวทำง 4T Development Model โดย มุ่งเนน้ ให้ควำมสำคญั ในกำรพฒั นำ 4 ดำ้ นซงึ่ ได้แก่ (1) T1 = Team Work หมำยถงึ กำรรว่ มกันทำงำนโดยสอดประสำน ควำม ร่วมมือในกำรพัฒนำคุณภำพของผู้เรยี นจำกทกุ ภำคส่วนไปในทิศทำงและมีจุดมุ่งหมำยท่ีชัดเจน อยำ่ งเดียวกัน (2) T2 = Teacher หมำยถึง พฒั นำครแู ละบคุ ลำกรภำยในโรงเรียนทกุ คนให้มี ลกั ษณะกำรกำรทำงำนแบบมือชีพ มีเปำ้ หมำยอยู่ทีค่ ณุ ภำพของผู้เรียนทกุ คนเหมือนๆ กนั (3) T3 = Technology หมำยถงึ พัฒนำ นวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีทำง กำรศึกษำให้ทนั สมัยเออ้ื ต่อกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนของครู และกำรศกึ ษำหำควำมรู้ของผเู้ รียน (4) T4 = Trying หมำยถึง พฒั นำ ควำมม่งุ ม่ัน ต้งั ใจ ควำมพยำยำมในกำร ทำงำนใหบ้ รรลุยังเปำ้ หมำยอยำ่ งเดียวกนั ซึ่งเปน็ เป้ำหมำยขององค์กรคือคุณภำพของผเู้ รยี นเป็น สำคัญ 4. นวตั กรรมท่ีช่ือ กระบนกำรบรหิ ำรแบบ 4T Development Model 5. ผลท่คี ำดว่ำจะไดร้ บั - ผเู้ รียนเปน็ คนดี เป็นคนเกง่ และมีควำมสุข ครูมีส่ือ นวัตกรรมและเทคโนโลยีในกำร จัดกำรเรียนรใู้ หก้ บั ผทู้ ี่เรยี นที่ทนั สมัย มีอุดมคติในกำรทำงำนอย่ำงมุ่งมนั แข็งขนั ต้ังใจและมคี วำม พยำยำมในกำรจดั กำรศึกษำใหก้ บั ผูเ้ รียนอยำ่ งเต็มกำลังควำมสำมำรถ ทกุ ภำคส่วนที่อยู่เกย่ี วข้องกับ โรงเรยี นมสี ่วนร่วม สนับสนุน ส่งเสรมิ และชว่ ยเหลอื กำรจัดกำรศึกษำของโรงเรียนบ้ำนบอ่ ดนิ ให้ บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ *** ท้ังน้ี ทุกกจิ กรรมในกำรดำเนนิ กำร ตำมรูปแบบกำรบรหิ ำรแบบ 4T Development Model จะอยภู่ ำยใตก้ ำรควบคุม ติดตำมและตรวจสอบด้วยวงจรคณุ ภำพ ( PDCA ) อีกชน้ั หน่ึง
31
32 (1) T1 = Team Work หมำยถึงกำรรว่ มกันทำงำนโดยสอดประสำน ควำมรว่ มมือในกำร พัฒนำคณุ ภำพของผเู้ รยี นจำกทกุ ภำคส่วนไปในทิศทำงและมจี ดุ มงุ่ หมำยท่ีชดั เจนอยำ่ งเดียวกัน ควำมสำคัญของกำรทำงำนเป็นทมี \"การทางานใหส้ าเรจ็ ขึ้นอยู่กบั ความสามารถสองอย่างเปน็ สาคญั คือสามารถในการใชว้ ชิ า ความรอู้ ยา่ งหน่ึง สามารถในการประสานสัมพันธ์กับผู้อ่ืนอีกอย่างหนง่ึ ทงั้ สองประการน้ีต้องดาเนนิ คูก่ นั ไป และจาเป็นต้องกระทาด้วยความสจุ รติ กาย สจุ รติ ใจ ด้วยความคดิ ความเหน็ ท่ีเป็นอิสระ ปราศจาก อคติ และด้วยความถูกต้อง ตามเหตตุ ามผลดว้ ย จงึ จะชว่ ยใหง้ านบรรลุจดุ หมายและประโยชนท์ ่พี ึง ประสงคโ์ ดยครบถว้ น\" --- พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 9 --- การทางานเปน็ ทีม ถือว่าเป็นหวั ใจหนงึ่ ในการทางานร่วมกัน องคก์ รไหน บริษทั ไหน หน่วยงาน ไหน ท่ีสามารถสร้างทมี พัฒนาทมี ให้ทางานร่วมกันได้ องค์กรนนั้ บริษทั นั้น หน่วยงานน้ันจะ เจริญก้าวหน้าไปได้อย่างรวดเรว็ หากถามว่า ทาไม ต้องทางานเป็นทมี แน่นอนการทางานบางอยา่ ง อาจจะทาคนเดยี วได้ แตก่ ารทางานบางอยา่ งต้องอาศยั การทางานร่วมกนั จึงจะประสบความสาเรจ็ เนื่องจากทุกคนมคี วามสามารถแตค่ วามสามารถของทกุ คนมจี ากดั การนาความสามารถของทกุ คนมา รวมกันจึงเกดิ ผลงานมากข้นึ อกี ท้ังงานบางอย่างต้องการความคดิ ทรี่ ิเริม่ สร้างสรรค์จึงต้องการคนมา ทางาน ดว้ ยการคิดร่วมกนั งานจึงออกมาสาเรจ็ การทางานเป็นทมี คือ การที่บคุ คลต้ังแต่ 2 คนข้ึนไป มาทางานรว่ มกนั เพ่อื วัตถปุ ระสงค์อยา่ ง เดยี วกัน การทางานเป็นทีมท่ีดีน้นั คือ ทีมต้องทางานร่วมกัน โดยทกุ คนในทีมจะต้องทุ่มความคิด ทุ่ม แรงกาย เพ่ืองาน เพื่อความสาเรจ็ ของงาน โดยไม่ถือวา่ เปน็ ผลงานของคนคนเดยี วแตผ่ ลงานท้งั หมดเป็น ของทมี ทมี ทดี่ ีควรสร้างบรรยากาศในการทางานใหม้ ีความไว้ใจกัน เช่ือใจกนั มีความผกู พันกนั จน กอ่ ใหเ้ กิดความรัก ความสามัคคี กนั ในทีม เมื่อทีมมีประสิทธิภาพในการทางานประโยชน์ทีไ่ ด้รับก็คอื การทางานจะมีพลงั อย่างมากมายมหาศาล ผลงานทีเ่ กิดข้ึนจะมีมากมาย ชว่ ยลดตน้ ทนุ ในการทางาน ผลงานมีคุณภาพมากขน้ึ อีกท้ังยงั สามารถสร้างสิง่ ใหมๆ่ หรือนวตั กรรมใหม่ๆ การทางานเปน็ ทมี ท่ดี มี กั มอี งคป์ ระกอบของทมี ดังน้ี 1. มีวตั ถปุ ระสงค์ในการทางานร่วมกัน 2. มรี ะบบบริหารหรือการจดั การทีมที่ดี 3. มสี มาชิกทีม่ ีคณุ ภาพมคี วามสามารถในการทางานมีความรับผดิ ชอบในหนา้ ท่ี 4. มผี ้นู าทมี ท่ีมีประสิทธิภาพมีภาวะผนู้ าทด่ี ี แนวทางในการลดปัญหาในการทางานเปน็ ทีม คือ สร้างบรรยากาศที่ดใี นท่ีทางาน มีการสอ่ื สาร กนั อย่างชดั เจนไม่ปิดบังกัน มอบหมายงานก็ต้องมีความชัดเจนแน่นอนไมเ่ ปลีย่ นไปมา ยอมรบั ในความ แตกต่างของสมาชิกในทีม เน่ืองจากคนเราเกิดมากม็ คี วามแตกต่างกนั ไมว่ า่ จะเป็นเรื่อง เพศ วยั ศาสนา การศกึ ษา สง่ิ แวดลอ้ ม ความสามารถ ประสบการณ์ ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีรายละเอียดในการทางานเป็น
33 ทมี ให้ประสบความสาเรจ็ เชน่ การประชมุ ของทีมงาน ทีมงานที่ดีตอ้ งมีการประชมุ กนั สม่าเสมอ เพื่อให้ สมาชกิ ไดป้ รึกษาหารือในการทางานร่วมกนั แก้ไขปญั หาร่วมกัน ระดมความคดิ ร่วมกันในการทางาน ภาวะความเปน็ ผู้นาของหัวหนา้ ทมี เพราะผู้นามสี ว่ นสาคัญเปน็ อยา่ งมากทจี่ ะทาให้ทีมประสบ ความสาเรจ็ ผู้นามหี น้าท่ีในการบอกวัตถุประสงค์ที่จะต้องทางานรว่ มกนั ใหช้ ดั เจน ผูน้ าจะต้องมีหนา้ ที่ ในการชน้ี า สอนงาน สงั่ งาน อานวยการ พร้อมท้งั ตดิ ตามควบคมุ การทางานของทีมเพื่อให้เกดิ มี ประสิทธภิ าพ ซง่ึ ทักษะของผู้นาทมี ทีด่ ี คือ ต้องมีความสามารถทางด้านการส่ือสาร ต้องมคี วามสามารถ ในดา้ นบริหารหรอื การจัดการ (วางแผน จดั องค์กร จัดคนเข้าทางาน ส่ังการหรืออานวยการ และการ ควบคมุ ) ต้องมีความสามารถในด้านการเจรจาต่อรองและแกป้ ญั หา ต่างๆ ไดอ้ ย่างดเี ยย่ี ม สรปุ การทางานเป็นทีมมีความสาคัญมากในการทางานขององค์กร ของหนว่ ยงาน หากองค์กร หนว่ ยงาน ไหนทีม่ ที ีมงานทเี่ ข้มแข็ง