รายงานวจิ ัยในชัน้ เรียน เรอ่ื ง การเรยี นรวู้ ทิ ยาการคำนวณดว้ ยบทเรียนออนไลน์ผ่านเวบ็ ไซต์ CODE.ORG ของนกั เรียนระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 จัดทำโดย นายณัฐดนยั ศรศี ิริ ครปู ระจำรายวิชา วทิ ยาการคำนวณ โรงเรยี นสาธติ ละ อออทุ ิศ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ิตศูนย์การศกึ ษานอกท่ตี ง้ั ลำปาง ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2562
สารบัญ หน้า บทคดั ยอ่ 1 กติ ติกรรมประกาศ 3 สารบญั 3 บทที่ 1 บทนำ ………………………………………………………….………………………………………… 3 4 ความเป็นมาและความสำคัญ ………………………………………………………………….. 5 คำถามงานวจิ ยั ................................................................................................... 6 วัตถปุ ระสงค์ของวิจยั ……………………………………………………………..……………… สมมติฐาน …………….…………………..…………………………………………..….............. 8 ขอบเขตของวิจยั ……………..……………………………...……………………………………… 9 นิยามศัพท์เฉพาะ ………………………………………………………..…..…………………….. 14 ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะได้รับ ………………………………………………………………………. 17 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยท่เี ก่ียวข้อง ……………………………..……………………..………... 20 สาระและมาตรฐานการเรียนร้กู ารงานอาชีพและเทคโนโลยสี าระสนเทศ ........ 25 แนวคดิ ทฤษฏที ีเ่ กย่ี วข้อง ……..………….………………………………..…………………… 27 เอกสารท่ีเกีย่ วข้องกบั ส่ือการเรยี นการสอนออนไลนด์ ้วยเวบ็ ไซด์….......................... 29 ความสำคญั และความจำเปน็ ของการจดั การสอนแบบ E – Learning.................... 29 ประโยชน์ของการเรยี นการสอนแบบ E – Learning........................................... ข้อพึงระวงั ในการจัดการเรยี นการสอนแบบ E – Learning …………………………… 34 เอกสารท่เี กีย่ วข้องกับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน …………………………………………….. เอกสารท่เี กีย่ วข้องกับความพงึ พอใจ …………………………………………………………. งานวิจยั ที่เกยี่ วข้อง ........................................................................................... บทท่ี 3 วิธดี ำเนินการวจิ ัย ………………………………..……………………………………….……….. ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ………………………………………………………………………..
สารบญั (ตอ่ ) หน้า แบบแผนที่ใช้ในการศึกษา ……………………………………………………………………………… 34 เคร่ืองมือท่ใี ช้ในการวิจัย …………………………….…….….………………………………… 34 การรวบรวมข้อมลู ในการวจิ ยั ................................................................................ 38 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และสถิติทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย............................................................. 39 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู …………………………………………….……………..………….………. 41 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ........................................................................................ 45 บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ ……..……………………………………………………. 46 สรปุ ผลการศึกษา ………………………………..………………………………………………….. 50 อภปิ รายผลการศกึ ษา …………………………………………………..…………………………. 51 ขอ้ เสนอแนะ ……………………………………………………………..…………………………… บรรณานุกรม ………………………………………………………………………………………….. 54 61 ภาคผนวก …………………………………..……………………………………………………………………….. ภาคผนวก ก ……………………………………………….…………………………………………. ภาคผนวก ข ………………………………………….……………………………………………….
ชื่อเรือ่ ง การเรียนรูว้ ทิ ยาการคำนวณดว้ ยบทเรยี นออนไลนผ์ า่ นเว็บไซต์ CODE.ORG ของนักเรียนระดบั ชั้น ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนสาธติ ละอออทุ ศิ ลำปาง ผูศ้ กึ ษา นาย ณฐั ดนยั ศรศี ิริ ปที ีท่ ำการศกึ ษา 2562 บทคดั ยอ่ การเรยี นร้วู ิทยาการคำนวณด้วยบทเรยี นออนไลนผ์ า่ นเวบ็ ไซต์ CODE.ORG ของนกั เรียน ระดบั ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรียนสาธติ ละอออทุ ศิ ลำปาง มวี ตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื 1) ศกึ ษาผลสมั ฤทธิ์ทางการ เรยี น ทเี่ รียนดว้ ยบทเรยี นออนไลนผ์ ่านเว็บไซต์ CODE.ORG ของนักเรียนระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรียน สาธิตละอออุทิศลำปาง เทียบเกณฑร์ ้อยล่ะ 80 เครื่องมอื ทใี่ ช้ เคร่อื งมอื ทีใ่ ช้มี 2 ประเภท คือ 1) บทเรียนออนไลน์ผา่ นเวบ็ ไซต์ CODE.ORG ของนกั เรยี น ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธติ ละอออทุ ศิ ลำปาง 2) แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเปน็ แบบทดสอบท่ีผศู้ ึกษาสร้างขึ้นซึง่ เปน็ ข้อทดสอบแบบลงมือปฏบิ ตั ิจำนวน 1ขอ้ สถิตทิ ่ีใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล คอื สถิตพิ ื้นฐาน ไดแ้ ก่ ค่าเฉล่ยี ร้อยละ และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน สถิตทิ ่ีใช้ในการวิจัยครงั้ น้ี ได้แก่ สถิติ พื้นฐาน คา่ เฉลีย่ สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน หาประสทิ ธภิ าพของสือ่ และ สถิติ และสถิติท่ีใช้ในการ เปรยี บเทยี บ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นได้แก่ สถิติ t-test ผลการศกึ ษาพบวา่ 1. นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1/1 ทีเ่ รียนด้วยการเรียนรู้วิทยาการคำนวณด้วยบทเรียนออนไลนผ์ า่ น เวบ็ ไซต์ CODE.ORG โรงเรียนสาธิตละอออุทศิ ลำปาง มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นสูงกวา่ เกณฑ์รอ้ ยละ่ 80
กติ ิกรรมประกาศ การเรียนรู้วทิ ยาการคำนวณด้วยบทเรยี นออนไลนผ์ ่านเวบ็ ไซต์ CODE.ORG ของนกั เรียนระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนสาธิตลอออุทิศลำปาง สำเรจ็ ลงไดด้ ว้ ยความกรุณา และความชว่ ยเหลอื จากบุคล่ กรหลายฝา่ ยซ่ึงให้คำปรกึ ษาข้อชแ้ี นะและใหค้ วามกรุณาในการแกไ้ ขขอ้ บกพร่องตา่ งๆ ของงานวจิ ัยคร้งั นี้ ขอขอบพระคุณ คณุ ครปู ระจำชั้น นกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรยี นสาธิตละอออุทิศลำปางเป็น อย่างย่งิ ท่ีคอยให้คำแนะนำ และความรว่ มมอื ในการเก็บข้อมลู คณธผบู้ ริหาร โรงเรียนสาธิตลอออุทิศลำปาง ท่ี ใหค้ วามอนุเคราะห์สถานทใี่ นการทดลองใช้เคร่อื งมอื และขอบใจนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562 ที่ให้ความร่วมมือเปน็ อย่างดี ในการศกึ ษาคร้ังน้ีซง่ึ ไดข้ ้อมูลท่เี ปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งย่ิง ณัฐดนัย ศรีศริ ิ
บทที่ 1 บทนำ 1. ความเปน็ มาและความสําคัญของปัญหา เทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีเครือข่าย และเทคโนโลยีด้านการส่ือสารได้เข้ามามี บทบาทในด้านการศกึ ษาเป็นอยา่ งมาก โดยการนําเอาเทคโนโลยดี ังกล่าวมาช่วยในการจดั การเรยี น การ สอน เรียกว่า e-Learning ซ่ึง e-Learning เป็นเคร่ืองมือในการสร้างสรรค์และส่งผ่านองค์ความรู้ ใน รูปแบบต่างๆ ไปยังผเู้ รียนท่ีอยู่ในสถานท่ีที่แตกต่างกนั ให้ได้รับความรู้ ทักษะและประสบการณ์ ร่วมกัน กระบวนการเรยี นรู้จะถูกสร้างสรรค์ข้ึนมาอย่างเหมาะสม โดยท่ีผู้เรียนสามารถเรียนรู้ไดต้ าม ความถนัด และความสามารถของตนเอง e-Leaning เป็นการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบ เครือข่าย คอมพวิ เตอร์ทมี่ ปี ฏสิ มั พันธ์ ไมว่ ่าจะเปน็ การปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งผเู้ รียนกบั บทเรยี น ผ้เู รยี นกบั ผสู้ อน หรือ ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนด้วยกันเอง จึงทําให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ และทําให้การ จัดการเรียนการสอนมีลักษณะคล้ายกับการจัดการเรียนการสอนในชันเรียนท่ีมีการ ปฏิสัมพันธ์กันของ ผู้สอนและผู้เรียนรูปแบบของ e-Learning ไม่ว่าจะเป็น บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน บทเรียน ออนไลน์ผา่ นเว็บไซต์ ในส่วนของการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บหรือผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Web Based instruction : WBl) ถือเป็นการนําความสามารถของเทคโนโลยีและเครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้า มาช่วยในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งการเรียนการสอนในปัจจุบันไม่จําเป็นท่ีจะต้องเรียนอยู่ใน ห้องเรียนเท่านั้น สามารถที่จะเรียนที่ไหนและเม่ือใดก็ได้ตามที่ต้องการ และเป็นนวัตกรรมที่ออกแบบ มาเพอ่ื สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีระบบ ผู้สอนและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กัน โดยผ่าน ระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ทเ่ี ช่อื มโยงถงึ กนั ก่อให้เกิดประโยชนใ์ นการเรียนการสอน ประโยชน์ของการ เรียนการสอนผา่ นระบบเครือขา่ ยอินเตอรเ์ นต็ ในกระบวนการเรยี นการ สอน ได้แก่ 1) การเรียนการสอน สามารถเข้าถึงทกุ หน่วยงานและทุกสถานที ทมี อินเตอร์เน็ตติดตั้งอยู่ 2) การเรียนการสอนกระทาํ ไดโ้ ดย ผ้เู รียนไม่จําเป็นต้องทิ้งงานประจําเพ่ือเข้าเรียน 3) ไม่ต้องเสียค่าใช้จา่ ยในการเรียนการสอน เช่น ค่าท่ี พัก ค่าเดินทาง 4) การเรียนการสอนกระทําไดต้ ลอด 24 ชวั่ โมง 5) การจดั การเรียนการสอน มลี ักษณะ ที่ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนรู้เกิดจากผู้เรียนเข้า เรียนโดยตรง 6)สามารถทบทวนบทเรียนและ เน้ือหาได้ตลอดเวลา 7) การเรียนรู้เป็นไปตามความก้าวหน้าของผู้รับการเรยี นการสอนเอง 8) สามารถ ซกั ถาม หรือเสนอแนะ ได้ด้วยเคร่ืองมือบนเว็บ9) สามารถแลกเปล่ียนข้อคิดเห็นระหว่างผู้เรียนได้ โดย เครือ่ งมอื สื่อสาร ในระบบ อนิ เตอรเ์ นต็ ทง้ั ไปรษณีย์อิเล็กทรอนกิ ส์ ห้องสนทนา หรือกระดานขา่ ว
2 ซ่งึ จากความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจบุ ัน ทําให้เยาวชนยุคใหม่มีส่ือ และแหล่งเรยี นรู้มากมาย และมีเครอื่ งมือที่สามารถเขา้ ถงึ ส่อื ต่างๆ ได้ทุกท่ีทุกเวลา โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง ระบบอินเทอร์เน็ต ที่ช่วยให้การสือ่ สารเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว สืบค้นข้อมูลต่างๆ ได้ภายใน ระยะเวลา อันสั้น ซึ่งเทคโนโลยีเหล่าน่ีหากนักเรียนนํามาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการศึกษา ก็จะเป็นส่ิงท่ี จะทําให้ นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรอบด้าน และเรียนรู้ได้ทุกทีทุกเวลา จากสถิติการใช้งานอินเตอร์เน็ต พบว่านักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย มีการใช้บิรการอินเทอร์เน็ตใน การเล่น Social Network 82.7% อ่านหนังสืออิเล็คทรอนิกส์ 52.2% ดูโทรทัศน์,ภาพยนตร์,ฟังวิทยุ ออนไลน์ 42.3% (สำนกั งานพัฒนาธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 2558) ซ่ึงพบวา่ มนี ักเรยี นจาํ นวนมากท่มี ี การใช้บริการ Social Network ไม่ว่าจะเป็น Facebook Twitter Line instargram หลายคนที่ใช้ เวลาส่วนใหญ่ในการใชบ้ ริการส่ือสังคมออนไลน์เหล่านี้ เพอ่ื เขา้ ไปพบปะพูดคุยกับเพ่ือน หรือเล่นเกม ซ่ึง อาจจะส่งผลทาํ ใหไ้ ม่มีเวลาทาํ การบา้ นหรือทบทวนบทเรียน และเปน็ ผลใหผ้ ลการ เรียนของนักเรียนตก ตำ่ ลงได้ แต่ถา้ หากนักเรยี นสามารถเปลย่ี นพฤติกรรมการใช้งานอินเทอรเ์ นต็ และ สอื่ สงั คมออนไลน์ โดย ใชง้ านในเชงิ ท่ีสร้างสรรคแ์ ละเกดิ ประโยชน์ เช่น ใช้ในการปรกึ ษา สอบถาม ข้อสงสยั กบั ครผู ู้สอนหรอื ผรู้ ู้ หรือแนะนําเก่ียวกบั การเรียนและแหลง่ เรียนรู้ท่ไี ด้คน้ พบมาให้กบั เพื่อน หรือใช้เป็นแหล่งในการบนั ทึก เก็บรวบรวมความรู้ ข้อมูลท่ีนักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้ทั้งใน ห้องเรียนและนอกห้องเรียน โดยสรุปเป็น ใจความหรือเน้ือหาสาํ คญั ไว้ เพื่อใชเ้ ป็นแหล่งทบทวน บทเรียนและเผยแพร่ความรใู้ ห้เพ่ือนหรอื ผู้ที่สนใจ ได้เขา้ มาศึกษา เครื่องมือเหล่าน้ีกจ็ ะเป็นเครื่องมือท่ี มปี ระโยชน์มากต่อการเรียนรขู้ องนักเรียนเอง และ จะช่วยใหน้ ักเรียนสามารถร่วมกันเรียนรรู้ ่วมกัน ปรกึ ษา แก้ปัญหา และหาคาํ ตอบได้เป็นอย่างดี อีกท้ัง ยังเป็นการใช้งานอินเทอร์เน็ตและนําส่ือสังคม ออนไลน์มาใช้ในทางที่เกิดประโยชน์ต่อการเรียนของ ตนเอง ปัทมา นพรัตน์ (2548) ให้ความหมายของ การเรียนร้แู บบออนไลน์ หรือ E - Learning ว่า เป็นการศึกษาเรยี นรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต(Intranet) เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะไดเ้ รียนตามความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของ บทเรียนซ่ึงประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพ เสียง วิดีโอและมัลติมีเดียอ่ืน ๆ จะถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่าน Web Browser โดยผู้เรียน ผู้สอน และเพื่อนร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปลี่ยน ความคดิ เห็นระหว่างกันได้เชน่ เดียวกบั การเรยี นในช้ันเรยี นปกติ โดยอาศยั เคร่ืองมือการตดิ ตอ่ สื่อสารท่ี ทันสมัย ( E-Mail , Web-Board , Chat ) จึงเป็นการเรียนสำหรับทุกคน เรียนได้ทุกเวลา และทกุ สถานท่ี ด้วยเหตผุ ลท่กี ล่าวไว้ข้างตน้ ข้าพเจ้าจึงมีความสนใจที่จะศึกษาและวิจัยเรื่อง “การเรียนรู้วิทยาการคำนวณด้วยบทเรียน ออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ CODE.ORG ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรยี นสาธิตละอออุทิศ ลำปาง โดยการใช้ นวัตกรรมและส่ือต่างๆ มาสร้างเป็นเว็บไซต์ (E-learning) เพื่อใช้ในการเรียนการ