ย่อมก่อใหเ้ กดิ ความไดเ้ ปรียบในการแข่งขนั กับองคก์ รหรือหนว่ ยงาน อ่นื โรงเรยี นบา้ นบอ่ ดนิ ได้พฒั นาระบบและกระบวนการและอาศัยหลักการของการทางานเปน็ ทีม มาใช้เพื่อพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรียน พฒั นาคุณภาพของบคุ ลากร และคุณภาพของผเู้ รยี นมา โดยตลอด โดยทีมในการพฒั นาโรงเรยี นนน้ั โรงเรียนไดใ้ หค้ วามสาคัญกบั กลุ่มบุคคลหรือหน่วยงาน หรือองค์กรต่าง ๆ และถือเอาว่ากล่มุ ดังกลา่ วน้เี ปน็ ทีมทมี่ ีส่วนรว่ ม ส่วนสนบั สนุน สว่ นสง่ เสรมิ ในการ พฒั นาโรงเรียนบา้ นบ่อดนิ ให้มคี วามเจรญิ ก้าวหนา้ มาโดยตลอดซึง่ ประกอบ 1. ทีมของขา้ ราชการครูและบคุ ลากรภายในของโรงเรียนบา้ นบ่อดินทุกคน 2. ทมี ของพ่อ แม่ และผปู้ กครองนกั เรียน 3. ทมี ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐานโรงเรียนบ้านบ่อดนิ 4. ทมี ของศิษย์เกา่ และศิษยป์ ัจจุบัน 5. ทีมของหน่วยงานและองค์กรภายนอก สถาบนั ที่มสี ว่ นสง่ เสริม สนับสนุน ใหค้ วามรว่ มมอื และพฒั นาโรงเรยี น เช่นโรงเรียนในสังกดั กลมุ่ เครอื ข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาประโคนชยั 7 ทุกโรง วดั บ้านบ่อดนิ โรงเรียนไพศาลพทิ ยาคม องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ เป็นต้น ทกุ ทีมท่กี ลา่ วมาข้างต้น โรงเรียนบ้านบ่อดินไดใ้ หค้ วามสาคัญ พร้อมทงั้ ให้และขอความร่วมมือ ในการทางานเพื่อพัฒนาองค์กรของทีมไปพร้อม ๆ กัน โดยอาศยั วิธีการ ทางมนุษยสัมพันธ์ การ ชว่ ยเหลือเกือ้ กลู กนั ความเสียสละ ความเอาใจใส่ตอ่ กัน การให้ความร่วมมือกันในทุกมิติ ทั้งท่ีเป็น อยา่ งทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ ทง้ั นี้เพื่อคาดหวังวา่ ทีมงานทเ่ี ขม้ แขง็ จากหลากหลายหน่วยงาน หลากหลายทีมจะเปน็ พลงั สง่ เสรมิ ให้เกดิ การพฒั นาโรงเรียนบา้ นบ่อดนิ ให้มีเจริญก้าวหน้าได้อย่างมนั่ คง มั่งคง่ั และยงั ยืน สบื ต่อไป
34
35
36 (2) T2 = Teacher หมำยถึง พฒั นำครแู ละบคุ ลำกรภำยในโรงเรยี นทกุ คนให้มลี กั ษณะกำรกำร ทำงำนแบบมือชีพ มีเปำ้ หมำยอยู่ทีค่ ณุ ภำพของผ้เู รียนทุกคนเหมอื นๆ กนั การพฒั นาบุคลากรเปน็ หนา้ ท่ีที่สาคัญและจาเป็นอย่างยง่ิ ที่องค์การทุกองค์การต้องกระทาอย่าง สม่าเสมอ เนื่องจากการพัฒนาบคุ ลากรเปน็ กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและสร้างเสรมิ ศักยภาพ ของบุคคลใหเ้ ปน็ ผทู้ ่ีมคี วามรู้ความสามารถ ทักษะ และประสบการณ์ เพื่อใหส้ ามารถปฏบิ ัตหิ นา้ ทจ่ี น บรรลเุ ป้าหมายขององคก์ ารอย่างมีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประโยชน์สงู สุดตอ่ องคก์ าร ซึ่งสอดคล้อง กับแนวคิดของสมพร จนั ดาหาร ทกี่ ล่าวไวว้ ่า การพฒั นาบุคลากรเป็นการดาเนินการสง่ เสรมิ บคุ ลากรให้ เพ่มิ พูนความรู้ ความสามารถ ความชานาญในการทางาน มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ทศั นคติ และ วธิ กี