3 สอน วิชาวิทยาการคำนวณ ท้ังนี้มีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้นักเรียนท่ีได้เรียนผ่านสื่อการเรียนรู้น้ีสามารถ พัฒนาทักษะความรู รจู้ ักเทคโนโลยีสารสนเทศ นอกจากน้ีระบบ (e-Leaning) จะทําให้นักเรียนทุกคน ยังสามารถเข้าไปเรียนรู้ได้ตลอดเวลาและสามารถใช้ศึกษาเรียนรู้ที่ได้ก็ได้หากท่ีนั้นสามารถเชื่อมต่อ อนิ เตอรเ์ นต็ ได้ 2. คำถามงานวจิ ยั 2.2 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนชั้นช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 / 1 ผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 80 หรือไม่ 3. วัตถุประสงคก์ ารศกึ ษา 3.2 เพ่ือศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ท่ีเรียนวิทยาการคำนวณด้วยบทเรียนออนไลน์ผ่าน เว็บไซต์ CODE.ORG ของนักเรยี นระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนสาธิตละอออุทิศลำปางกรุ๊ป A เทียบเกณฑ์ร้อยละ 80 4. สมมตฐิ านการวจิ ัย 4.2 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1/1 สูงกว่าหรือ เทา่ กับเกณฑ์ร้อยละ 80 5. ขอบเขตของการวิจัย 5.1 ขอบเขตประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง 5.1.1 ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี คือ นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 โรงเรียนสาธิต ละอออทุ ศิ ลำปาง จำนวน คน 5.1.2 กลุ่มตัวอย่าง ท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1/1 โรงเรียนสาธติ ลอออุทิศ จำนวน 24 คน
4 5.2 ขอบเขตดา้ นเนื้อหา เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษาเป็นเนื้อหาของรายวิชา วิทยาการคำนวณหน่วยที่ 1 สำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1/1 โรงเรียนสาธิตละอออุทิศลำปาง ซ่ึงเป็นสื่อการเรียนการสอน ออนไลนผ์ ่านเว็บไซด์ จำนวน 1 หนว่ ย 5.3 ขอบเขตดา้ นตวั แปร 5.3.1 ตัวแปรต้น คอื การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดว้ ยบทเรียนออนไลนผ์ า่ นเว็บไซต์ หน่วยการเรยี นรู้ วิทยาการคำนวณ สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1/1 5.3.2 ตัวแปรตาม คือ ประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี น ของนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปที ี่ 1/1 5.4 ขอบเขตด้านเวลา ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2561 6. การใหค้ ำนยิ ามศพั ท์เฉพาะ 6.1 บทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บไซต์หมายถึง รูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์กระทำผ่าน เวบ็ ไซต์ หน่วยการเรยี นรู้ วิทยาการคำนวณ 6.2 ทฤษฎีคอนสตรัคติวสิ ต์ หมายถงึ ทฤษฏีการเรยี นรู้ ทเ่ี ช่ือมโยงความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม ของนักเรยี นและความร้ใู หม่ มาสรา้ งเปน็ ความเข้าใจของนักเรียนเอง หรือเรียกวา่ โครงสร้างทางปัญญา ซึ่งจะนำมาใช้ในบทเรียนออนไลนผ์ ่านเว็บไซต์ รายวชิ าคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนรู้วทิ ยาการคำนวณ สำหรับนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1/1 โดยมีการสร้างสถานการณ์ปญั หา เพอ่ื ให้นักเรียน เสียสมดุล ทางปัญญา จากนั้นให้นักเรียนเริ่มทำภารกิจ ถ้านักเรียนทำภารกิจไม่ได้ให้นักเรียนศึกษาเพ่ิมเติมจาก ฐานความชว่ ยเหลอื และแหล่งการเรียนรเู้ พ่ิมเติม 6.3 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บไซด์ หมายถึง การจัด กิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยใหผ้ ู้เรียนศึกษาเนอื้ หาบทเรยี นออนไลน์ผา่ นเว็บไซต์ หน่วยการเรียนรู้ paint 3D โดยใหน้ ักเรยี นศกึ ษา โดยเริ่มจากการศึกษาสถานการณ์ปญั หาทก่ี ำหนดไว้ และทำภารกจิ ท่กี ำหนด เมื่อ นักเรียนศกึ ษาเน้ือหาแล้วให้นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียน
5 6.4 ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น หมายถงึ คะแนนท่ีผู้เรยี นไดจ้ ากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนดว้ ยบทเรยี นออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ หน่วยการเรียนรู้ paint 3D ได้คะแนนเฉลีย่ ไมน่ ้อยกว่า ร้อยละ 80 7. ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ บั 7.1 คาดว่าจะเปน็ แนวทางในการจดั การเรยี นการสอนผ่านเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ 7.2 คาดวา่ จะเป็นแนวทางในการพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นให้ผู้เรียนมผี ลสมั ฤทธิท์ างการ เรยี นให้ดีมากยิ่งขน้ึ 7.3 คาดว่าจะได้นวตั กรรมทมี่ ปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์ท่กี ำหนดไว้
6 บทท่ี 2 ทฤษฎแี ละงานวิจยั ทเี่ ก่ียวข้อง การวิจัยครงั้ น้ี ผูว้ ิจยั ไดศึกษาทฤษฎีและงานวิจยั ทเี่ ก่ียวข้อง เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจแนวทางหลกั การและทฤษฎที ม่ี ี ส่วนเก่ียวขอ้ งกับงานวจิ ยั โดยแยกเป็นหวั ข้อดงั น้ี 1. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 1.1 วิทยาศาสตร์ 1.2 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ 1.3 คณุ ภาพผู้เรยี น 2. แนวคิดทฤษฏที เี่ ก่ียวขอ้ ง 2.1 ทฤษฎีการเรยี นรกู้ ลมุ่ พฤตกิ รรมนยิ ม 2.2 ทฤษฏกี ารเรยี นร้กู ลมุ่ คอนสตรคั ติวิสต์ 2.3 ทฤษฏี ADDIE model 3.เอกสารท่ีเกี่ยวข้องกบั สอื่ การเรียนการสอนออนไลนด์ ้วยเว็บไซด์ (Web Based Instruction) 3.1 ความหมายของสื่อการเรยี นการสอนออนไลนด์ ว้ ยเวบ็ ไซด์ (Web Based Instruction) 3.2 ประเภทของส่ือการเรยี นการสอนออนไลนด์ ว้ ยเว็บไซด์ (Web Based Instruction) 3.3 องคป์ ระกอบสือ่ การเรยี นการสอนออนไลน์ด้วยเวบ็ ไซด์ (Web Based Instruction) 3.4 หลกั การออกแบบสือ่ การเรยี นการสอนออนไลน์ด้วยเวบ็ ไซด์ (Web Based Instruction) 4.ความสำคญั และความจำเปน็ ของการจัดการสอนแบบ E – Learning 5.ประโยชนข์ องการเรยี นการสอนแบบ E – Learning 6.ขอ้ พงึ ระวังในการจดั การเรยี นการสอนแบบ E - Learning 7. เอกสารทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน 7.1 ความหมายของผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น 7.2 ความหมายของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 7.3 ลักษณะของแบบทดสอบทด่ี ี 8. งานวจิ ยั ท่เี กีย่ วข้อง
7 1. สาระและมาตรฐานการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยีสาระสนเทศ 1.1 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นกลุ่มสาระท่ีชว่ ยพัฒนาให้ผเู้ รียนมี ความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะพน้ื ฐานทจ่ี ำเป็นต่อการดำรงชีวติ และร้เู ทา่ ทันการเปลยี่ นแปลง สามารถนำ ความรู้เกี่ยวกับการดำรงชีวิต การอาชีพ และเทคโนโลยี มาใช้ประโยชน์ในการทำงานอย่างมีความคิด สร้างสรรค์ และแข่งขนั ในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการทำงาน และมี เจตคตทิ ด่ี ีตอ่ การทำงาน สามารถดำรงชีวติ อยู่ในสังคมได้อยา่ งพอเพียงและมคี วามสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี มุ่งพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวม เพอื่ ใหม้ ีความรู้ความสามารถ มีทกั ษะในการทำงาน เห็นแนวทางในการประกอบอาชพี และการศกึ ษาต่อ ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ โดยมสี าระสำคญั ดงั นี้ 1.1.1 การดำรงชีวิตและครอบครัว เป็นสาระเกี่ยวกับการทำงานในชีวิตประจำวัน ชว่ ยเหลือตนเอง ครอบครัว และสังคมได้ในสภาพเศรษฐกิจที่พอเพียง ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม เน้นการปฏิบัติ จริงจนเกิดความมน่ั ใจและภูมิใจในผลสำเร็จของงาน เพื่อให้ค้นพบความสามารถความถนดั และความสนใจ ของตนเอง 1.1.2 การออกแบบและเทคโนโลยี เป็นสาระการเรียนรู้ท่ีเก่ียวกับการพัฒนา ความสามารถของมนุษย์อย่างสร้างสรรค์ โดยนำความรู้มาใช้กับกระบวนการเทคโนโลยี สร้างสิ่งของ เครื่องใช้วธิ ีการ หรือเพิ่มประสทิ ธภิ าพในการดำรงชีวิต 1.1.3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นสาระเกี่ยวกับกระบวนการ เทคโนโลยีสารสนเทศ การติดต่อสื่อสาร การค้นหาข้อมูล การใช้ข้อมูลและสารสนเทศ การแก้ปัญหา หรือการสร้างงาน คณุ ค่าและผลกระทบของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร 1.1.4 การอาชีพ เปน็ สาระท่ีเกี่ยวข้องกับทักษะท่จี ำเปน็ ต่ออาชีพเหน็ ความสำคญั ของ คุณธรรมจริยธรรมและเจตคติท่ีดีต่ออาชีพใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสมเห็นคุณค่าของอาชีพสุจริต และ เหน็ แนวทางในการประกอบอาชพี 1.2 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี 1 การดำรงชีวติ และครอบครวั มาตรฐาน ง1.1 เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการ ทำงานทักษะการจดั การ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทักษะการทำงานร่วมกันและทักษะการแสวงหา ความรูม้ ีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงานมีจิตสำนึกในการใช้พลังงานทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม เพอื่ การดำรงชีวติ และครอบครัว
8 สาระท่ี 2 การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจเทคโนโลยแี ละกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรา้ ง สิ่งของเคร่ืองใช้หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้เทคโนโลยี ในทางสร้างสรรคต์ ่อชีวิต สังคม สิ่งแวดลอ้ ม และมสี ว่ นรว่ มในการจัดการเทคโนโลยที ีย่ ่งั ยนื สาระที่ 3 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร มาตรฐาน ง3.1 เข้าใจ เห็นคุณคา่ และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การส่ือสาร การแก้ปัญหา การทำงาน และอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธผิ ล และมีคุณธรรม สาระที่ 4 การอาชพี มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ มีทักษะที่จำเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงาน อาชีพ ใช้เทคโนโลยเี พ่ือพัฒนาอาชีพ มีคณุ ธรรม และมเี จตคติที่ดตี ่ออาชพี 2. แนวคดิ ทฤษฏีท่ีเกย่ี วขอ้ ง 2.1 ทฤษฎกี ารเรียนรกู้ ล่มุ พฤติกรรมนยิ ม โนซีลา สุไลมัน (2555) ทฤษฎีการเรียนรู้แบบการวางเง่ือนไขแบบโอเปอแรนท์ (Operant Conditioning Theory) หรือ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำซึ่งมี สกินเนอร์ (B.F. Skinner) เป็นเจ้าของทฤษฎี สกินเนอร์ เกิดเมื่อปี ค.ศ. 1904 เขาเป็นนักการศึกษาและนักจิตวิทยาที่มีช่ือเสียง มาก เขาได้ทดลองเกี่ยวกับการวางเง่ือนไขแบบอาการกระทำ (Operant Conditioning) จนได้รับการ ยอมรบั อยา่ งกว้างขวางต้งั แตป่ ี ค.ศ. 1935 เป็นต้น สกินเนอร์ได้ทดลองการวางเงื่อนไขแบบโอเปอแรนท์กับหนูและนกในห้องทดลองจนกระท้ังได้ หลักการต่าง ๆ มาเป็นแนวทางการศกึ ษาการเรียนรูข้ องมนุษย์ สกินเนอร์มีแนวคิดวา่ การเรยี นรเู้ กิดขึ้นภายใต้เงื่อนไขและสภาวะแวดล้อมท่ีเหมาะสม เพราะ ทฤษฎนี ี้ต้องการเน้นเรื่องสิ่งแวดล้อม สง่ิ สนบั สนุนและการลงโทษ โดยพฒั นาจากทฤษฎีของ พาฟลอฟ และธอร์นไดค์ โดยสกินเนอร์มองว่าพฤติกรรมของมนุษย์เป็นพฤติกรรมท่ีกระทำต่อสิ่งแวดล้อมของ ตนเอง พฤติกรรมของมนุษย์จะคงอยู่ตลอดไป จำเป็นต้องมีการเสริมแรง ซ่ึงการเสริมแรงน้ีมีทั้งการ เสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement) และการเสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement) การเสริมแรง หมายถงึ ผลของพฤตกิ รรมใด ๆ ทท่ี ำใหพ้ ฤติกรรมนน้ั เข้มแข็งข้นึ
9 การเสริมแรงทางบวก หมายถงึ สภาพการณ์ที่ช่วยใหพ้ ฤติกรรมโอเปอแรนท์เกดิ ขน้ึ ในด้านความ ที่น่าจะเป็นไปได้ ส่วนการเสริมแรงทางลบเป็นการเปล่ียนแปลงสภาพการณ์อาจจะทำให้พฤติกรรมโอ เปอแรนทเ์ กดิ ข้ึนได้ ในด้านการเสริมแรงนั้น สกินเนอร์ให้ความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง โดยได้แยกวิธีการเสริมแรง ออกเป็น 2 วธิ ี คือ 1. การให้การเสริมแรงทุกครั้ง (Continuous Reinforcement) เป็นการให้การ เสริมแรงทกุ ครั้งท่ผี ู้เรยี นแสดงพฤติกรรมท่พี ึงประสงค์ตามทีก่ ำหนดไว้ 2. การให้การเสริมแรงเป็นครั้งคราว (Partial Reinforcement) เป็นการให้การ เสริมแรงเปน็ คร้ังคราว โดยไม่ใหท้ ุกครั้งทผ่ี ู้เรยี นแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ โดยแยกการเสริมแรงเป็น คร้งั คราว ได้ดังนี้ 2.1 เสริมแรงตามอัตราส่วนที่แน่นอน 2.2 เสริมแรงตามอัตราส่วนท่ไี ม่แนน่ อน 2.3 เสรมิ แรงตามชว่ งเวลาทแี่ นน่ อน 2.4 เสรมิ แรงตามช่วงเวลาท่ไี ม่แน่นอน การเสริมแรงแต่ละวิธีให้ผลต่อการแสดงพฤติกรรมที่ต่างกัน และพบว่า การเสริมแรงตาม อตั ราส่วนท่ีไม่แน่นอนจะให้ผลดีในด้านที่พฤติกรรมท่ีพึงประสงค์จะเกิดขึ้นในอัตราสูงมาก และเกิดข้ึน ต่อไปอีกเป็นเวลานานหลงั จากที่ไมไ่ ด้รับการเสริมแรง สรุปแนวคิดตามทฤษฏีนี้ได้ว่า การกระทำใดๆ ถ้าได้รับการเสริมแรงจะมีแนวโน้มท่ีจะเกิดข้ึน อีก การเสรมิ แรงที่แปรเปลย่ี นทำใหก้ ารตอบสนองคงทนกวา่ การเสริมแรงที่ตายตัว การจดั การเรยี นการ สอนตามทฤษฏีนี้จึงเน้นทีก่ ารเสนอสิ่งเร้าในการเรียนการสอน การจดั กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง มีการแสริม แรงหรอื ใหร้ างวัลเพ่อื ให้ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจท่จี ะเรียนรู้ 2.2 ทฤษฏีการเรียนรู้กล่มุ คอนสตรัคติวสิ ต์ อนุชา โสมาบุตร (2556) ได้กล่าวถึงทฤษฎคี อนสตรัคติวสิ ต์ (Constructivist Theory) วา่ เป็น ทฤษฎีสร้างความรู้ของผู้เรียน ซ่ึงถ้าพิจารณาจากรากศัพท์ “Construct” แปลว่า “สร้าง” โดยในที่นี้ หมายถึงการสร้างความรู้โดยผู้เรียนน่ันเอง ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เช่ือว่า การเรียนรู้ หรือการสร้าง ความรู้ เป็นกระบวนการท่ีเกิดข้ึนภายในของผู้เรียน โดยท่ีผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ โดยการนำ ประสบการณ์หรือสิ่งที่พบเห็นในส่ิงแวดล้อมหรือสารสนเทศใหม่ท่ีได้รับมาเชื่อมโยงกับ ความรู้ความ เข้าใจที่มีอยู่เดิม มาสร้างเป็น ความเข้าใจของตนเอง หรือ เรียกว่า โครงสร้างทางปัญญา (Cognitive structure) หรือที่เรียกว่า สกีมา (Schema) ซึ่งน่ันคือ ความรู้ นั่นเอง ซึ่งอาจมิใช่เป็นเพียงการจดจำ สารสนเทศมาเท่านนั้ แต่จะประกอบดว้ ย โดยที่แต่ละบุคคลนำประสบการณ์เดมิ หรอื ความรคู้ วามเขา้ ใจ