ารปฏบิ ตั งิ านใหเ้ ป็นไปตามแนวทางทตี่ ้องการ เพื่อพฒั นาการปฏบิ ตั ิงานใหส้ าเรจ็ ตามเปูาหมายและ ได้ผลผลติ สูงข้นึ อนั เปน็ ประโยชนต์ ่อความก้าวหนา้ ของตนเองและองค์การ โรงเรียนบ้านบ่อดนิ ได้เล็งเห็นความสาคัญต่อการพัฒนาคุณภาพของข้าราชการครูและ บคุ ลากรภายในโรงเรียนมาโดยตลอด เพราะถือวา่ ครผู ู้สอนเป็นผทู้ ีอ่ ย่ใู กล้ชิดกับผูเ้ รยี นมากทีส่ ดุ และ โดยหนา้ ทีห่ ลักของครผู ้สู อนแลว้ จาเปน็ อยา่ งมากทีผ่ ู้สอนจะตอ้ งมีทกั ษะ มีความรู้ มฝี ีมือ และมีความ ชานาญในกระบวนการและขั้นตอนในการจัดประสบการณ์ หรอื จดั การเรียนรู้ให้เกิดแกผ่ เู้ รยี นได้อย่าง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับมาตรฐาน และตวั ชีวัดของหลกั สูตร ซึง่ เป็นบทสรุปทส่ี าคญั ของการจดั การศึกษาให้กับผเู้ รยี น โดยทั่วไปแลว้ วธิ กี ารพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษาน้นั มวี ิธกี ารพอสรปุ ไดด้ งั ต่อไปนี้ คอื การ ฝึกอบรมภายในสถานศึกษา การสง่ บคุ ลากรภายในสถานศกึ ษาไปศึกษาอบรมหรือดงู าน การพฒั นา บุคลากรโดยกระบวนการปฏิบตั งิ าน และการพฒั นาบคุ ลากรโดยกระบวนการบริหาร นอกเหนือจากท่ี กล่าวมาแล้วกระบวนการสร้างเสรมิ ขวัญและกาลังใจที่ดีในการทางาน การสร้างแรงจูงใจต่อการพฒั นา งานของตนเอง พัฒนาองค์กรท่ีต้นสงั กดั อยู่ กถ็ ือเป็นความจาเปน็ ท่ตี อี งพัฒนาควบคู่กนั ไปพรอ้ มกันด้วย ท้ังนเ้ี พราะการขบั เคล่ือนองค์กรไปสูอ่ งค์กรท่ีมีคุณภาพนัน้ จาเป็นต้องอาศยั การขบั เคล่ือนของบคุ คลท่ี อยู่ภายในองคก์ รไปพรอ้ ม ๆ กัน ดังนั้นส่งิ ที่ควรเสริมสรา้ งให้บคุ คลภายในองค์กรตระหนักและยึดถือเป็น หลักการสาคญั ของการทางาน กค็ ือ จุดหมายขององคก์ รทเ่ี ป็นจุดมุ่งหมายอนั สูงสูดและแทจ้ ริงของ องค์กร ทที่ ุกคนต้องพยายามให้ความรว่ มมือกนั อยา่ งสรา้ งสรรค์ ในการดาเนินการใหบ้ รรลุซ่ึง จดุ มุ่งหมายอยา่ งเดียวกัน และแมห้ ากเปรียบจดุ มุ่งหมายท่ีว่ามานน้ั กับองค์ทเี่ รียกวา่ โรงเรียน จดุ ม่งุ หมาย สงู สดุ ขององค์กรคงหนีไม่พ้นน้นั กค็ อื คุณภาพของผู้เรยี น นนั้ เอง จากเหตุผลและความสาคัญดา้ นการ พัฒนาคณุ ภาพของขา้ ราชการครูและบคุ ลกร โรงเรยี นบา้ นบอ่ ดนิ จงึ ไดด้ าเนินการพัฒนาบุคลกรอย่าง หลากหลายรูปแบบและวธิ ีการ ท้งั นี้ โดยมีความคาดหวงั ว่าบคุ ลกรเมื่อไดร้ ับการสง่ เสรมิ และพฒั นาแล้ว จะเปน็ บคุ คลท่มี ีคุณภาพ มปี ระสทิ ธภิ าพในการทางานท่ดี ีข้ึน มีความรบั ผิดชอบ มจี ุดมุ่งหมายในการ พัฒนางานของตนเอง พฒั นาผเู้ รยี น และพัฒนาองค์กรไปในทศิ ทางเดียวและมลี ักษณะของการทางาน การศกึ ษาไดอ้ ย่างมืออาชีพตอ่ ไป
37
38