10 เดิมท่ีตนเองมีมาก่อน มาสร้างเป็นความรู้ความเข้าใจที่มีความหมายของตนเองเกี่ยวกับสิ่งนั้นๆ ซ่ึงแต่ บคุ คลอาจสร้างความหมายที่แตกต่างกัน เพราะมีประสบการณ์ หรือ ความรู้ความเข้าใจเดิมที่แตกต่าง กนั กนิ ษ ฐ์ก าน ต์ ปัน แก้ ว (2556) ได้ก ล่าวว่าท ฤษ ฏีก ารสร้างความรู้ให ม่ด้วยตน เอ ง (Constructivism) มีรากฐานมาจากทฤษฏีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ (Piaget) ซึ่งเน้น เก่ียวกับสร้างความรู้นิยมเชิงปัญญา (Cognitive Constructivism) และไวก็อตสกี้ (Vygotsky) ซ่ึงเน้น เก่ียวกับสร้างความรู้นิยมเชิงสังคม (Social Constructivism) แนวคิดของทฤษฏีน้ีมุ่งเน้นการสร้าง มากกว่าการรับรู้ โดยเช่ือว่าการเรียนรู้เป็นกระบวนการที่เกิดข้ึนภายในของผู้เรียน โดยมีผู้เรียนเป็น ผสู้ ร้าง(Construct) ความรู้จากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งท่ีพบเห็นกับความรู้ความเข้าใจ ท่ีมีมาก่อนโดย พยายามนำความเข้าใจเกี่ยวกับเหตุการณ์และปรากฏการณ์ที่ตนพบเห็นมาสร้างเป็นโครงสร้างทาง ปัญญาหรือที่เรียกว่าสกีมา (Schema) โครงสร้างทางปัญญาของบุคคลจะมีการพัฒนาโดยผ่าน กระบวนการดูดซึม (Assimilation) ซ่ึงเป็นการนำสิ่งแวดล้อมภายนอกหรือความรู้ใหม่เข้ามา และปรับ โครงสร้างทางปัญญา (Accommodation) เป็นการปรับโครงสร้างทางปัญญาของตนเองในการรับ ส่งิ แวดล้อมภายนอกหรือความรู้ใหม่ โดยเชอื่ มโยงกับประสบการณ์เดิมหรือสกีมาของตนเองเพ่ือใหเ้ กิด การเรยี นรู้ ทฤษฏีการเรียนรเู้ พ่ือสรา้ งสรรคด์ ว้ ยปญั ญา (Constructivism) เปน็ การเรียนการสอนท่ีผเู้ รยี น เรียนรู้จากการสร้างงาน ผูเ้ รยี นได้ดำเนนิ กิจกรรมการเรยี นด้วยตนเองโดยการลงมอื ปฏบิ ัตหิ รือสร้างงาน ท่ีตนเองสนใจ ในขณะเดยี วกันก็เปิดโอกาสให้สัมผัสและแลกเปล่ียนความรู้กบั สมาชิกในกลุ่ม ผู้เรยี นจะ สร้างองค์ความรู้ขนึ้ ด้วยตนเองจากการปฏิบัตงิ านท่ีมีความหมายต่อตนเอง ครูผู้สอนจะต้องสรา้ งใหเ้ กิด องค์ประกอบครบทั้ง 3 ประการ คือ 1) ให้ผเู้ รียนได้ลงมอื ปฏิบัติกิจกรรมตา่ งๆ ด้วยตนเอง(ได้สร้างงาน) ตามความสนใจ ตามความชอบหรือตามความถนัดของแต่ละบุคคล 2) ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ภายใต้ บรรยากาศและสภาพแวดล้อมในการเรยี นรทู้ ด่ี ี และ 3) มเี คร่ืองมอื และอปุ กรณ์ในการประกอบกิจกรรม การเรียนรู้ที่เหมาะสม สายสวาท ปน้ั แก้ว (2553) ไดก้ ล่าวไว้ว่าการทำให้นกั เรียนเกดิ การเรียนรูต้ ามแนวคดิ คอนสตรัค ตวิ ิสต์ (Constructivist) จะต้องทำให้นักเรียนอย่ใู นสถานการณ์ที่นักเรียนได้เป็นผู้ลงมือปฏิบัติได้เป็นผู้ คิดเอง หรือได้เป็นผู้จัดกระทำต่อส่ิงน้ัน มีข้อสงสัยเกิดข้ึน และนักเรียน ค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง เปรียบเทียบผลของตนเองกบั ผ้อู ื่น ให้ความสำคัญกบั วัฒนธรรมและสงั คม สุมาลี ชัยเจรญิ (2551) กลา่ วว่ากลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) เชื่อวา่ การเรยี นร้เู ป็น กระบวนการสร้างมากกว่าการรับความรู้ดังน้ันเป้าหมายของการสอนจะสนับสนุนการสร้างมากกว่า ความพยายามในการถ่ายทอดความรู้ ดังน้ัน กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์จะมุ่งเน้นการสร้างความรใู้ หม่อย่าง เหมาะสมของแต่ละบุคคลและส่ิงแวดล้อมมคี วามสำคัญในการสร้างความหมายตามความเป็นจริง เป็น วธิ ีการที่นำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน มีหลักการท่ีสำคัญว่า ในการเรยี นรู้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนลงมือ
11 กระทำในการสร้างความรู้ ซ่ึงปรากฏแนวคิดท่แี ตกต่างกันเก่ียวกับการสร้างความรู้ หรอื การเรียนรู้ ท้ังน้ี เนื่องมาจากแนวคิดที่เป็นรากฐานสำคัญซ่ึงปรากฏจากรายงานของนักจิตวิทยาและนักการศึกษา คือ Jean Piaget ชาวสวิส และ Lev Vygotaky ชาวรัสเซีย ซ่ึงแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ Cognitive Construtivist และ Social Constructivist มีรายละเอียด ดังน้ี 1. Cogitive Constructivist มีรากฐานทางปรัชญาของทฤษฎีมาจากความพยายามท่ีจะ เช่อื มโยงประสบการณ์เดิมกบั ประสบการณใ์ หม่ ด้วยกระบวนการทพี่ สิ จู น์อยา่ งมีเหตุผลเป็นความรู้ทเี่ กิด จากการไตร่ตรอง ซึง่ ถือเป็นปรชั ญาปฏิบัตินิยม ประกอบกับรากฐานทางจติ วทิ ยาการเรียนรูท้ ่ีมีอิทธิพล ต่อพื้นฐานแนวคิดนี้ นักจิตวิทยาพัฒนากรชาวสวิส คือ จีน เพียเจต์ (Jean Piaget) ทฤษฎีของ Piaget จะแบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ Ages และ Stages ซึ่งท้ังสององค์ประกอบนี้จะทำนายว่าเด็กจะสามารถ หรอื ไมส่ ามารถเข้าใจสง่ิ หน่ึงสิ่งใดเม่ือมีอายแุ ตกตา่ งกันและทฤษฎีเกี่ยวกับดา้ นพฒั นาการที่จะอธบิ ายว่า ผู้เรียนจะพัฒนาความสามารถทางการรู้คิด (Cognitive Abillities ) ทฤษฎีพัฒนาการที่จะเน้นจุด ดงั กลา่ วเพราะวา่ เป็นพื้นฐานหลกั สำหรับวธิ ีการทาง Cognitive Constructivism ทางด้านการเรยี นการ สอนนั้นมี แนวคิดว่ามนุษย์เราต้อง “สรา้ ง” (Construct) ความร้ดู ้วยตนเองโดยผ่านทางประสบการณ์ ซึ่งประสบการณ์เหล่านี้จะกระตุ้นให้ผู้เรียนสร้างโครงสร้างทางปัญญา หรือเรียกว่า สกีมา (Schemas) เมนทอลโมเดล(Mental Model) ในสมอง สกีมาเหล่านี้สามารถเปลี่ยนแปลงได้ (Chang) ขยาย (Enlarge) และซับซ้อนขึ้นได้ โดยผ่านทางกระบวนการดูดซึม(Assimilation) และการปรับเปลี่ยน (Accommodation) 2. Social Constructivism เป็นทฤษฎที ี่มรี ากฐาน มาจาก Vygotsky ได้เน้นเก่ียวกับบริบทการเรียนรู้ทางสังคม (Social Context Learning) ทฤษฎีพุทธิ ปัญญาของเพียเจต์ที่ใช้กันมาเป็นพ้ืนฐาน สำหรับการเรียนรู้แบบค้นพบ (Discovery Learning) ซึ่ง ผู้สอนมบี ทบาทค่อนข้างจำกัด ส่วนทฤษฎขี อง Vygotsky เปิดโอกาสใหค้ รูหรอื ผู้เรยี นท่ีอาวุโสกว่าแสดง บทบาทในการเรยี นรู้ของผู้เรียนการออกแบบการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ในทน่ี ี้ได้นำหลักการที่ สำคัญของทั้งสองกลุ่มแนวคิด คือ Cognitive Constructivism และ Social Constructivism มาใช้ใน การออกแบบ 2.3 ทฤษฏี ADDIE model อภิชาติ อนุกูลเวช (2553 : ออนไลน์) หลกั การออกแบบของ ADDIE model มขี ้ันตอนดงั นี้ 1. ขัน้ การวิเคราะห์ (Analysis) 2. ขัน้ การออกแบบ (Design) 3. ขัน้ การพัฒนา (Development) 4. ข้นั การนำไปใช้ (Implementation) 5. ข้นั การประเมนิ ผล (Evaluation)
12 ขนั้ ตอนการพฒั นา ADDIE model 1. ขั้นตอนการวิเคราะห์ (Analysis) ประกอบดว้ ยรายละเอยี ดแตล่ ะส่วน ดงั นี้ 1.1 การกำหนดหัวเรือ่ งและวตั ถุประสงคท์ ั่วไป 1.2 การวเิ คราะหผ์ ้เู รยี น 1.3 การวเิ คราะหว์ ัตถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม 1.4 การวิเคราะห์เนือ้ หา 2. ข้นั ตอนการออกแบบ (Design) ประกอบดว้ ยรายละเอยี ดแตล่ ะสว่ น ดงั นี้ 2.1 การออกแบบ Courseware (การออกแบบบทเรียน) ซึ่งจะประกอบด้วย ส่วนต่างๆ ได้แก่ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เน้ือหา แบบทดสอบก่อนบทเรียน (Pre-test) ส่ือ กิจกรรม วธิ กี ารนำเสนอ และแบบทดสอบหลงั บทเรยี น (Post-test) 2.2 การออกแบบผังงาน (Flowchart) และการออกแบบบทดำเนินเร่ือง (Storyboard) (ขัน้ ตอนการเขยี นผังงานและสตอรีบ่ อรด์ ของ อลาสซ่ี) 2.3 การออกแบบหน้าจอภาพ (Screen Design) การออกแบบหน้าจอภาพ หมายถึง การจัดพ้ืนที่ของจอภาพเพ่ือใช้ในการนำเสนอเนื้อหา ภาพ และส่วนประกอบอ่ืนๆ สิ่งท่ีต้อง พิจารณามีดังนี้ 2.3.1 การกำหนดความละเอยี ดภาพ (Resolution) 2.3.2 การจัดพ้ืนทแ่ี ต่ละหน้าจอภาพในการนำเสนอ 2.3.3 การเลือกรูปแบบและขนาดของตัวอักษรทั้งภาษาไทยและ ภาษาองั กฤษ 2.3.4 การกำหนดสี ไดแ้ ก่ สีของตัวอักษร (Font Color), สีของฉากหลัง (Background), สีของส่วนอ่นื ๆ 2.3.5 การกำหนดส่วนอ่ืนๆ ที่เป็นสิ่งอำนวยความสะดวกในการใช้ บทเรยี น
13 3. ขั้นตอนการพัฒนา (Develop) (ขั้นตอนการสร้าง/เขียนโปรแกรม และผลิต เอกสารประกอบการเรียน) ประกอบด้วยรายละเอยี ดแตล่ ะสว่ น ดงั นี้ 3.1 การเตรยี มการ การเตรยี มการเก่ยี วกบั องค์ประกอบดงั นี้ 3.1.1 การเตรยี มข้อความ 3.1.2 การเตรียมภาพ 3.1.3 การเตรยี มเสยี ง 3.1.4 การเตรยี มโปรแกรมจัดการบทเรียน 3.2 การสร้างบทเรียน หลังจากได้เตรียมข้อความ ภาพ เสียง และส่วนอ่ืน เรียบร้อยแล้ว ข้ันต่อไปเป็นการสร้างบทเรียนโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์จัดการ เพื่อเปล่ียน สตอรี่บอร์ดใหก้ ลายเปน็ บทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน 3.3 การสรา้ งเอกสารประกอบการเรียนหลังจากสรา้ งบทเรียนเสรจ็ สนิ้ แลว้ ใน ขั้นตอ่ ไปเปน็ การตรวจสอบและทดสอบความสมบูรณ์ข้นั ต้นของบทเรียน 4. ขั้นตอนการนำไปใช้ (Implement) การนำบทเรยี นคอมพิวเตอร์ไปใช้ โดยใช้กับ กลุ่มตัวอย่างมาย เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของบทเรียนในข้ันต้น หลังจากนน้ั จงึ ทำการปรับปรุง แกไ้ ขก่อนที่จะนำไปใชก้ บั กลุ่มเป้าหมายจริง เพ่ือหาประสิทธภิ าพของบทเรยี น และนำไปให้ผู้เชยี่ วชาญ ตรวจสอบความเหมาะสมและประสิทธภิ าพ 5. ขั้นตอนการประเมินผล (Evaluate) การประเมินผล คือ การเปรียบเทียบกับการ เรยี นการสอนแบบปกติ โดยแบ่งผ้เู รียนออกเป็น 2 กล่มุ เรยี นดว้ ยบทเรียนที่ สร้างข้ึน 1 กล่มุ และเรยี น ดว้ ยการสอนปกติอีก 1 กลุ่ม หลังจากนัน้ จึงให้ผู้เรียนทั้งสองกลุม่ ทำแบบทดสอบชุดเดียวกัน และแปล ผลคะแนนที่ได้ สรุปเปน็ ประสทิ ธิภาพของบทเรยี น เอกสารท่เี กี่ยวขอ้ งกับสือ่ การเรียนการสอนผ่านเครือขา่ ยคอมพิวเตอรบ์ ทเรียนบนเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต (Web Based Instruction) 3.เอกสารทเี่ ก่ยี วข้องกับส่อื การเรยี นการสอนออนไลน์ดว้ ยเว็บไซด์ (Web Based Instruction) ปจั จบุ ันมีผู้ใหค้ วามสำคัญและมีการนำเอาเว็บมาใช้ประโยชน์เพอื่ การศึกษา การจัดการเรียนการสอน ผา่ นเว็บ(Web-Based Instruction) นอกจากจะเรียกว่าการจดั การเรียนการสอนผ่านเว็บ(Web-Based Learning) แล้วยังมี เว็บฝึกอบรม(Web-Based Training) อินเทอร์เน็ตฝึกอบรม (Inter-Based Training) และเวิล์ดไวด์เว็บช่วยสอน (WWW-Based Instruction) ทั้งนี้ได้มีผู้นิยามและให้ความหมาย ของการเรยี นการสอนผา่ นเว็บ (Web-Based Instruction) เอาไวด้ ังน้ี
14 ภาสกร เรืองรอง (2544) ได้ให้ความหมาย WBI (Web-based Instruction) คือ การเรียนการสอนผ่านเว็บ หรือการดำเนินการจัดสภาวะการณ์การเรียนการสอน ผ่านทางระบบ เครือข่ายโดยมีการกำหนดเงือ่ นไขและกจิ กรรม ถนอมพร เลาจรัสแสง (2544) ให้ความหมายว่า การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction) เป็นการผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยีปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการ สอนเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพทางการเรียนรู้และแก้ปัญหาในเรอ่ื งข้อจำกัดทางด้านสถานท่ีและเวลา โดย การสอนบนเว็บจะประยุกต์ใช้คุณสมบัติและทรัพยากรของ เวิลด์ ไวด์ เว็บ ในการจัดสภาพแวดล้อมที่ ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอนซ่ึงการเรียนการสอนที่จัดขึ้นผ่านเว็บนี้อาจเป็นบางส่วนหรือ ทั้งหมดของกระบวนการเรยี นการสอนก็ได้ จากนิยามและความคิดเห็นของนักวิชาการและนักการศึกษา ท้ังในต่างประเทศและภายใน ประเทศไทยดังท่ีกล่าวมาแล้วน้ันสามารถสรปุ ได้ว่า สื่อการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็น การจดั สภาพการเรียนการสอนที่ได้รับการออกแบบอย่างมรี ะบบ โดยอาศัยคุณสมบัติและทรพั ยากรของ เวิลด์ไวด์เว็บ มาเป็นส่ือกลางในการถ่ายทอดเพื่อส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ โดยอาจจัด เป็นการเรียนการสอนทั้งกระบวนการหรือนำมาใช้เป็นเพียงส่วนหน่ึงของกระบวนการ ทั้งหมดและช่วยขจัดปัญหาอุปสรรคของการเรียนการสอนทางด้านสถานที่และเวลาอีกด้วย ซ่ึงแบ่ง ออกเป็นหลายประเภท 3.1องค์ประกอบของสื่อการเรยี นการสอนออนไลนด์ ้วยเว็บไซด์ (Web Based Instruction) Rattiporn Chumnanphol (2555) ได้แบ่งองค์ประกอบของ Web Based Instruction ไว้ ดงั นี้ 1. องค์ประกอบดา้ นการเรียนการสอน 1.1 การพัฒนาเนอื้ หา 1.2 ทฤษฎีการเรยี นรู้ 1.3 การออกแบบระบบการสอน 1.4 การพฒั นาหลักสูตร 1.5 มัลตมิ ีเดยี 1.6 ข้อความและกราฟิก 1.7 ภาพเคล่ือนไหว 1.8 การออกแบบการปฏสิ ัมพันธ์
15 1.9 เครอ่ื งมือในอินเทอร์เน็ต 1.10 เคร่อื งมอื ในการติดตอ่ สื่อสาร 3.3หลักการออกแบบสือ่ การเรียนการสอนออนไลน์ด้วยเว็บไซด์ (Web Based Instruction) ประภัสรา โคตะขุน (2555) ได้กล่าวถึงหลักการออกแบบสื่อการเรียนการสอนบนเครือข่าย อนิ เทอรเ์ น็ต (Web Based Instruction) ไว้ดังนี้ 1.ให้แรงจูงใจแก่ผู้เรียน (Motivating the leaner) มีการใช้การออกแบบบนเรียนโดยการวาง layout ที่น่าสนใจ และการใส่ภาพกราฟิกท่ีสวยงาม การเลือกใช้สีท่ีไม่มากจนเกินไป โดยอาจมีการใช้ ภาพเคล่ือนไหวประกอบบ้างในบ้างครั้ง แตข่ ้อควรระวังคือ ไม่ใช้มากจนเป็นที่รำคาญสายตาของผ้เู รยี น อีกส่ิงหนึ่งท่ีสำคัญคือ การใช้คำถามนำก่อนการเข้าสู่บทเรียน เพื่อความน่าติดตาม และจูงใจให้ผู้เรยี น อยากทราบคำตอบโดยการเข้ามาเรียนในบทเรียนของเรา 2. การบอกให้ผู้เรียนทราบว่าเขาจะไดเ้ รียนรู้อะไรบ้าง (Specifying what is to be learn)เรา สามารถบอกใหผ้ ู้เรียนทราบไดว้ ่าจะตอ้ งเรียนรู้ หรือทำกิจกรรมอะไรบ้าง หลังจากเรียนจบจากบทเรยี น แลว้ โดยครูจะบอกในลักษณะของจุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ปัญหาอยา่ งหนงึ่ ในการเรยี นบนเว็บก็คือ ถ้า มลี งิ ค์ข้อมูลทเ่ี ก่ียวข้องไปยงั หน้าเว็บอื่นๆ เป็นจำนวนมาก และผู้เรียนเขา้ ไปยังเว็บเหล่าน้ันจนหลง จาก เป้าหมาย เราก็ควรแก้ไขโดยการทำลงิ ค์ที่เกี่ยวขอ้ งในบทเรยี นของเรา เฉพาะทีจ่ ำเป็นจรงิ ๆ เทา่ น้ัน เพื่อ ปอ้ งกันปัญหา การหลงทางใน Hyperspace 3. การเชือ่ มโยงความรู้เก่ากับความร้ใู หม่ (Reminding learners of past knowledge) นกั จติ วทิ ยากลุ่ม Cognitive มคี วามเช่ือว่าผูเ้ รียนจะสามารถจดจำข้อมูลตา่ งๆ ได้ง่าย และนานย่งิ ขึน้ ถ้า เราสามารถนำเสนอเนื้อหาโดยการเชื่อมโยงความรู้เก่าๆ กับความรู้ใหม่ อย่างมีความหมาย เช่นการ ยกตัวอย่างโดยการเปรียบเทียบกับส่ิงที่นักเรียนเรียนรู้มาแล้ว หรือการนำเข้าสู่บทเรียน โดยการ เชื่อมโยงส่ิงท่ีเรียนมาแล้วกับสิ่งท่ีเขากำลังจะเรียน โดยในการออกแบบเว็บน้ัน เราสามารถใช้ลงิ ค์ข้อมูล ทมี่ ีความเก่ียวข้องกับส่ิงที่ผู้เรียนได้เรียนร้มู าแล้วเพ่ือการทบทวน หรือการเปรยี บเทียบกับเนื้อหาที่เขา กำลังเรียนอย่ไู ด้ 4. การนำเสนอเนื้อหาใหม่ (Providing new information)การนำเสนอเนอื้ หาของบทเรียน ซ่ึง ในการนำเสนอเนื้อหาในบทเรียนบนเว็บนั้น จำเป็นต้องออกแบบอย่างรอบคอบ โดยพิจารณาจาก คุณลกั ษณะทัว่ ไปของเว็บไซต์ และตัวผู้เรียนเอง 5. สร้างความกระตือรอื ร้นของผู้เรียน (Need Action Participation)ในการเรียนการสอน บน เว็บต้องการให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นระหว่างเรียน (Active learner) โดยการให้ผู้เรียนทำ กิจกรรมอย่างใดอย่างหน่ึง ระหว่างเรียน หรือจบบทเรียน เช่น มีการทำแบบฝึกหัดระหว่างบทเรียน
16 หน่วยย่อยแต่ละหน่วย ให้นกั เรยี นทำบทสรุป วิจารณ์ นำเสนอแง่มมุ มองของตนเอง ต่อเรื่องที่เรียนมา สง่ ผู้สอนหลงั จากเรียนจบบทเรียนน้ันๆ 6. การใหข้ อ้ เสนอแนะ และข้อมูลย้อนกลบั (Offering guidance and feedback) การใหข้ ้อมลู ตอบกลบั ไปของโปรแกรม ตอ่ ผู้ใชค้ อ่ นขา้ งทำได้ยาก ในบทเรียนบนเว็บ เมอื่ เปรยี บเทยี บกับ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แต่ก็สามารถทำได้โดยใช้โปรแกรมภาษาท่ีซับซ้อนยงิ่ ข้ึน เราสามารถให้ คำแนะนำ และการตอบกลบั ในการใชง้ านของการต้งั กระทู้ในหน้าเว็บหรอื อเี มล์กไ็ ด้ 7. การทดสอบ (Testing) สิ่งท่ีจำเป็นอย่างย่ิง คือการทดสอบว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตาม จุดมุ่งหมายหรือไม่ การทำแบบทดสอบสามารถทำได้จากในบทเรียนออนไลน์ แต่อย่างไรก็ตาม มีข้อ วิพากษว์ จิ ารณใ์ นเร่อื งของผูท้ ำข้อสอบว่าเปน็ ตัวจรงิ กับผู้เรยี นหรอื ไม่ ถา้ เป็นการทดสอบเพื่อให้ทราบว่า ผ้เู รยี นเกดิ การเรียนรู้หรือไม่ โดยไมเ่ ก็บคะแนนเพอื่ การประเมินผลจรงิ ก็สามารถทำข้อสอบออนไลนไ์ ด้ 8. ให้ ข้ อ มู ล ที่ เกี่ ย วข้ อ งเพ่ิ ม เติ ม ห รือ ก ารซ่ อ ม เสริม ( Supplying enrichment or remediation) การให้แหล่งข้อมูลเพ่ิมเติมสามารถทำได้อย่างง่ายดาย โดยการทำลิงค์ท่ีเกี่ยวข้องกับ เนือ้ หาบทเรยี น ทผี่ ู้เรียนต้องการศึกษาเพ่ิมเติมต่อไป ส่วนการให้ขอ้ มูลซ่อมเสรมิ ก็สามารถทำได้เชน่ กัน โดยการสร้างข้นึ เอง หรือการลิงค์ไปยังเว็บไซต์ท่มี เี นอ้ื หาไมซ่ ับซ้อนจนเกินไป สำหรบั ผทู้ เี่ รียนออ่ น 4. ความสำคัญและความจำเป็นของการจดั การสอนแบบ E - Learning ในโลกยคุ ปัจจบุ ัน E – Learning เริ่มมีความสำคญั มากขนึ้ จนสามารถทำให้เกิดการเรียนรู้ได้ ทุกเวลา ทุกสถานท่ี ไมจ่ ำกัดอยู่แตใ่ นห้องเรียน หรอื ในโรงเรยี นเทา่ นั้น นอกจากนี้ ยงั เป็นการส่งเสริม ความสามารถในการเรียนรู้เป็นรายบุคคล และการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ตอบสนองคณุ ลกั ษณะใฝ่รู้ ใฝเ่ รยี น และพัฒนาทักษะการคิด การสบื คน้ ของผู้เรียน โดยส่วนใหญแ่ ลว้ E - Learning จะถูกใชป้ ระโยชนใ์ นกรณีต่อไปนี้ คอื 1. เป็นแหล่งความรู้ของผู้เรียน (Knowledge Based) โดยที่อินเตอร์เน็ตถือเป็นแหล่ง ความรู้ที่ยิ่งใหญ่กว้างขวางที่สุดในโลก ที่ผู้เรียนควรได้รู้จักศึกษา เพื่อการแสวงหา วิเคราะห์และสร้าง องคค์ วามรู้ไดเ้ ป็นอย่างดี 2. เป็นห้องปฏิบัติการของผู้เรียน (Virtual Lab) ในโลกของอินเตอร์เน็ตผู้เรียนสามารถ เรียนรู้ฝึกฝนทักษะและปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ได้อย่างมากมาย โดยมีแหล่งความรู้ท่ีกว้างขวาง แต่ อย่างไรก็ตามการที่ผู้เรียนจะได้ฝึกฝนและปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ น้ัน อาจต้องอยู่ในความดูแล กำกับ แนะนำ ติดตามของครผู ู้สอนด้วยจึงจะทำให้กจิ กรรมต่าง ๆ มสี ่วนเสริมการเรียนร้ขู องผ้เู รียนไดอ้ ย่างมี ประสิทธิภาพ
17 3. เป็นส่วนของห้องปฏิบัติการจำลองสภาพต่าง ๆ ( Sim Lab)ในโลกของคอมพิวเตอร์ สามารถกระทำสงิ่ ต่าง ๆ ได้ในขณะท่ีโลกท่ีเป็นจริงไม่สามารถกระทำได้ เช่น การจำลองปรากฏการณ์ ธรรมชาติ การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต การเกิดภูเขาไฟระเบิด ระบบสุริยะจักรวาล ฯลฯ หรือ เหตุการณ์ที่อันตราย เช่น การเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ หรือ การถ่ายทอดจนิ ตนาการออกมาเปน็ ภาพท่ี ชัดเจนเสมือนจริง ทำให้การเรียนรู้และความคิดของมนุษย์เป็นไปอย่างกว้างขวาง อิสระ ไร้ขอบเขต และไร้ขอ้ จำกดั มากขึน้ 4. นำผู้เรียนออกไปสู่โลกกว้าง ( Reaching Out) เป็นการเปิดประตูห้องเรียนออกไป สัมผัสกับความเป็นไปของโลก ศึกษาสิ่งที่เป็นอยู่จริงๆ ที่ไม่ได้มีอยู่เฉพาะแต่ในห้องเรียน หรือหนังสือ เรยี นเทา่ น้ัน แต่เป็นการศึกษาความร้ทู ี่เป็นอยู่จริง ทำให้รู้เทา่ ทนั ความเป็นไป การเปลย่ี นแปลงของโลก และรจู้ ักโลกที่เราอยมู่ ากขนึ้ 5. นำโลกกว้างมาสู่ห้องเรียน ( Reaching within ) เป็นการดึงเอาเร่ืองท่ีอยู่ไกลตัว ไกลจากประสบการณ์ท่ีผู้เรียนจะสัมผัสได้จริง ๆ มาสู่ห้องเรียน ทำให้มีความรู้กว้างขวาง และรู้จัก นำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจำวันมากขึ้น ในโลก ปัจจุบันเราจะพบว่า “ ผ้ทู ่ีมีข้อมูลมากกวา่ ย่อมได้เปรยี บ และผู้ทีม่ ีขอ้ มูลมากทส่ี ุดจะไดเ้ ปรยี บกวา่ แต่ ทยี่ ิ่งไปกวา่ น้ันอีกก็คือ ผู้ท่ีมีข้อมูลท่ีถูกต้องและใช้ข้อมูลเป็นจะไดเ้ ปรยี บท่ีสุด ” ดังนั้น นอกจากผู้เรียน จะรู้จักแสวงหาข้อมูลแล้ว ยังต้องรู้จักวิเคราะห์ความถูกต้อง ความเหมาะสมของข้อมูลที่มีอยู่ และ สามารถนำข้อมลู ไปใช้จงึ จะเกดิ ประโยชนส์ ูงสุด 6. เป็นเวทีการแสดงออก ( Performance ) ระบบอนิ เตอร์เน็ตเป็นระบบที่เช่ือมโยงโลก ทง้ั หมดเขา้ ด้วยกันทำใหร้ ะยะทางไม่เป็นปัญหาในการติดตอ่ ส่ือสารอีกต่อไป ผู้เรียนสามารถแสดงความ คิดเห็น แสดงผลงาน แสดงทักษะ ความรู้ ความสามารถออกไปสู่การรับรู้ของผู้คนได้อย่างไร้ขอบเขต และไดร้ บั การยอมรับมากขึน้ รวมถึงมีโอกาสที่จะกา้ วหนา้ และประสบความสำเร็จไดม้ ากขน้ึ นอกจากนี้ในการจัดการเรียนรู้ E-Learning น้ันถือว่าเป็นเรื่องใหม่ท่ีครูผู้สอนจำเป็นต้องปรับแนวคิด ปรชั ญาเกย่ี วกับการเรยี นการสอนไปบ้าง และยอมรับข้อจำกัดบางประการเก่ียวกบั การจดั การเรยี นการ สอน โดยปรับแนวคิดเกย่ี วกบั เรอื่ งต่อไปนี้ เปน็ การจัดการเรยี นรทู้ ีท่ ดแทนการเรยี นการสอนในชั้นเรยี น เพื่อใหผ้ ู้เรยี นมที างเลือกใหมใ่ นการเรียนรทู้ ่ี ไม่ได้ขึ้นอยู่กับความสามารถในการถ่ายทอดเน้ือหาจากครูผู้สอนแต่เพียงอย่างเดียว แต่ผู้เรียนยัง สามารถเรียนรู้ได้จากสิ่งแวดล้อม และจากแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ที่อยู่รอบตัว รวมทั้งแหล่งเรียนรู้ใน อินเตอร์เน็ตอีกด้วย ที่กล่าวเช่นนี้ไม่ได้หมายความว่า ไม่จำเป็นต้องมีการเรียนการสอนในชั้นเรียน เพียงแต่ต้องการให้เป็นอีกทางเลือกหน่ึงของการศึกษาเรียนรู้ของผู้เรียน เป็นการเพิ่มศักยภาพในการ
18 เรียนรู้เพิ่มเติมจากในช้ันเรียน นอกจากน้ี การจัดการเรียนรู้ในลักษณะอ่ืนๆ ให้หลากหลายออกไปก็จะ เป็นการกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรยี นร้ไู ด้ดยี ิง่ ขึน้ เป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีตอบสนองผเู้ รียนเป็นรายบุคคล ซึ่งความมุ่งหมายของการสอนรายบุคคลน้ันจะ ยึดหลักวา่ “ผู้เรียนต้องมีความรบั ผดิ ชอบในการเรียนด้วยตนเอง ไดม้ ีโอกาสเรยี นตามลำพัง จะต้องเป็น การสนับสนุน ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นผู้เรียนตลอดชีวิต มากกว่าเป็นผู้เรียนท่ีอยู่ภายใต้การบังคับ ตลอดเวลา เปน็ การเน้นการเรยี นมากกว่าการสอน เน้นในเรื่องความสนใจ ความตอ้ งการและความร้สู ึก ของผู้เรียนเป็นเรื่องสำคัญอันดับแรก และผู้เรียนได้รับการประเมินความก้าวหน้าด้วยตนเอง” ดังนั้น ความสามารถในการเรียนรู้ดว้ ยตนเองของผเู้ รียนจึงเป็นคุณลกั ษณะสำคัญต่อการเรยี นรเู้ ปน็ รายบุคคลท่ี ควรเน้นในโลกยุคปัจจุบนั เป็นอย่างยิง่ แต่อย่างไรก็ตาม การเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นส่งิ ท่ดี ี แต่การรูจ้ ักแต่ ตนเอง มีเฉพาะโลกของตัวเอง ขาดความเข้าใจต่อผู้อ่นื ขาดการคิดแบบองคร์ วม ก็เปน็ สง่ิ ทค่ี รูผู้สอน ต้องพงึ ตระหนกั เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ครูผู้สอนเปลี่ยนบทบาทจาก “ ผู้สอน” (Teacher) เป็น “ ผู้ แนะนำ ” ( Facilitator )การเรียนการสอนในช้ันเรียนนั้นครูมักจะเป็นผู้มีบทบาทมากท่ีสุดในชั้นเรียน ทำให้ชั้นเรียนเป็นกิจกรรมสำคัญของผู้สอนไม่ใช่ผู้เรียน นอกจากนี้ผู้เรียนแต่ละคนก็มีโอกาสในการ เรียนรู้ท่ีแตกต่างกันซึ่งเป็นไปตามลักษณะการเรียน ( Learning Style ) ของแต่ละคน การจัดการ เรียนรู้ E - Learning จะทำให้ผู้เรียนเป็นผู้ควบคุมการเรียนรู้ของตนเองได้ ไม่ข้ึนอยู่กับผู้อ่ืน ดังนั้น บทบาทของครใู นการสอนจะเปลี่ยนไป โดยครจู ะเป็นผูแ้ นะนำวิธกี ารเรียน เสนอแนะแนวทางการเรยี นรู้ ตลอดจนอำนวยความสะดวกในการเรียนร้ขู องผูเ้ รยี น เป็นการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนเปลี่ยนบทบาทจาก “ ผู้เรียน ” (Learner) เป็น “ ผู้แสวงหา ” (Researcher) เมอ่ื บทบาทของครูเปลี่ยน บทบาทของผู้เรียนก็ควรเปล่ียนตาม โดยผูเ้ รียนจะไม่เป็นผู้ท่ี คอยแต่รับการสอน แต่จะมีบทบาทเป็นผู้ศึกษา ผู้ค้นคว้า เสาะแสวงหาความรู้ สร้างองค์ความรู้และใช้ องคค์ วามร้นู ้ัน ๆ ดว้ ยตนเอง เป็นการย้ายฐานการสอนจากห้องเรียนจริง (Classroom-Based Instruction) ไปสู่ ห้องเรียนเสมือนบนเว็บ (Web-Based Instruction) ซ่ึง E - Learning เป็นการเรียนการสอนผ่าน ระบบอินเตอร์เน็ต โดยที่ผู้เรียนเป็นผู้ศึกษาหาความรู้จากบทเรียนออนไลน์ท่ีผู้สอนจัดเตรียมไว้ และ ระบบการติดตอ่ ส่ือสารที่สามารถโต้ตอบกันได้ทำให้มีลักษณะเหมือนกับห้องเรียนห้องหนึ่ง ซ่ึงเรยี กว่า ห้องเรียนเสมอื น (Virtual classroom) ในการเรียนรู้ลกั ษณะน้คี รตู อ้ งยอมรบั ข้อจำกดั บางประการ เช่น ครไู มไ่ ด้เป็นผู้ควบคุมชัน้ เรียน ไมไ่ ดเ้ ป็นผ้คู อยสอดส่องสังเกตพฤตกิ รรมของผู้เรยี น อยา่ งไรกต็ ามกย็ งั มี พฤติกรรมท่ีครูสามารถประเมินได้ เช่น ความรับผิดชอบ ความใฝ่รู้ใฝ่เรียน ความพากเพียรพยายาม
19 ความสนใจ ความร่วมมือ ฯลฯ ที่สามารถประเมินได้จากผลงานของผู้เรียน และการติดต่อสื่อสาร ระหวา่ งกนั ทางระบบอนิ เตอรเ์ น็ต เป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีผสมผสานความร่วมมือหลายฝ่าย การจัดการเรียนรู้ E - Learning มี องค์ประกอบหลายประการ นอกจากครผู ู้สอน ซงึ่ เป็นผู้เชี่ยวชาญในเนื้อหาแล้วยังตอ้ งมีผดู้ ูแลระบบ โปรแกรมเมอร์ ผู้ช่วยในการผลิตบทเรียน รวมถึงผู้รู้ ผู้เช่ียวชาญภายนอก และผู้ปกครอง ท่ีจะต้องมี ส่วนรว่ มในการจัดการเรียนร้ใู ห้เกิดประสทิ ธิภาพมากท่ีสุด เพราะเม่ือการจดั การเรยี นรไู้ ม่ได้จำกัดอยู่แต่ ในชั้นเรียนหรอื ในโรงเรียนแล้ว ผู้มสี ่วนร่วมกไ็ ม่ได้มจี ำกดั อยแู่ ค่ครูกับนกั เรียนอกี ตอ่ ไป 5. ประโยชน์ของการจัดการเรยี นการสอนแบบ E - Learning E - Learning ถือได้ว่าเป็นการปรับกระบวนทัศน์ใหม่ ( New Paradigm Shift ) ทาง การศึกษา เพราะ E-learning สามารถนำไปใช้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลยง่ิ ขน้ึ ประโยชน์ของ E - Learning มอี ยู่ด้วยกันหลายประการ ดังรายละเอียดต่อไปน้ี 1.E - Learning ช่วยให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน งานวิจัยหลายชิ้น สนับสนุนเน้ือหาการเรียนซ่ึงถูกถ่ายทอดผ่านทางมัลติมีเดียน้ันสามารถทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ ดีกว่าการเรยี นจากส่ือข้อความแต่เพียงอย่างเดียว ดังน้ัน หากจะเปรียบ E - Learning กบั การ สอนที่เน้น การบรรยายในลักษณะ Chalk and Talk ซึ่งผู้สอนในปัจจุบันยังคงใช้กันอยู่นั้น E - Learning ท่ีได้รับการออกแบบและผลิตมาอย่างมีระบบ จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากกว่า นอกจากในด้านของประสิทธิภาพการเรียน อันเกิดจากสื่อแล้ว ในด้านของ ระบบ E – Learning ยังมีการจัดหาเคร่ืองมือ ( Course Management Tool ) ซึ่งทำให้ผู้สอน สามารถตรวจสอบความกา้ วหนา้ ของพฤติกรรมการเรียนของผเู้ รยี นไดอ้ ยา่ งละเอยี ดและตลอดเวลา 2.E - Learning จะมีการใช้เทคโนโลยี Hypermedia ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงของข้อมูลไม่ว่าจะ เป็นในรูปของข้อความ ภาพนิ่ง เสียง กราฟิก วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว ท่ีเกี่ยวเนื่องกันเข้าไว้ด้วยกันใน ลักษณะ Non – Linear เพ่ือความสะดวกในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้ ประโยชน์ของการประยุกต์ใช้ Hypermedia ไวว้ ่า Hypermedia สามารถใช้เป็นวิธีการนำเสนอความรู้สำหรับสอื่ การเรียนการสอนท่ี มีประสิทธิภาพได้ ท้ังน้ีเน่ืองจากการท่ี Hypermedia น้ี สามารถนำเสนอเน้ือหาในลักษณะของกรอบ ความคิดแบบใยแมงมุม (Web Framework) ซ่ึงเป็นกรอบความคิดท่ีเชื่อว่าจะมีลักษณะที่คล้ายคลึง กันกับวิธีที่มนุษย์จัดระบบความคิดภายในจิตใจ ดังน้ันผู้เรียนท่ีเรียนจาก E - Learning จะสามารถ ควบคุมการเรียนของตนไดแ้ ละยอ่ มจะได้รับความรแู้ ละมีการจดจำไดด้ ีขนึ้ 3.E -Learning ทำให้ผู้เรียนสามารถเรยี นรู้ได้ตามจังหวะของตน ( Self - paced Learning ) ผู้เรียนสามารถที่จะควบคุมการเรียนของตนในด้านของลำดับการเรียน ( Sequence ) ตามพื้น