39 (3) T3 = Technology หมำยถึง พัฒนำ นวตั กรรม สื่อ และเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำใหท้ นั สมัย เออื้ ตอ่ กำรจดั กำรเรยี นกำรสอนของครู และกำรศึกษำหำควำมรู้ของผูเ้ รียน พัฒนำกำรของเทคโนโลยีกำรศึกษำในประเทศไทย ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีทางการศึกษาของประเทศไทย ไดร้ ับอิทธิพลจากสหรฐั อเมรกิ า และยโุ รป เพราะนกั การศึกษาของไทยได้ไปศกึ ษาในประเทศเหล่าน้ี และได้นาเอาความรมู้ าประยกุ ต์ใช้ บางคร้งั ไดร้ ับมาในรูปความช่วยเหลือจากต่างประเทศ โดย ให้ผู้เชี่ยวชาญ วสั ดุ อปุ กรณ์ และเคร่ืองมือ ทาให้งานดา้ นโสตทัศนศึกษาของไทยเจรญิ เติบโตขน้ึ เป็นลาดับ ดังนี้ พ.ศ. 2483 ได้กอ่ ตั้งแผนกโสดทศั นศึกษาขึน้ เป็นคร้งั แรกในกองการศึกษาผู้ใหญ่ พ.ศ. 2490 ไดจ้ ดั ตั้งแผนกโสดทัศนศึกษาค่ะขึ้นทกี่ รมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข โดย สหรัฐอเมรกิ าให้ความช่วยเหลอื สนับสนุน วสั ดุ อปุ กรณ์ และเคร่อื งมือ พ.ศ. 2492 กระทรวงศึกษาธกิ ารไดเ้ รม่ิ งานวิทยุกระจายเสยี งเพ่อื ผลติ รายการทางการศึกษาและใน พ.ศ. 2496 จดั ต้งั สถานวี ทิ ยุศึกษาท่วี ิทยาลัยเทคนิคกรงุ เทพ พ.ศ. 2497 วทิ ยาลยั วชิ าการศึกษาประสานมติ ร ได้รับความรว่ มมือจากมหาวิทยาลัยอนิ เดียนา่ ส่ง ผเู้ ช่ยี วชาญมาชว่ ยงานโสตทัศนะศึกษา เพื่อบริการโสดทัศนูปกรณ์แก่อาจารย์และไดเ้ ปดิ สอนวิชา เทคโนโลยกี ารศกึ ษาเปน็ คร้ังแรก พ.ศ. 2498 วิทยาลยั เทคนคิ ทุ่งมหาเมฆไดจ้ ดั ตั้งศูนย์โสตทัศนศึกษา บริการวสั ดุ อุปกรณท์ างการ ศกึ ษาให้แก่คณาจารย์ พ.ศ. 2500 คณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ได้จัดตั้งศูนย์ โสตทศั นศกึ ษาขึน้ เพ่ือให้บริการแก่คณาจารย์ในสถาบนั และในปีเดียวกันน้ีกระทรวงศึกษาธกิ ารไดเ้ ริ่ม งานวิทยโุ รงเรียน โดยสง่ ออกอากาศทางสถานวี ทิ ยุศึกษาซ่ึงมีรัศมีกระจายเสียง 22 จังหวดั ไปส่โู รงเรียน 286 โรงเรยี นเป็นโรงเรยี นประถมศึกษา 220 โรงเรยี นและมธั ยมศึกษา 66 โรงเรียน พ.ศ. 2514 มหาวิทยาลัยรามคาแหงเปิดใชโ้ ทรทัศน์วงจรปิดเพื่อการเรียนการสอนอยา่ งแท้จรงิ เป็น แหง่ แรกของประเทศไทย พ.ศ. 2521 มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช ซง่ึ เป็นมหาวทิ ยาลยั เปิดแห่งแรกของประเทศไทยท่ใี ช้ ระบบการเรยี นการสอนเพ่อื เพมิ่ โอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชนของประเทศ สือ่ ท่ใี ช้มากทสี่ ดุ คือ วิทยุ โทรทัศน์ เทป เอกสารประกอบการเรยี นทางไปรษณยี ์ ด้านการเผยแพร่ความรู้และงานทางด้านเทคโนโลยกี ารศึกษาปัจจุบันมกี ารสอนให้ความร้ทู างดา้ น เทคโนโลยกี ารศกึ ษาทัง้ ในวิชาเอก วิชาโท เทคโนโลยีการศึกษาทั้งระดบั ปริญญาตรี โท เอก ในหลาย สถาบนั นอกจากโรงเรยี นต่างๆ ไม่ว่าจะเปน็ ระดบั ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ไดจ้ ัดตั้งโสตทัศนศึกษาขึน้ เพอื่ ใหบ้ ริการแกน่ ักเรียน
40 แนวโน้มของเทคโนโลยีกำรสื่อสำรในยคุ เทคโนโลยีสำรสนเทศ ในปจั จุบันความก้าวหนา้ ทางด้านการสอื่ สาร โดยเฉพาะเทคโนโลยสี ารสนเทศ ซึง่ เป็นปจั จัย สาคญั ทาใหโ้ ลก \"ไร้พรมแดน\" คนในโลกมกี ารติดตอ่ ส่ือสารกันอย่างรวดเรว็ และมวี ถิ ีชวี ิตเปล่ยี นไปตาม \"กระแสโลกาภวิ ตั น์\" ความเจรญิ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศแพรห่ ลายมากขน้ึ ทาให้มีผลต่อการพัฒนา สภาพเศรษฐกจิ การเมือง สังคม วฒั นธรรมของประเทศตา่ งๆ ในโลกด้วยในด้านการศึกษา ความ เจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มผี ลใหเ้ กดิ การพัฒนาการดา้ นการศึกษา ดังน้ี 1 วงการศึกษาจะนาเครือ่ งมอื วัสดุ อปุ กรณ์ อเิ ลก็ ทรอนิกสต์ ่างๆ มาใช้ในวงการศกึ ษามากข้นึ เพราะสื่อเครื่องมือเหลา่ นี้ได้รับการพัฒนาให้มีขนาดเลก็ ลง เหมาะทจี่ ะนามาใช้ ราคาก็ถูกลง แต่ ประสิทธภิ าพสงู ข้ึน 2 ส่อื ต่างๆจะมกี ารใช้ประสมประสานกันในลกั ษณะสอ่ื ประสม 3 คอมพิวเตอร์จะเข้าไปมีบทบาทในสอื่ ทุกชนดิ 4 เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์จะเขา้ มามบี ทบาทตอ่ การศึกษา 5 เทคโนโลยกี ารศึกษาจะเข้ามามบี ทบาทอย่างย่ิงในการจัดการศึกษา ทงั้ ในการจัดการศึกษา ในระบบโรงเรียน นอกระบบการศึกษาสาหรับผดู้ อ้ ยโอกาสทางการศึกษา และการศึกษาตามอธั ยาศยั 6 บทบาทของครูจะเปลย่ี นไป เปน็ การจัดประสบการณ์ใหแ้ กผ่ ู้เรียนด้วยการนาเสนอโดยใช้ อปุ กรณ์ทที่ ันสมัย บทบาทของครูจงึ เป็นเสมอื นที่ปรกึ ษาทาหนา้ ทช่ี ่วยแกป้ ัญหาการเรียน การแนะนา เปน็ สว่ นตวั จะมมี ากขนึ้ ครูจะต้องมีขอ้ มลู การสอนจากภายนอกให้มาก และจะมกี ารสอนผา่ น คอมพวิ เตอร์มากขึน้ 7 มีการนานวัตกรรมใหมๆ่ มาใช้ในวงการศึกษา เช่น นาระบบประชุมทางไกล เค้ามาใช้ในการ บรหิ ารการศึกษา ในด้านการสอนจะมีการนาระบบไฮเปอร์เท็กซ์ ระบบอนิ เตอร์เน็ต การใช้ฐานข้อมูล เครือข่ายใยแมงมุม 8 มีการเปลย่ี นแปลงในวธิ กี ารเรียน คือ ผ้เู รยี นจะไดเ้ รียนเม่ือมีความต้องการเรยี น เปน็ การ เรียนรดู้ ้วยตนเองมากขึน้ เพราะมีแหล่งการเรียนรมู้ ากมาย และจะเป็นการเรียนรู้ตลอดชวี ติ 9 สภาพการเรยี นการสอนท่ีครูอธิบายอยหู่ น้าชน้ั เรยี นจะหมดไป ครอู าจจะเป็นเพียงผู้กล่าวนา บทเรยี นหรอื แนะนา แหลง่ ท่ใี หก้ ารศกึ ษาเบอื้ งตน้ เท่าน้ัน หลงั จากนนั้ จะเปน็ ทปี่ รึกษาของนักเรยี น สรุปวา่ การศกึ ษาในอนาคตจะเปล่ยี นแปลงดังน้ี - จดั การศึกษาในระบบนอ้ ยลง - คา่ ใชจ้ ่ายจะต้องถูกลง - สอนเรือ่ งที่ไม่เปน็ ประโยชน์น้อยลง - สอนเป็นรายบุคคลมากข้นึ - สอนในเรอ่ื งทีเ่ ห็นจริงเหน็ จงั มากขน้ึ - สอนเรือ่ งเกี่ยวกบั มนุษยธรรมมากขน้ึ - บทเรยี นสนกุ สนานมากข้นึ - เป็นการเรยี นตลอดชพี
41 จากทก่ี ล่าวมาขา้ งตน้ ถึง พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา และ แนวโนม้ ของเทคโนโลยีการ สื่อสารในยคุ เทคโนโลยีสารสนเทศ ในทศวรรษที่ 21 จะเหน็ ได้ว่าวิวฒั นาการของการใชเ้ ทคโนโลยีทาง การศกึ ษาก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง และเปลี่ยนแปลงไปอยา่ งรวดเรว็ รูปแบบการเรียนรเู้ ปลย่ี นไป บทบาท ของผสู้ อนกเ็ ปลี่ยนแปลงไปตามความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยี ดังนั้นการพฒั นาเทคโนโลยีทางการศึกษา ในสถานศึกษาจงึ ถือเปน็ เร่ืองสาคัญและจาเปน็ อยา่ งย่ิงทโี่ รงเรียนบา้ นบอ่ ดนิ เลง็ เหน็ และมงุ่ มนั่ ทจี่ ะ นาเอาเทคโนโลยที างการศึกษาทุกรบู แบบเทา่ ท่ีพ่ึงจะทาได้มาใชเ้ ป็นเคร่ืองมือ เปน็ วิธีการ เป็นแนวทาง เปน็ สอ่ื ในการจดั การเรียนร้ใู ห้เกิดกบั ผเู้ รียนไดอ้ ย่างเหมาะสม มปี ระสิทธภิ าพ ทันสมยั และเพียงพอซึง่ พอจะสรปุ ประเด็นในการพัฒนาเทคโนโลยที างการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รียนอยา่ งยั่งยนื ของ โรงเรยี นบา้ นบ่อดินได้ ดังตอ่ นี้ 1. ปรบั ปรุงหอ้ งเรียนและรปู แบบการจัดการเรียนการสอนทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ( New DLTV ) ใหเ้ หมาะสมกับการรับรู้และการเรยี นรู้ของผู้เรยี นในแต่ละชว่ งวัย 2. ปรับปรงุ ซอ่ มแซม ห้องเรียนคอมพวิ เตอรต์ ามโครงการ USO ให้สามารถใชเ้ ปน็ หอ้ งเรียน หอ้ งคน้ ควา้ หาความรูส้ าหรบั นักเรยี น และใหบ้ ริการแกช่ มุ ชน อกี ทั้งไดเ้ ชิญวิทยากรภายนอกมาสอนวิชา คอมพิวเตอรเ์ บื้องตน้ ให้แกน่ ักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 - 6 สปั ดาห์ละ 1 - 2 ช่ัวโมง เปน็ ประจาทุก สปั ดาห์ 3. ปรบั ปรุงหอ้ ง คอมพิวเตอร์ แบบ CC1 ท่ีไดร้ บั จัดสรรจากหนว่ ยงานต้นสังกัดให้เป็นห้อง สาหรบั ใช้ในการฝึกอบรมภายในและเป็นห้องทางานด้านเอกสาร งานธุรการ งานสารสนเทศ งานพฒั นา เวบ็ ไซด์ของโรงเรยี น ให้เกดิ ประโยชน์อยา่ งสูงสุด 4. สง่ เสริมใหค้ รูใชส้ ื่อการสอน จาพวก CAI สอ่ื มัลตมิ ีเดียในรปู แบบตา่ ง ๆ ผา่ นทางอนิ เตอรใ์ น การจัดการเรียนร้ใู ห้กบั ผ้เู รียนเพอ่ื กระตนุ้ และสรา้ งความสนใจในการเรียนรู้ของผเู้ รียนอย่างสม่าเสมอ และฝึกให้ผู้เรียนร้จู ักใช้ การคน้ คว้าหาความร้ผู า่ นเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เนต ภายในโรงเรยี นดว้ ยตนเองย่าง ถูกต้องและเหมาสม 5. ใช้บรกิ ารฟรขี อง Google เพ่อื พัฒนากระบวนการทางานภายในองคก์ ร พฒั นา กระบวนการจัดการเรียนการสอน การวดั และประเมินของครู และเปิดโอกาสใหน้ กั เรยี นไดเ้ ขา้ ถึงวธิ ีการ ดงั กลา่ วอยา่ งเหมาะสม อีกทั้งใชเ้ พอ่ื การประชาสัมพนั ธก์ ิจกรรมของโรงเรียน การติดต่อสือ่ สาร และอน่ื ๆ อีกมากมาย ผ่านทาง Google sites , Google Form , Google Mail , Google+ เปน็ ตนั 6. ใช้ Application ท่ีเปน็ ประโยชน์ในการติดต่อสอื่ สาร ภายในองค์ กับผ้ปู กครองนักเรียน หรอื ทีมงานตา่ ง ๆ อย่างมปี ระสิทธิภาพและเขา้ ถึงกลุ่มเป้าหมายได้อยา่ งชดั เจนและทั่วถึง 7. พัฒนาปรบั ปรุงเวบ็ ไซดข์ องโรงเรียนบ้านบ่อดนิ เพ่อื ใชเ้ ป็นช่องทางในการประชาสมั พนั ธ์ กิจกรรมของโรงเรยี น การตดิ ตอ่ สอ่ื สารระหวา่ งผ้ปู กครองนักเรยี น คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน หรอื หนว่ ยงานอืน่ ผ่านทาง gg.gg/bordinschool และ www.banbordin.com อกี ด้วย