20 ฐานความรู้ ความถนดั และความสนใจของตน ผเู้ รียนสามารถเลือกเรียนเฉพาะเนื้อหาส่วนที่ต้องการ ทบทวนโดย ไม่ต้องเรียนในส่วนที่เข้าใจแล้ว ซึ่งในลักษณะนี้ ถือเป็นการให้อิสระแก่ผู้เรียนในการ ควบคุมการเรยี นของตน ( Learner Control ) 4.E - Learning เอ้ือให้เกิดการโต้ตอบ ( Interaction ) ที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการ โตต้ อบกับเนื้อหา การโต้ตอบกบั ครูผสู้ อนและกับเพื่อน คอรส์ แวร์ท่ีได้รับการออกแบบมาอย่างดีน้นั จะ เอ้ือให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับเนื้อหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวอย่าง เช่น การออกแบบ เน้ือหาในลักษณะเกม หรือ การจำลอง เป็นต้น นอกจากนี้ E - Learning ยังเอื้อให้ผู้เรียนเกิดการ โต้ตอบกับครูผู้สอนและกับเพ่ือนได้ อย่างที่เราทราบกันดีว่า การเรียนการสอนท่ีดีที่สุด ก็คือ การเรียน การสอนท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีการโต้ตอบกับผู้สอนหรือกับผู้เรียนอื่น ๆ ได้มากที่สุด เพราะการ เรียนในลักษณะนี้ผสู้ อนจะสามารถตอบสนองความต้องการ ปัญหา และคำถามต่าง ๆ ของผ้เู รียน ได้ทันที E - Learning ให้โอกาสผู้เรียนในการโต้ตอบกับครูผู้สอนและ/หรือการได้รับผลป้อนกลับท้ัง ในลักษณะเวลาเดียวกัน ( Synchronous ) เช่น การสนทนา (Chat) หรือ การออกอากาศสด (Live Broadcast) และ ในลกั ษณะตา่ งเวลากนั (Asynchronous) เชน่ การทิ้งข้อความไวบ้ นเวบ็ บอร์ด (Web Board) 5.E - Learning ส่งเสรมิ ให้เกิดการเรียนรู้ทักษะใหม่ ๆ รวมท้ังเน้ือหาท่ีมีความทันสมัย และ ตอบสนองตอ่ เรือ่ งราวต่าง ๆ ในปัจจบุ ันได้อยา่ งทันทว่ งที เพราะการท่ีเนือ้ หาการเรียนอยใู่ นรปู ของ ข้อความอิเล็กทรอนิกส์ ( E – Text ) ซ่ึงได้แก่ ข้อความซ่ึงได้รับการจัดเก็บ ประมวลผล นำเสนอ และเผยแพร่ทางคอมพิวเตอร์จึงทำให้มีข้อได้เปรียบส่ืออ่ืนๆ หลายประการ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในด้านของความสามารถในการปรับปรุงเนื้อหาสารสนเทศให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา การเข้าถึง ข้อมลู ที่ตอ้ งการด้วยความสะดวกและรวดเรว็ และความคงทนของข้อมลู 6.ขอ้ ความซึ่งได้รบั การจัดเก็บ ประมวลผล นำเสนอ และเผยแพรท่ างคอมพวิ เตอรจ์ งึ ทำให้มีข้อ ได้เปรยี บส่อื อน่ื ๆ หลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในดา้ นของความสามารถในการปรับปรุงเนอื้ หา สารสนเทศให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา การเข้าถึงข้อมูลท่ีต้องการ ด้วยความสะดวกและรวดเร็ว และความคงทนของข้อมูล 7.E - Learning ถือเป็นรปู แบบการเรียนที่สามารถจัดการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรยี นในวงกวา้ ง ข้ึน เพราะผู้เรยี นใชก้ ารเรียนในลักษณะ E - Learning จะไม่มขี อ้ จำกัดในด้านการท่ีจะต้องเดินทางมา ศึกษาในเวลาใดเวลาหนึ่งและสถานท่ีใดสถานท่ีหนึ่ง ดังนั้น E-learning ยังสามารถนำไปใช้เพ่ือ สนับสนุนการเรียนในลักษณะตลอดชีวิต (Life Long Learning)ได้ด้วย และยงิ่ ไปกวา่ นน้ั เราสามารถนำ E - Learning ไปใช้เพื่อเปิดโอกาสสำหรับผู้เรียนท่ีขาดโอกาสในการศึกษาในระดับอุดมศึกษาได้เป็น
21 อย่างดี ซ่ึงจากงานวิจัยในประเทศไทย พบว่า ยงั มีผูเ้ รียนท่ีขาดโอกาสในการศึกษา ขั้นอุดมศึกษาอัน เน่ืองมาจากข้อจำกัดของสถาบันการศกึ ษาทีจ่ ำกดั จำนวนในการรบั ผู้เรียนอยอู่ ีกเป็นจำนวนมาก และมี แนวโน้มที่จะเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ในอีกทศวรรษข้างหน้า ซึ่งการจัดการเรียนการสอนสำหรับผู้เรยี น จำนวนที่มากข้ึน โดยมีค่าใช้จ่ายเท่าเดมิ กเ็ ทา่ กับเป็นการลดต้นทนุ ในการจัดการศกึ ษานน้ั ๆ ถนอมพร เลาหจรสั แสง (2544) ได้กลา่ วถงึ การสอนบนเว็บมขี อ้ ดีอยู่หลายประการ กลา่ วคอื 1. การสอนบนเว็บเปน็ การเปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนทอี่ ยหู่ ่างไกล หรือไม่มีเวลาในการมาเข้าชัน้ เรียน ได้เรียนในเวลาและสถานท่ี ๆ ต้องการ ซ่ึงอาจเป็นท่ีบ้าน ท่ีทำงาน หรือสถานศึกษาใกล้เคียงที่ผู้เรียน สามารถเข้าไปใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตได้ การท่ีผู้เรียนไม่จำเป็นต้องเดินทางมายังสถานศึกษาที่ กำหนดไว้จึงสามารถช่วยแก้ปัญหาในด้านของข้อจำกัดเก่ียวกับเวลา และสถานท่ีศึกษาของผู้เรียนเป็น อย่างดี 2. การสอนบนเว็บยังเปน็ การส่งเสริมให้เกดิ ความเท่าเทียมกนั ทางการศึกษา ผู้เรยี นทศ่ี ึกษาอยู่ ในสถาบันการศึกษาในภูมิภาคหรือในประเทศหนึ่ง สามารถที่จะศึกษา ถกเถียง อภิปราย กับ อาจารย์ ครูผสู้ อน ซ่ึงสอนอยู่ท่สี ถาบันการศึกษาในนครหลวงหรอื ในต่างประเทศกต็ าม การสอนบนเว็บ น้ี ยังชว่ ยส่งเสรมิ แนวคิดในเรอื่ งของการเรยี นรู้ตลอดชีวิต เนื่องจากเว็บเป็นแหล่งความร้ทู ีเ่ ปิดกว้างใหผ้ ู้ ทีต่ ้องการศึกษาในเร่อื งใดเรื่องหน่งึ สามารถเขา้ มาค้นควา้ หาความรู้ได้อยา่ งต่อเน่ืองและตลอดเวลาการ สอนบนเว็บ สามารถตอบสนองต่อผู้เรยี น ที่มคี วามใฝร่ ู้ รวมทั้งมีทักษะในการตรวจสอบการเรียนรู้ ดว้ ยตนเอง ( Meta - Cognitive Skills ) ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 3. การสอนบนเว็บ ช่วยทลายกำแพงของห้องเรียนและเปล่ียนจากห้องเรียน 4 เหลีย่ มไปสู่ โลกกว้างแห่งการเรยี นรู้ เปิดโอกาสให้ผ้เู รียนสามารถเขา้ ถงึ แหล่งขอ้ มูลต่าง ๆ ได้อย่าง สะดวกและมีประสิทธิภาพสนับสนุนสิ่งแวดล้อมทางการเรียนท่ีเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนกับปัญหาท่ีพบใน ความเป็นจรงิ โดยเน้นให้เกิดการเรียนรตู้ ามบริบทในโลกแห่งความเป็นจริง (Contextualization) และ การเรยี นร้จู ากปัญหา ( Problem – Based Learning) ตามแนวคิดแบบ Constructivism 4. การสอนบนเว็บเป็นวิธีการเรียนการสอนที่มีศักยภาพ เน่ืองจากที่เว็บได้กลายเป็น แหล่งค้นคว้าข้อมูลทางวชิ าการรูปแบบใหมค่ รอบคลุมสารสนเทศท่ัวโลก โดยไม่จำกดั ภาษา การสอน บนเว็บช่วยแก้ปัญหาของข้อจำกัดของแหล่งค้นคว้าแบบเดิมจากห้องสมุดอันได้แก่ ปัญหาทรัพยากร การศึกษาที่มีอยู่จำกัดและเวลาท่ีใช้ในการค้นหาข้อมูล เนื่องจากเว็บมีข้อมูลที่หลากหลายและเป็น จำนวนมาก รวมทั้งการท่ีเว็บใช้การเชื่อมโยงในลักษณะของ Hypermedia ( สื่อหลายมิติ ) ซ่ึงทำให้ การคน้ หาทำได้สะดวกและง่ายดายกวา่ การคน้ หาขอ้ มูลแบบเดิม
22 5. การสอนบนเว็บจะชว่ ยสนับสนุนการเรยี นรู้ที่กระตือรือร้น ท้ังนี้เนื่องจากคุณลักษณะ ของเว็บท่ีเอ้ืออำนวยให้เกิดการศึกษา ในลักษณะที่ผู้เรียนถูกกระตุ้นให้แสดงความคิดเห็นได้อยู่ ตลอดเวลา โดยไม่จำเป็นต้องเปิดเผยตัวตนท่ีแท้จริง ตัวอย่างเช่น การให้ผู้เรียนร่วมมือกันในการทำ กิจกรรมต่าง ๆ บนเครือข่ายการให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็นและแสดงไว้บนเว็บบอร์ดหรือ การให้ผู้เรียนมีโอกาสเข้ามาพบปะกับผู้เรียนคนอ่ืน ๆ อาจารย์ หรือผู้เช่ียวชาญในเวลาเดียวกันที่ห้อง สนทนา เปน็ ต้น 6. การสอนบนเว็บเอื้อใหเ้ กิดการปฏิสมั พันธ์ ซึ่งการเปิดปฏิสมั พันธ์นี้อาจทำได้ 2 รูปแบบ คือ ปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนด้วยกันและ/หรือผู้สอน ปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนในเนื้อหาหรือส่ือการสอนบน เว็บ ซ่ึงลักษณะแรกน้ีจะอยู่ในรูปของการเข้าไปพูดคุยพบปะ แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกัน ส่วนใน ลกั ษณะหลังน้ันจะอยใู่ นรูปแบบของการเรียนการสอน แบบฝึกหัดหรือแบบทดสอบที่ผู้สอนได้จัดหาไว้ ใหแ้ กผ่ ูเ้ รยี น 7. การสอนบนเว็บยังเป็นการเปิดโอกาสสำหรับผู้เรียนในการเข้าถึงผเู้ ช่ียวชาญสาขาต่าง ๆ ท้ังในและนอกสถาบนั จากในประเทศและต่างประเทศท่ัวโลก โดยผูเ้ รียนสามารถติดต่อสอบถาม ปัญหาและขอข้อมูลต่าง ๆ ท่ตี ้องการศึกษาจากผู้เชี่ยวชาญจริงโดยตรงซ่ึงไม่สามารถทำได้ในการเรียน การสอนแบบด้ังเดิม นอกจากนี้ ยังประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่ายเม่ือเปรยี บเทยี บกับการติดต่อส่อื สาร ในลักษณะเดิม ๆ 8. การสอนบนเว็บเปิดโอกาสให้ผู้เรียน ได้มีโอกาสแสดงผลงานของตน สู่สายตา ผู้อนื่ อย่างง่ายดาย ท้ังนี้ ไมไ่ ด้จำกัดเฉพาะเพ่อื น ๆ ในชั้นเรียนหากแต่เปน็ บคุ คลทั่วไปทว่ั โลกได้ ดังน้ัน จงึ ถือเป็นการสร้างแรงจงู ใจภายนอกในการเรยี นอย่างหน่งึ สำหรับผู้เรยี น ผเู้ รียนจะพยายามผลิตผลงาน ท่ดี ีเพื่อไม่ให้เสียช่ือเสียงตนเองนอกจากนี้ผู้เรยี นยังมีโอกาสไดเ้ ห็นผลงานของผู้อ่ืนเพ่ือนำมาพัฒนางาน ของตนเองใหด้ ีย่งิ ขึ้น 9. การสอนบนเว็บเปิดโอกาสให้ผู้สอนสามารถปรับปรุงเน้ือหาหลักสูตร ให้ทันสมัยได้ อย่าง สะดวกสบายเน่ืองจากข้อมูลบนเว็บมีลักษณะเป็นพลวัตร ( Dynamic ) ดังน้ันผู้สอนสามารถ อัพเดตเน้ือหาหลักสูตรท่ีทันสมัยแก่ผู้เรียนได้ตลอดเวลา นอกจากนี้การให้ผู้เรียนได้ส่ือสารและแสดง ความคิดเห็นท่ีเกี่ยวข้องกับเนื้อหา ทำให้เนื้อหาการเรียนมีความยืดหยุ่นมากกว่าการเรียนการสอน แบบเดิมและเปลี่ยนแปลงไปตามความต้องการของผู้เรียนเป็นสำคัญ การสอนบนเว็บสามารถนำเสนอ เนือ้ หาในรปู ของมัลตมิ เี ดยี ไดแ้ ก่ ข้อความ ภาพนง่ิ เสยี ง ภาพเคลือ่ นไหว วดี ีทศั น์ ภาพ 3 มติ ิ โดยผสู้ อน และผเู้ รยี นสามารถเลือกรปู แบบของการนำเสนอเพื่อให้เกดิ ประสิทธภิ าพสูงสดุ ทางการเรียน
23 ปรัชญนันท์ นิลสุข ( 2543 ) ได้กล่าวถึงคุณลักษณะสำคัญ ของเว็บซึ่งเอ้ือประโยชน์ต่อ การจดั การเรียนการสอน มีอยู่ 8 ประการ ได้แก่ 1. การท่ีเว็บเปิดโอกาสให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ ( Interactive ) ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนและ ผเู้ รยี นกับผูเ้ รียนหรือผเู้ รยี นกับเนื้อหาบทเรียน 2. การที่เวบ็ สามารถนำเสนอเน้อื หาในรูปแบบของสื่อประสม ( Multimedia ) 3. การท่ีเว็บเป็นระบบเปิด ( Open System ) ซึ่งอนุญาตให้ผู้ใช้มีอิสระในการเข้าถึงข้อมูล ได้ทว่ั โลก 4. การท่ีเว็บอุดมไปดว้ ยทรพั ยากร เพอ่ื การสืบค้นออนไลน์ ( Online Search/Resource ) 5. ความไม่มีข้อจำกัดทางสถานท่ีและเวลาของการสอนบนเว็บ ( Device, Distance and Time Independent ) ผเู้ รียนท่ีมคี อมพิวเตอร์ในระบบใดก็ได้ ซึ่งตอ่ เขา้ กับอนิ เทอร์เนต็ จะสามารถ เขา้ เรียนจากท่ีใดกไ็ ด้ในเวลาใดกไ็ ด้ 6. การท่ีเว็บอนุญาตใหผ้ ู้เรียนเป็นผคู้ วบคมุ (Learner Controlled) ผู้เรยี นสามารถเรียนตาม ความพรอ้ ม ความถนัดและความสนใจของตน 8. การที่เว็บมีความสมบูรณ์ในตนเอง (Self- contained) ทำให้เราสามารถจัด กระบวนการ เรียนการสอนท้ังหมดผ่านเว็บได้ การท่ีเว็บอนุญาตให้มีการติดต่อสื่อสารท้ังแบบเวลาเดียว (Synchronous Communication) เช่น Chat และต่างเวลากัน (Asynchronous Communication) เช่น Web Board เป็นต้น สรุปได้วา่ การเรยี นการสอน E - Learning มีประโยชน์มากมายหลายประการ ท้ังน้ีข้ึนอยกู่ ับ จดุ ประสงคข์ องการนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ซ่งึ พอสรุปได้ดงั น้ี 1. ความรวดเร็วและผลกระทบท่ีมีต่อการพัฒนาตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการ เรยี นรู้ เพราะ E - Learning ใหบ้ ริการผา่ นส่ือทใ่ี ช้เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ เปน็ หลักจึงมีข้อไดเ้ ปรียบ ทสี่ ามารถนำผู้เรียนเขา้ ส่บู ทเรียนไดอ้ ย่างรวดเร็วโดยผู้เรียน ไม่ต้องเสียเวลาในการรอเพื่อเขา้ ส่บู ทเรียน นนั้ ๆ เลยนอกจากน้ัน ผู้เรยี นสามารถเลือกท่ีจะเขา้ เรียนในบทเรียนใดก่อนหรอื หลังได้ดว้ ยตัวเองโดยท่ี ไมต่ ้องเรียนตามลำดบั ของบทเรียนในรายวชิ าน้ัน ซงึ่ นับเป็น จุดเด่นของการเรียนแบบ E - Learning 2. ความทันสมัยอยู่เสมอของหลักสูตรการอบรม การที่ผู้เรียนสามารถเลือกบทเรียนและ จัดลำดับของการเรียนด้วยตนเอง ในบริการแบบ E - Learning ทำให้สามารถ สนองตอบ พฤติกรรมการเรียนรขู้ องแต่ละบุคคลได้เป็นอย่างดี เพราะผู้เรียนบางคนมีพฤติกรรมท่ีจะเลือกเรียน
24 ในหัวขอ้ หรอื บทเรียนที่ตนคิดว่ามีประโยชน์หรือสามารถตอบปัญหาท่ตี นสงสัย ในขณะนั้นกอ่ นแล้วจึง เรียนบทเรียนอ่ืน ๆ ภายหลัง นอกจากนั้น การท่ีผู้เรียนสามารถเลือกสถานท่ี เวลา และ ช่วงเวลาท่ีผู้เรียนรู้สึกว่าสะดวกสบาย หรือเหมาะสมต่อการเรียนรู้ของตนมากที่สุด การเรียน ย่อมเกิดจากความเต็มใจและมีความกระตือรือรน้ ทจ่ี ะเรยี นรู้ทำให้เกิดสมั ฤทธิผลของการเรียนรู้และการ ท่ีผู้พัฒนาระบบ E - Learning มีการปรับปรุงข้อมูลในบทเรียนของตนให้ทันสมัยอยู่เสมอจะส่งผลให้ ผู้เรยี นไดร้ บั ความรู้ที่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน 3. เป็นการศึกษาที่เสียต้นทุนต่ำ ท้ังน้ีเพราะผู้เรียนสามารถ เรียนจากแหล่งที่มีการ เชื่อมโยงเครือข่ายท่ีใกล้กับท่ีพักอาศัยหรือ แหล่งที่ผู้เรียนสะดวกท่ีสุด และส่วนใหญ่ผู้เรียนเสียค่า สมัครครั้งเดียว แต่สามารถเรยี นบทเรียนนั้น ๆ ได้หลายครั้งไม่มีการจำกัดจำนวนคร้ังที่เรียน การสอบ เพ่ือวัดผลก็สามารถทำได้ จากสถานท่ีเดียวกับท่ีเรียน ดังน้ัน เม่ือมองในแง่ของการเปรียบเทียบ ต้นทุนแห่งค่าเสียโอกาส (Opportunity cost) แล้ว E - Learning มีต้นทุนต่อหน่วยสำหรับผู้เรียนต่ำ กว่าการเรียนโดยปกตเิ พราะไม่มีค่าเดินทาง ค่าทพ่ี ัก (ในกรณที ่ีผู้เรียนอยไู่ กลสถานศึกษา) และสามารถ เรียนในขณะท่ีกำลังทำงานอยู่ในท่ีทำงานด้วยในช่วงที่มีเวลาว่าง หรือนายจ้างอนุญาต โดยไม่ต้องทิ้ง งานเพื่อเดนิ ทางไปเรยี นในสว่ นของผู้พฒั นาบทเรยี นเองกเ็ สยี ต้นทนุ ต่ำเพราะเสยี ตน้ ทุนในการพัฒนาครั้ง เดยี วก็สามารถนำไปใช้งานได้หลายตอ่ หลายคร้ัง โดยจะเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเป็นคร้ังคราว เฉพาะเพ่ือการ บำรุงรักษาข้อมูล อุปกรณ์ท่ีให้บริการและค่าใชจ้ ่ายในการปรับปรุงข้อมูลเท่านั้น ซึ่งจะต่ำกว่าท่ีจะต้อง พัฒนาบทเรียนใหม่ทุกครั้งที่จะให้บริการอย่างเห็นได้ชัด ดังนั้นผู้ให้บริการสามารถคิดค่าบริการในการ เรียนในราคาไมแ่ พงนักเพอ่ื แข่งขันกับผปู้ ระกอบการรายอนื่ 6.ขอ้ พึงระวังในการจดั การเรียนการสอนแบบ E – Learning การไม่ทำความเข้าใจให้ถ่องแท้ถึงความหมาย วิธีการ รวมไปถึงรูปแบบ ระดับการใช้งานและ เทคโนโลยีท่ีเกี่ยวข้องกับ E-learning และนำไปใช้ ( Implement ) ตามกระแสความนิยม ก็อาจจะ สง่ ผลในทางลบตา่ งๆ แทนทข่ี อ้ ไดเ้ ปรยี บท้งั หมด เช่น 6.1 ผู้สอนที่นำ E-learning ไปใช้ในลกั ษณะของส่ือเสริม โดยไม่มีการปรับเปล่ยี นวิธีการสอน เลย กล่าวคือ ผู้สอนก็ยังคงใช้แต่วิธีการบรรยายในทุกเน้ือหาและส่ังให้ผู้เรียนไปทบทวนจาก E - Learning หาก E - Learningไม่ไดอ้ อกแบบให้จงู ใจผู้เรียนแล้ว ผู้เรียนก็คงใชอ้ ยู่พักเดียวก็เลิกไปเพราะ ไมม่ ีแรงจงู ใจใด ๆ ในการไปใช้ E - Learning กจ็ ะกลายเป็นการลงทนุ ทีไ่ มค่ ุ้มคา่ แต่อยา่ งใด 6.2 การลงทุนในด้านของ E – Learning จะต้องครอบคลุมถึงการจัดการให้ผู้สอนและผู้เรียน สามารถเข้าถึงเนื้อหาหรือการติดต่อส่ือสารออนไลน์ ได้โดยสะดวก สำหรับ E - Learning แล้ว ผู้สอน
25 และผู้เรียนที่ใช้รูปแบบการเรียนในลักษณะนี้จะต้องมีส่ิงอำนวยความสะดวก (Facilities) ต่าง ๆ ใน การเรียนที่พร้อมเพรียงและมีประสิทธิภาพ เช่น ผู้สอนและผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นได้ และสามารถเรียกดูเนื้อหาโดยเฉพาะอย่างยิ่งในลักษณะมัลติมีเดีย ได้อย่างครบถ้วนด้วยความเร็ว พอสมควรเพราะหากปราศจากข้อได้เปรียบในการติดต่อสื่อสารและการเข้าถึงแหล่งเนื้อหาได้สะดวก รวมทั้งข้อได้เปรียบสื่ออืน่ ๆ ในด้านลักษณะของการนำเสนอเน้ือหา เช่น มลั ตมิ ีเดีย แล้วน้ัน ผเู้ รยี นและ ผู้สอนก็อาจไม่เห็นความจำเป็นใด ๆ ท่ีจะต้องใช้ E - Learning การออกแบบ E - Learning ท่ีไม่ เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียน เช่น ผู้เรียนระดับอุดมศึกษาในบ้านเรา ซ่ึงส่วนใหญ่อยู่ในวัยรุ่น E - Learning จะต้องไดร้ ับการออกแบบตามหลักจติ วทิ ยาการศึกษา กลา่ วคอื จะต้องเน้นการออกแบบ ให้มีกิจกรรมการโตต้ อบอยู่ตลอดเวลา ไมว่ ่าจะเป็นกับเน้ือหาเอง กับผู้เรียนอื่น ๆ หรอื กบั ผสู้ อนก็ ตาม นอกจากน้ันแล้ว การออกแบบ การนำเสนอเนอื้ หาทางคอมพิวเตอร์ นอกจากจะต้องเน้นให้ เน้ือหามคี วามถูกต้องและชัดเจน ยังคงต้องเนน้ ให้มีความน่าสนใจ สามารถดึงดูดความสนใจของผู้เรียน ได้ ตัวอย่างเช่นการออกแบบการนำเสนอโดยใชม้ ัลติมีเดยี รวมท้งั การนำเสนอเน้ือหาในลักษณะ non- linear ซึ่งผู้เรยี นสามารถเลอื กทจ่ี ะเรียนเนอื้ หาใด กอ่ นหรอื หลงั ไดต้ ามความต้องการ จาก NECTEC'S WEB BASE LEARNING ได้กล่าวถึงข้อเสีย ของการเรียนการสอนแบบ E - Learning ว่าการจดั การเรยี นการสอนผ่านเวบ็ ควรคำนึงถงึ ประเดน็ ต่าง ๆ ต่อไปนี้ 6.2.1 ความพร้อมของอปุ กรณ์และระบบเครือขา่ ย เน่ืองดว้ ยการเรียนการสอนผ่านเว็บ เป็นการปรับเน้ือหาเดมิ สู่รูปแบบใหม่ จำเปน็ ต้องมี เครอ่ื งมอื อุปกรณ์ และระบบเครือข่ายท่ีพร้อมและสมบูรณ์ เพื่อให้ได้บทเรยี นดิจติ อลท่ีมคี ุณภาพ และ ทนั ตอ่ ความตอ้ งการเรียน ผู้เรียนสามารถเลอื กเวลาเรยี นไดท้ ุกชว่ งเวลาตามที่ต้องการ ซ่งึ ในประเทศไทย พบว่ามปี ญั หาในดา้ นนี้มาก โดยเฉพาะในเขตนอกเมอื งใหญ่ 6.2.2 ทักษะการใชค้ อมพวิ เตอร์และอนิ เทอรเ์ นต็ ผู้เรียนและผู้สอน ต้องมีความรู้และทักษะทั้งด้านคอมพิวเตอร์และเครือข่าย อนิ เทอร์เน็ตพอสมควร โดยเฉพาะผู้สอนจำเป็นต้องมีทักษะอื่น ๆ ประกอบเพ่ือสร้างเว็บไซต์การ สอนท่นี ่าสนใจใหก้ ับผ้เู รียน 6.2.3 ความพรอ้ มของผูเ้ รียน ผูเ้ รียนจะต้องมคี วามพร้อมท้ังทางจิตใจ และความรู้ คือ จะต้องยอมรบั ในเทคโนโลยี รูปแบบนี้ ยอมรับการเรียนด้วยตนเอง มีความกระตือรือร้น ตื่นตัว ใฝ่รู้ มีความรับผิดชอบ กล้าแสดง ความคิดเห็นและศึกษาความรู้ใหม่ๆ
26 6.2.4 ความพร้อมของผ้สู อน ผู้สอนจะต้องเปลี่ยนบทบาทจากผู้แนะนำมาเป็นผู้อำนวยความสะดวก ยึดผู้เรียนเป็น ศูนย์กลาง กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความอยากรู้อยากเห็น อยากเรียนรู้ กระตุ้นการทำกิจกรรม เตรียม เน้ือหาและแหล่งค้นคว้าที่มีคุณภาพรวมท้ังความพร้อมด้านการใช้คอมพิวเตอร์ การผลิตบทเรียน ออนไลน์ และการเผยแพร่บทเรยี นผา่ นเครอื ข่ายอินเทอรเ์ น็ต 6.2.5 เนื้อหา บทเรยี น เนื้อหาบทเรียนจะต้องเหมาะสมกับผู้เรียนให้มากกลุ่มทส่ี ุด มีหลากหลายให้ผเู้ รียนแต่ ละกลุ่มเลือกเรียนได้ด้วยตนเอง มีกิจกรรมวัตถุประสงค์ท่ีชัดเจน เลือกใช้สื่อการสอนที่เหมาะสม และ เหมาะสมกับความพร้อมของเทคโนโลยี การลำดับเน้ือหาไมซ่ ับซ้อน ไม่ก่อให้เกิดความสบั สน ระบแุ หล่ง ค้นควา้ อื่น ๆ ทีเ่ หมาะสม สรุปได้ว่า ขอ้ เสยี หรือข้อพึงระวังในการจดั การเรยี นการสอนแบบ E - Learning มดี ังน้ี 1) ไมส่ ามารถรับรู้ความรสู้ ึก ปฏิกริ ยิ าทีแ่ ท้จรงิ ของผูเ้ รยี นและผ้สู อน 2) ไม่สามารถส่ือความรูส้ กึ อารมณใ์ นการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งแท้จรงิ 3) ผู้เรยี น และผ้สู อน จะตอ้ งมีความพรอ้ มในการใชค้ อมพิวเตอร์และอนิ เทอร์เน็ต ทั้ง ดา้ นอุปกรณ์ ทักษะการใช้งาน 4) ผูเ้ รียนบางคน ไม่สามารถศึกษาดว้ ยตนเองได้ 7. เอกสารทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น 7.1 ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปราณี กองจินดา (2549) กล่าว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ความสามารถหรือ ผลสำเร็จท่ีได้รบั จากกิจกรรมการเรยี นการสอนเปน็ การเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมและประสบการณ์เรียนรู้ ทางด้านพุทธิพิสยั จิตพสิ ยั และทักษะพิสัย และยังไดจ้ ำแนกผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนไวต้ ามลกั ษณะของ วัตถปุ ระสงคข์ องการเรยี นการสอนท่แี ตกตา่ งกัน ประภัสสร วงษ์ศรี (2554) ได้ให้ความหมายผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น หมายถึง คุณลกั ษณะและ ความสามารถของบุคคล เกิดจากการเรียนการสอนเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและประสบการณ์ การเรียนรู้ที่เกิดจากการอบรม หรือจากการสอน การวัดผลสัมฤทธ์ิ เป็นการตรวจสอบระดับ ความสามารถของบคุ คลวา่ เรยี นแลว้ มคี วามรู้เทา่ ใด จากความหมายของผลลพั ธ์ทางการเรยี นทก่ี ล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสำเร็จและสมรรถภาพดา้ นต่างๆของผเู้ รียนที่ไดจ้ ากการเรียนรู้อันเป็นผลมาจากการเรียนการสอน
27 หรือผลสำเร็จท่ีได้รับจากกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมและประสบการณ์ เรียนรู้ทางดา้ นพุทธิพสิ ัย จิตพสิ ัย และทกั ษะพิสัย ซึ่งสามารถวดั ได้โดยการใชแ้ บบทดสอบ 7.2 ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบน้ันความจริงมีการแบ่งแตกต่างกันมากมาย ข้ึนอยู่ว่าจะใช้เกณฑ์อะไรในการแบ่ง ประเภท ส่วนแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเป็นการแบ่งตามจุดมุ่งหมายในการใช้ประโยชน์ เป็นเกณฑ์ โดยมีผกู้ ล่าวถงึ ความหมายของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นไว้ ดงั นี้ พรเพ็ญ ฤทธิลัน (2554) แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน หมายถงึ ชดุ ของคำถาม) ทม่ี ุ่ง วดั ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถภาพทางสมองด้านต่าง ๆ ของผู้เรียน ใชเ้ ปน็ เคร่อื งมือในการ ตรวจสอบระดับความรู้ความเข้าใจของกลุ่มเป้าหมาย อาจเป็นความรู้ท่ีมีอยู่แต่เดิม ความรู้ท่ีได้จาก ประสบการณ์ ความรู้ท่ีได้จากการฝึกอบรม หรอื เป็นความรู้ที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ ซึ่งแบบทดสอบที่ใช้ วดั ความรู้ความเขา้ ใจทีเ่ กิดจากการเรียนร้นู เี้ รียกวา่ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น บญุ ชม ศรีสะอาด (2532) อ้างถึงใน ปัทมา จารุรัตนวิบูลย์ (2552) ได้ให้ความหมายแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธวิ์ ่า หมายถึง แบบทดสอบที่วัดความรู้ความสามารถของบุคคล ในดา้ นวิชาการซึ่งเปน็ ผลจากการ เรียนรู้ในเน้ือหาสาระและตามจุดประสงคข์ องวิชาและเน้ือหาทสี่ อนน้ัน แบบทดสอบผลสัมฤทธทิ์ างการ เรยี นเป็นแบบทดสอบท่ีใช้วดั ความรู้ของนักเรียนท่ีเรยี นไปแล้วจริง ซึ่งมักจะเป็นคำถามให้นักเรียนตอบ ด้วยกระดาษและดินสอ กับให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริง ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนอาจรวมไปถึงการวัดการ เปลี่ยนแปลงทางพฤตกิ รรมของนักรเยนภายหลังจากการทีไ่ ด้รบั การเรยี นการสอน จากความหมายท่ีกล่าวมาท้ังหมดสรุปความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้ว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นแบบทดสอบท่ีใช้วัดความรู้ความสามารถและทักษะของ ผู้เรียนวา่ มีมากนอ้ ยเพยี งใดหลงั จากการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนขึน้ อยู่กบั ลักษณะของแบบทดสอบ ผลสัมฤทธิ์ทดี่ ดี ังนี้ 8. วจิ ยั ที่เกย่ี วข้อง สิทธิชัย พลายแดง (2557) บทเรียนออนไลน์ เร่ือง การสร้างเว็บไซต์ด้วยภาษา HTML โดยใช้ เทคนิค Problem Based Learning : PBL วิชา ง31201 คอมพิวเตอร์ (เพิ่มเติม) ระดับช้ันมัธยมศึกษา ปีที่ 4)มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) บทเรียนออนไลน์ เรื่อง การสร้างเว็บไซต์ด้วยภาษา HTML โดยใช้เทคนิค
28 Problem Based Learning : PBL วชิ า ง31201 คอมพวิ เตอร์ (เพิ่มเติม) ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ให้ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการเรียน ด้วยบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การสร้างเว็บไซต์ด้วยภาษา HTML โดยใช้เทคนิค Problem Based Learning : PBL วิชา ง31201 คอมพิวเตอร์ (เพ่ิมเติม) ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ3) เพ่ือศึกษา ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การสร้างเว็บไซต์ด้วยภาษา HTML โดยใช้เทคนิค Problem Based Learning : PBL วิชา ง31201 คอมพิวเตอร์ (เพิ่มเติม) ระดับช้ัน มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4ประชากรท่ใี ชใ้ นการศึกษา เป็นนักเรียนระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรยี นบา้ นแหลม วทิ ยา อำเภอบา้ นแหลม จังหวดั เพชรบุรี ปีการศึกษา 2558 จำนวน 2 หอ้ งเรียน รวมท้ังสิน้ 46 คนกลุ่ม ตัวอยา่ งทีใ่ ชใ้ นการศกึ ษาเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านแหลมวิทยา อำเภอบ้าน แหลม จังหวัดเพชรบุรี ปีการศึกษา 2558 ได้มาโดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง 1 ห้องเรียน จำนวน 24 คนเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) บทเรียนออนไลน์ เร่ือง การสร้างเว็บไซตด์ ้วยภาษา HTML โดยใช้เทคนิค Problem Based Learning : PBL วชิ าง31201 คอมพิวเตอร์ (เพิ่มเติม) ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 8 เร่ือง 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนแบบเลือกตอบชนิด 4 ตัวเลือก จำนวน 40 ข้อ 4) แบบประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน และ 5) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยเอกสารประกอบการเรียนสถิตทิ ี่ใช้ในการ วิเคราะห์ขอ้ มูล ไดแ้ ก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกตา่ ง โดยใช้ค่า ที(t – testแบบ dependent) ผลการศึกษาพบว่า 1.บทเรียนออนไลน์ เร่ือง การสร้างเว็บไซตด์ ้วยภาษา HTML โดยใช้เทคนิค Problem Based Learning : PBL วิชา ง31201 คอมพิวเตอร์ (เพ่ิมเติม) ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ท่ีผู้ศึกษาพัฒนาข้ึน มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 92.33/85.54 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ท่ีกำหนด คือ 80/80 แสดงว่าบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การสร้างเว็บไซต์ด้วยภาษา HTML โดยใช้เทคนิค Problem Based Learning : PBL วิชา ง 31201 คอมพิวเตอร์ (เพ่มิ เตมิ ) ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 มีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑท์ ีก่ ำหนดไว้ 2.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน บทเรียนออนไลน์ เรื่อง การสร้างเว็บไซต์ด้วยภาษา HTML โดยใช้ เทคนิค Problem Based Learning : PBL วิชา ง31201 คอมพิวเตอร์ (เพ่ิมเตมิ ) ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีท่ี 4 โรงเรียนบ้านแหลมวิทยา ที่เรยี นโดยใช้บทเรยี นออนไลน์ ก่อนเรียนและหลังเรยี น มคี วามแตกต่าง กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และคะแนนหลังเรียนมีค่าสูงกว่าคะแนนก่อนเรียน แสดงว่า บทเรยี นออนไลน์ เรอื่ ง การสรา้ งเว็บไซต์ด้วยภาษา HTML โดยใช้เทคนิค Problem Based Learning : PBL วิชา ง31201 คอมพิวเตอร์ (เพิ่มเติม) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิผล ซ่ึงช่วยให้ผู้เรียน เกดิ การเรยี นรู้ได้จรงิ
29 3.ความพึงพอใจของนักเรียน หลังใช้บทเรียนออนไลน์ เร่อื ง การสร้างเว็บไซตด์ ว้ ยภาษา HTML โดยใช้เทคนิค Problem Based Learning : PBL วิชา ง31201 คอมพิวเตอร์ (เพิ่มเติม) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 4 โดยภาพรวม นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.53) ซ่ึงประเด็นท่ี นักเรียนมีความพึงพอใจมากเป็นลำดับแรก คือ ด้านสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง( = 4.87) รองลงมา มี 3 ประเด็นท่ีเท่ากัน ได้แก่ 1) นักเรียนชอบเรียนด้วยวิธีสอนโดยใช้บทเรียนออนไลน์นี้ 2) นักเรยี นมีส่วนรว่ มในการทำกิจกรรมการเรยี นการสอน และ 3) นักเรยี นตอ้ งการเรียนดว้ ยวธิ สี อนนอ้ี กี ใน โอกาสตอ่ ๆ ไป ( = 4.83) ชนิดาพร พลนามอินทร์ (2558) การพัฒนาบทเรียนบทเรียนออนไลน์ เร่ือง เซลล์และ กระบวนการดำรงชีวิตของพืช มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนบทเรียนออนไลน์ เรอ่ื ง เซลล์และ กระบวนการดำรงชีวิตของพืช ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) หาค่าดัชนีประสิทธิผลของ บทเรียนออนไลน์ เร่ือง เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช 3) เปรยี บเทียบผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลังการเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ และ4) ศึกษาความพึง พอใจของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ตอ่ การเรยี นด้วยบทเรียนออนไลน์ เรื่องเซลล์และกระบวนการ ดำรงชีวิตของพืช โดยกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวจิ ัยครั้งน้ี คอื นักเรียน ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1/2 ภาคเรียน ที่ 1 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น สังกัดองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดขอนแก่น จำนวน 35 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) บทเรียนออนไลน์ เรื่อง เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของ พืช 2) แผนการจัดการเรียนรู้ที่จัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยออนไลน์ เร่ือง เซลล์และกระบวนการ ดำรงชวี ิตของพืช 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน และ 4) แบบสอบถามความพงึ พอใจท่ีมีต่อ การเรยี นรู้โดยใชบ้ ทเรียนออนไลน์ เรอื่ ง เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช เวลาทใ่ี ช้ในการทดลอง จำนวน 20 ชั่วโมง สถิติทใ่ี ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมูล ไดแ้ ก่ ร้อยละ คา่ เฉล่ีย สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบคา่ ที (t-test dependent)ผลการวิจยั พบว่า 1. ประสิทธิภาพบทเรียนออนไลน์ เรื่อง เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช สำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.88/82.08 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ 80/80 2. ค่าดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนออนไลน์ เร่ือง เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 มีค่าเท่ากับ 0.6512 แสดงว่าผู้เรียนมีความก้าวหน้าทางการเรียน เพมิ่ ขน้ึ ร้อยละ 65.12 3. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนหลังเรียนสงู กวา่ กอ่ นเรยี นอยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถติ ทิ ี่ระดบั .05
30 4. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ เร่ื อง เซลล์และ กระบวนการดำรงชวี ิตของพืช พบว่าโดยรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก โดยเรยี งลำดบั จากมากไป หาน้อยดังน้ี 1) ด้านการออกแบบการสอน 2) ด้านการเก็บบันทึกข้อมูลและการจัดการ 3) ด้านเน้ือหา บทเรียน และ 4) ด้านคำแนะนำในการใช้บทเรียน และเม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า มีความพึงพอใจ ในระดบั มากทีส่ ุด 3 ข้อ คอื บทเรียนชว่ ยแก้ปัญหาการเรยี นไม่ทันเพอ่ื นไดม้ ากทสี่ ดุ รองลงมา คอื ชว่ ยให้ นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ มากข้ึน และการใช้ภาพกราฟิกในบทเรียนมีความเหมาะสมตามลำดับ และมคี วามพงึ พอใจในระดบั มาก 17 ขอ้ นิกร ประวันตา (2558) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต รายวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี สำหรับนกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 การศึกษาน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ (1) พัฒนาบทเรียนออนไลน์ เร่ือง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และ อนิ เตอร์เน็ต รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ใหม้ ีประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 (2) ศึกษาดัชนีประสิทธิผล ของบทเรยี นออนไลน์ เร่ือง ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์และอนิ เตอรเ์ น็ต รายวิชา เทคโนโลยสี ารสนเทศ กลุม่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 (3) เปรยี บเทยี บ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต กอ่ นเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โดยใช้บทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียนช้ัน มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 และ (4) ศึกษาความพึงพอใจของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ทใ่ี ช้บทเรยี นออนไลน์ สำหรบั นักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 โดยมกี ลุ่มตัวอย่างเป็นนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนตะก่ัวป่า “เสนานุกูล” สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 14 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย (1) บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (2) แผนการจัดการเรียนรู้ (3) แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เร่ือง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และ อนิ เตอรเ์ น็ต และ (4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน และวิเคราะห์ข้อมลู ด้วยค่าสถิติพ้ืนฐาน ค่าเฉลย่ี ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติทดสอบทีแบบไม่อิสระ (dependent- samples t-test) ผลการศกึ ษาพบวา่ 1.บทเรียนออนไลน์ เร่ือง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต รายวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 มี ประสิทธิภาพเท่ากับ 87.13/86.01 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 แสดงว่า บทเรียนออนไลน์มี ประสิทธภิ าพเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานทก่ี ำหนด
31 2.นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ เร่ือง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 มีคะแนนหลังเรียนสูงขึ้นกว่าก่อนเรียนทุกคน โดยก่อนเรียน มีคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 19.53 คะแนน และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเทา่ กับ 3.03 และคะแนนเฉล่ีย หลังเรยี นมคี ่าเท่ากับ 34.07 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.42 และเม่ือนำคะแนนจากการทดสอบมาหาค่าดัชนี ประสิทธผิ ลมีคา่ เทา่ กับ 0.7100 ซง่ึ สงู กว่าเกณฑท์ ีก่ ำหนด 3.ผลการเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลงั เรยี นดว้ ยบทเรียน ออนไลน์ เรื่อง ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต รายวชิ า เทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 พบว่า คะแนนเฉล่ียหลัง เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .05 4.นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ที่พัฒนาข้ึนมคี วามพงึ พอใจโดยรวมในระดบั มาก ปรานิสา ทองอ่อน (2558) รายงานการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ LMS ด้วย Moodle เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวิชา ง21104 สำหรับนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 การพัฒนาคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) สร้างและหาประสิทธิภาพบทเรียน ออนไลน์ LMS ด้วย Moodle เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวิชา ง21104 สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80 / 80 2) เพอื่ เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวชิ า ง21104 ก่อนและหลัง การใช้บทเรยี นออนไลน์ LMS ด้วย Moodle เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ รายวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ2 รหัสวิชา ง21104 สำหรับนักเรยี นระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 3) เพ่ือศึกษาความพึง พอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนออนไลน์ LMS ด้วย Moodle เร่ือง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ รายวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ2 รหัสวชิ า ง21104 สำหรบั นักเรียนระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1เครือ่ งมือที่ ใช้ในการพัฒนาคร้ังน้ี ได้แก่ บทเรียนออนไลน์ LMS ด้วย Moodle เร่ือง หลักการทำงานของ คอมพิวเตอร์ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวิชา ง21104 สำหรบั นักเรียนระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 จำนวน 1 หน่วยการเรียนรู้ ประกอบด้วยเนื้อหา 5 เรื่อง ได้แก่ เร่ืองหน่วยรับเข้า เรื่องหน่วย ประมวลผลกลาง เรื่องหน่วยความจำหลัก เรอื่ งหน่วยความจำรอง และเร่ืองหน่วยส่งออก แบบทดสอบ ก่อนเรียน-หลังเรียน ท้ัง 5 เร่ือง เร่ืองละ 10 ข้อ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการ เรียนรู้ท่ี 3 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวิชา ง21104 จำนวน 40 ข้อ และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อบทเรียนออนไลน์ LMS ด้วย Moodle เรื่อง
32 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวิชา ง21104 สำหรับนักเรียน ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ผลการพัฒนาครั้งน้ี พบวา่ 1) บทเรยี นออนไลน์ LMS ดว้ ย Moodle เรื่อง หลักการทำงานของ คอมพิวเตอร์ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวิชา ง21104 รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัส วิชา ง21104 สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ที่สร้างข้ึนมีประสิทธิภาพ เท่ากับ 81.06 / 82.06 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวิชา ง 21104 รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวิชา ง21104 หลังการใช้บทเรียนออนไลน์ LMS ด้วย Moodle เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวิชา ง21104 รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวิชา ง21104 สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สูงกว่า ก่อนการใช้บทเรียนออนไลน์ LMS ด้วย Moodle เร่ือง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวิชา ง21104 รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวิชา ง21104 สำหรับ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และ 3) นักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 1 มีความพึงพอใจต่อบทเรียนออนไลน์ LMS ด้วย Moodle เรอ่ื ง หลักการทำงานของ คอมพิวเตอร์ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวิชา ง21104 รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัส วิชา ง21104 สำหรับนกั เรียนระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 อยูใ่ นระดบั พงึ พอใจมาก
บทที่ 3 วธิ ดี ำเนนิ การวิจยั การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการวิจัยเร่ืองการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ หน่วยการเรียนรู้ รู้จัก เทคโนโลยสี ารสนเทศ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 โดยขนั้ ตอนการวิจยั ประกอบด้วย 1. ประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง 5.1.1 ประชากรทใ่ี ช้ในการศึกษาคร้ังน้ี คอื นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี1 โรงเรียนสาธิต ละอออทุ ิศลำปาง จำนวน 41 คน 5.1.2 กลุ่มตัวอย่าง ท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ คือ นักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี1 /1 โรงเรียนสาธติ ละอออุทศิ ลำปาง จำนวน 25 คน โดยใช้วธิ กี ารสุ่มอยา่ งง่าย 2. แบบแผนที่ใช้ในการศกึ ษา ผู้วจิ ัยได้ใช้แบบแผนการทดลองแบบ one-group posttest only design (ดำรง ชำนาญรบ , 2559) ทดลอง ทดสอบหลงั X O2 X แทน การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ โดยใช้บทเรยี นออนไลนผ์ ่านเวบ็ ไซต์ O2 แทน การทดสอบหลังเรียนโดยใช้แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น 3. เครือ่ งมือทใี่ ช้ในการศึกษา 3.1 บทเรยี นออนไลน์ผา่ นเวบ็ ไซต์ หน่วยการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ 3.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเป็นแบบทดสอบท่ีผู้ศึกษาสร้างขึ้นซ่ึงเป็นข้อ ทดสอบแบบใหน้ กั เรียนปฏิบัตสิ ร้างชิ้นงาน จำนวน 1ข้อ
34 4. การรวบรวมขอ้ มูลในการวิจัย 4.1วิธีการรวบรวมข้อมูลในการวจิ ัย 4.1.1 คดั เลือกนักเรียนที่จะทำการวิจัย ครชู ี้แจงทำความเขา้ ใจและอธบิ ายสิ่งที่กำลังจะ ดำเนนิ กจิ กรรมใหน้ กั เรยี นทราบ 4.1.2 ผู้วิจัยดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านส่ือการเรียนออนไลน์ผ่าน เว็บไซต์ ทีไ่ ดส้ ร้างข้นึ จำนวน 1 เรอ่ื งโดยใช้เวลา 1 ช่วั โมง 4.1.3 วดั และประเมินผลโดยแบบทดสอบท้ายเรอื่ ง ที่ผวู้ จิ ัยสรา้ งข้ึน 4.1.4 บันทึกผลหลังการจัดกจิ รรม โดยผู้วิจยั เขยี นรายงาน และให้คะแนนผลงานของ นักเรียนท่ีทำขึ้นเพื่อหาประสิทธ์ิภาพของสื่อ โดยบันทึกข้อมูลลงในแบบประเมินผลงานของนักเรียน 4.1.5 เม่ือดำเนินกิจกรรมจนครบเสร็จสิ้น ผู้วิจัยได้ให้นักเรียนทำแบบทดสอบวัดผล สมั ฤทธิ์ทางการเรียน)โดยใช้เวลา 30 นาที 4.1.6 นำผลคะแนนท่ีได้จากการทำแบบทดสอบท้ายหน่วยวิเคราะห์และแปลผล ใน รปู แบบตารางและการบรรยาย และสรปุ ผล 4.2การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในการดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยอาศัย เครอื่ งมอื 3 ประเภท ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ดังนี้ 4.2.1 บทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ รายวิทยาการคำนวณ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 1 เร่ืองใช้เกบ็ ข้อมูลระหว่างการดำเนินกิจกรรมตง้ั แต่ต้นจนจบกระบวนการจัดกิจกรรมการเรยี น การสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ผา่ นเวบ็ ไซต์ 4.2.2 แบบทดสอบหลังเรียนแต่ละเรื่อง จะมีการทดสอบหลังเรียนเสร็จในแต่ละเรื่อง จำนวน 10 ขอ้ 4.2.3 แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น จะมีการทดสอบหลงั จากท่ีนักเรยี นเรียน แลว้ เสร็จทั้งหมด 1 เรื่อง จึงทำการทดสอบ จำนวน 1 ขอ้
35 5. การวิเคราะห์ข้อมลู และสถิตทิ ีใ่ ช้ในการวิจัย 5.2 หาค่าเฉลย่ี ( ฉัตรศริ ิ ปยิ ะพิมลสทิ ธ์ิ,2548 ) X = X N X = คา่ เฉลี่ยของคะแนน X = ผลรวมของคะแนน N = จำนวน 5.3 สถติ ิ t-test (ฉตั รศิริ ปยิ พมิ ลสิทธ์ิ ม, 2548) ดงั น้ี ������̅ − µ ������ = ������ √������ t แทน คะแนน t-test ������̅ แทน ค่าเฉลยี่ คะแนนของกลุม่ ตัวอย่าง µ แทน เกณฑร์ อ้ ยละ 80 ของคะแนนเต็ม 10 (คิดเป็น 8 คะแนน) s แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานคะแนนของกลุ่มตัวอยา่ ง n แทน ขนาดของกลุ่มตัวอยา่ ง
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู การศึกษาคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ท่ีเร่ือง “การเรียนรู้ วิทยาการคำนวณดว้ ยบทเรียนออนไลน์ผา่ นเว็บไซต์ CODE.ORG ของนกั เรยี นระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนสาธติ ละอออทุ ิศลำปาง เทียบเกณฑ์ร้อยล่ะ 80 ซง่ึ ผู้ศกึ ษาไดน้ ำผลการวิจยั ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เทียบเกณฑ์ร้อยล่ะ 80 เรื่อง “การเรียนรู้วิทยาการ คำนวณด้วยบทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ CODE.ORG ของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนสาธิตละอออุทิศลำปาง สัญลักษณ์ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู การวิเคราะห์ข้อมูล ผูศ้ กึ ษาได้กำหนดความหมายของสัญลกั ษณ์ตา่ ง ๆ ดงั นี้ ������̅ แทน ค่าคะแนนเฉล่ยี S.D. แทน คา่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ E2 แทน ประสทิ ธภิ าพของผลลัพธ์ t แทน คา่ ผลตา่ งระหวา่ งคคู่ ะแนน N แทน จำนวนนักเรยี นในกล่มุ ตวั อยา่ ง ตารางท่ี 1 แสดงผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนเทียบเกณฑ์ รอ้ ยล่ะ 80 ดว้ ยสื่อบทเรียนออนไลน์ผ่านเวบ็ ไซต์ วิชาคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนรู้ paint 3d นักเรียน ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 กรปุ๊ A คะแนนเตม็ ของ จำนวน ค่าเฉลี่ย ส่วนเบยี่ งเบน เกณฑร์ อ้ ยล่ะที่ t-test แบบทดสอบหลัง นกั เรียน มาตรฐาน กำหนด เรียน 16.25 1.52 (ร้อยละ่ 80) 20 25 16 0.58 t(0.05,16)=1.75 *มนี ยั สำคัญทางสถติ ริ ะดบั 0.05
42 ตารางท่ี 4 พบว่านักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1/1 โรงเรียนสาธิตละอออุทิศลำปาง ที่เรียน ด้วยเร่ือง “การเรียนรูว้ ิทยาการคำนวณด้วยบทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ CODE.ORG จำนวน 25 คน มคี ะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 16.25 คิดเป็นรอ้ ยล่ะ 87.5 เม่อื นำมาเปรียบเทียบกบั เกณฑ์ ท่ีกำหนด พบวา่ นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนหลงั เรยี นสูงกวา่ เกณฑ์อยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถติ ริ ะดับ 0.5
บทท่ี 5 สรุป อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ เรอื่ ง “การเรียนรวู้ ทิ ยาการคำนวณด้วยบทเรยี นออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ CODE.ORG ของนกั เรยี น ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 1ฝ โรงเรียนสาธิตละอออุทศิ ลำปาง มีวตั ถุประสงค์เพื่อ 1) ศกึ ษาผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรยี น ทเี่ รียนดว้ ยบทเรยี นออนไลน์ผ่านเวบ็ ไซต์ วิชาวทิ ยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1/1 โรงเรียนสาธิตลอออุทศิ ลำปาง เทียบเกณฑ์ร้อยละ่ 80 แบบแผนที่ใชใ้ นงานวิจยั ผู้วิจยั ไดใ้ ช้แบบแผนการทดลองแบบ one-group posttest only design มกี ารทดสอบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นหลงั เรยี น เน้ือหาที่ใช้เป็นวิชาวิทยาการคำนวณ สำหรับ นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาท่ี 1 เคร่อื งมือทีใ่ ช้มี 2 ประเภท คอื 1) บทเรียนออนไลน์ผา่ นเวบ็ ไซต์ CODE.ORG ของนักเรยี นระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 2) แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนเป็น แบบทดสอบท่ีผูศ้ กึ ษาสร้างขน้ึ ซง่ึ เปน็ ข้อทดสอบแบบลงมอื ปฏิบตั ิจำนวน 1ขอ้ ผ้ศู กึ ษาไดน้ ำบทเรยี น ออนไลน์ผา่ นเวบ็ ไซต์ ไปใชจ้ รงิ กบั นกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1/1 โรงเรยี นสาธติ ละอออทุ ิศลำปาง ในภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2562 รวมทง้ั สิ้นจำนวน 25 คน คน โดยในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ผู้ศึกษา เปน็ ผูด้ ำเนนิ การเอง เร่มิ การทดลองใชส้ ่ือบทเรียนออนไลน์ผา่ นเว็บไซต์ โดยดำเนนิ กจิ กรรมกาเรยี นรู้ ตามแผนการสอนทไี่ ด้สร้างข้ึน หลังจากการจดั กิจกรรมเสรจ็ แลว้ จงึ ให้กลมุ่ ตัวอยา่ งทำแบบทดสอบ วดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล คือ สถิตพิ นื้ ฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบ่ยี งเบนมาตรฐาน หาประสิทธิภาพของสอ่ื และ สถิติ T-test ซ่งึ ผศู้ กึ ษาได้นำเสนอสรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ตามลำดับดังน้ี สรุปผลการศึกษา จากการศึกษาและนำบทเรียนออนไลน์ผา่ นเว็บไซต์ หน่วยการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ paint 3d ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ไปใช้ปรากฏผล ดงั นี้ 1. นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1/1 ท่ีเรยี นด้วยบทเรยี นออนไลน์ผา่ นเว็บไซต์ CODE.ORG มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นสงู กวา่ เกณฑ์รอ้ ยละ่ 80 อภิปรายผลการศกึ ษา ในการเรียนรู้วทิ ยาการคำนวณด้วยบทเรยี นออนไลน์ผา่ นเวบ็ ไซต์ CODE.ORG ของนกั เรยี น ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรยี นสาธติ ละอออทุ ศิ ลำปาง ผู้ศกึ ษาได้อภิปรายผลการศกึ ษาไว้ดงั นี้
46 1.การวเิ คราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนหลังเรยี นเทียบเกณฑ์ร้อยละ่ 80ของนักเรยี นชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1/1 จากการเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ CODE.ORG ของนักเรียน ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนสาธติ ละอออทุ ิศลำปาง ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี /1 หลังจากท่ีเรียนด้วยบทเรียน ออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ CODE.ORG ของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรยี นสาธิตละอออุทิศ ลำปาง มีค่าเฉลย่ี เทา่ กับ 16.25 คิดเป็นร้อยล่ะ 87.5 ซึ่งสูงกว่าสมมติฐานที่ตงั้ ไว้คอื ร้อยละ่ 80 ท้ังนเ้ี ป็น เพราะบทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ CODE>ORG ได้ผา่ นการดำเนินการอย่างเป็นระบบหลายขั้นตอนมี ประสิทธิภาพและประสิทธิภาพตามเกณฑ์ท่ีกำหนด และเป็นสื่อการเรียนการสอนที่ดึงดูดความสนใจ ของผู้เรียน จงึ ทำใหผ้ ูเ้ รยี นเกดิ การเรียนรูอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ยุวดี วงษ์กันยา (2558) รายงานการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ (E-Learning) เร่ือง การใช้ โปรแกรม Microsoft การศึกษาครั้งน้ีมีจุดมุ่งหมายเพ่ือ 1) เพ่ือพัฒนาบทเรียนออนไลน์ (E-Learning) เรื่อง การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2010 รายวิชา ง 22102 เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 กลุ่มสาระ การเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีมีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ 80/80 2) เพอ่ื ศึกษาดัชนีประสิทธผิ ลของบทเรียนออนไลน์ (E-Learning) เรื่อง การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2010 สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ที่พัฒนาขึ้น 3) เพื่อเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรียนระหว่างก่อนเรียนกับหลงั เรยี นดว้ ยบทเรียนออนไลน์ (E-Learning) เร่อื ง การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2010 สำหรบั นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 และ 4) เพื่อศึกษา ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ (E-Learning) เรื่อง การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2010 สำหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 กลมุ่ ตัวอย่างคือ นักเรยี น ชั้นมธั ยมศึกษา ปีที่ 2/2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2558 โรงเรียนหนองหานวิทยา อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 จำนวนนักเรียน 36 คน ได้มาโดยการเลือกสุ่มแบบ กลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือท่ีใช้ในการศึกษา ได้แก่ 1) บทเรียนออนไลน์ (E- Learning) เร่ือง การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2010 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 6 บทเรียน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ (E-Learning) เร่ือง การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2010 กลุ่ม สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2) แผนการจัดการ เรียนรู้ เร่ือง การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2010 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 6 แผนการเรียนรแู้ ละ 4) แบบสอบถามความ พึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนจากบทเรียนออนไลน์ (E-Learning) เรื่อง การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2010 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 2 สถิติท่ีใช้ในการวเิ คราะห์ข้อมลู โดยใช้ คา่ ความยาก ค่าอำนาจจำแนก ค่าความเชื่อมั่น ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ดัชนีประสิทธิผลการเรียนรู้เกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2 และ
47 การทดสอบที (t–test แบบ Dependent Samples) ผลการศึกษาพบว่า1) บทเรียนออนไลน์ (E- Learning) เรื่อง การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2010 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 มปี ระสิทธิภาพ 82.13/86.02 2) ดชั นีประสทิ ธผิ ลการ เรียนรูข้ องนักเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ (E-Learning) เร่ือง การใชโ้ ปรแกรม Microsoft Excel 2010 กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรบั นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 คดิ เป็นร้อยละ 67.73 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ (E-Learning) เรื่อง การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2010 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียน ชั้น มัธยมศึกษาปที ี่ 2 หลงั เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิท่รี ะดับ .05 4) นักเรยี นมีความพึง พอใจต่อการเรียนจากบทเรียนออนไลน์ (E-Learning) เรื่อง การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2010 กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรบั นักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 อย่ใู นระดบั มาก ท่สี ุด ( = 4.56) ขอ้ เสนอแนะทั่วไป 1. สอื่ บทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ มีความหลากหลายผู้วิจยั ควรศกึ ษาบทเรยี นให้มากกกว่านี้ ขอ้ เสนอแนะในการศกึ ษาครง้ั ต่อไป 1.ควรจัดเป็นศนู ย์