42
43
44
45 (4) T4 = Trying หมำยถึง พฒั นำ ควำมมุ่งมน่ั ต้ังใจ ควำมพยำยำมในกำรทำงำนใหบ้ รรลุยงั เปำ้ หมำยอย่ำงเดียวกนั ซง่ึ เปน็ เปำ้ หมำยขององคก์ รคอื คุณภำพของผเู้ รียนเปน็ สำคญั ควำมพยำยำม “ความพยายามอยทู่ ่ีไหน ความสาเร็จย่อมอยทู่ ่ีนั่น”เป็นคาคมแรกๆทเี่ คยไดย้ ินในชวี ิต โดย ผู้ใหญ่รอบตวั ที่พยายามส่งั สอนให้เด็กทุกคนมีความขยันหมั่นเพียร ต้ังใจเรียนหนังสือและเป็นดงั่ คามน่ั สัญญาท่สี ร้างความเชื่อมัน่ ให้แกเ่ ด็กๆทุกคนวา่ ถา้ เรามีความพยายาม ชีวิตนีจ้ ะตอ้ งประสบความสาเรจ็ อยา่ งแน่นอน ท่ีผ่านมาประโยคนี้มีการใช้อย่างแพร่หลายและยาวนาน เพราะมนั ได้พิสูจน์ตัวเองผ่านการ บอกเลา่ ของบุคคลผู้มชี อื่ เสียงและประสบความสาเรจ็ จนมีหนา้ มตี าในสงั คม แนน่ อนวา่ ทกุ คนมเี รอื่ งราว ชีวติ ที่แตกต่างกนั แตส่ ิ่งหน่งึ ทีท่ กุ คนมีเหมือนกัน นั่นกค็ ือ ความพยายามบางคนพยายามมาก บางคนมี ความพยายาม การสร้างแรงจูงใจในการทางานสร้างให้ทกุ คนมุ่งมั่นตง้ั ใจ และมีความพยายามในการ ทางานนัน้ เป็นเรื่องที่ทาไดย้ าก และต้องใชศ้ ิลปะอย่างมากในการทาเร่ืองดังกลา่ ว โรงเรียนบา้ นบ่อดิน เข้าใจถงึ แนวคิดดงั กล่าว แต่ก็ตอ้ งมีความพยายามท่ีจะสร้างเสรมิ ให้ครแู ละบุคลากรภายในโรงเรียนมุง่ มัน ตง้ั ใจและมคี วามพยายาม ในการทางานทกุ อย่างท่ีโรงเรียนมอบหมาย โดยหลักสาคญั ของการสร้าง แรงจูงใจนนั้ คือ พยายามชี้ให้เห็นผลทีเ่ กิดจากความพยายามของในการพฒั นาคุณภาพของผูเ้ รยี น การ พัฒนางานตามกรอบวิชาชพี ของตน และความก้าวหนา้ ทีอ่ ันอาจเกดิ ขนึ้ ตามมาหากผลท่เี กิดจากความ พยายามนน้ั สมั ฤทธิ์ผล ลว้ นเปน็ สิง่ ท่คี นควรต้องกระทาให้สบกับท่ีไดช้ ่ือวา่ เปน็ ครู หรอื เป็นผสู้ อน หรอื เป็นผทู้ มี่ ีโอการจดั การศึกษาให้กับบุคคลอนื่ เปน็ ผทู้ มี่ ีโอกาสทีจ่ ะสามารถทาดีอยทู่ กุ ววี นั แลว้ “ความพยายามอยู่ท่ไี หน ความพยายามก็อย่ทู นี่ น่ั ” \" งานสิง่ ใด แมย้ าก ลาบากนัก อุปสรรค หนกั หนา ที่กีดขวาง แสงปลายฝัน ราไร ไม่เห็นทาง จะก้าวย่าง ไปถงึ ฝัน ไดอ้ ยา่ งไร มสี ่งิ หนึง่ ทส่ี าคญั อยา่ งท่สี ุด ใหเ้ รารุด ข้ามผา่ น ไปจนได้ คือพยายาม จงท่องจา ให้ขนึ้ ใจ ถึงฝัง่ ฝนั สาเร็จได้ เพราะพยายาม \"
46
ภำคผนวก คณะผ้จู ดั ทำ ผูอ้ านวยการโรงเรียนบ้านบอ่ ดนิ ประธาน 1. นายณัฐพล มเี วที ครูโรงเรยี นบา้ นบ่อดนิ กรรมการ 2. นางกาญจนา โพธิขา ครูโรงเรียนบ้านบ่อดิน กรรมการ 3. นางสาวนยิ ม ปยุ ะติ ครูโรงเรยี นบ้านบอ่ ดนิ กรรมการ 4. นางสาวกรรณขจร แสงงาม ครูโรงเรียนบา้ นบ่อดิน กรรมการ 5. นางสาวเพชรรตั น์ กุสะรมั ย์ ครโู รงเรียนบ้านบอ่ ดนิ กรรมการ 6. นายโกมลเพ็ง เพง็ ประโคน ครโู รงเรยี นบ้านบ่อดนิ กรรมการ 7. นางอรทยั เพง็ ประโคน ครูโรงเรียนบ้านบ่อดิน กรรมการและเลขานุการ 8. นางสาวประนอม ดวงศลิ
Search
Read the Text Version
- 1 - 50
Pages: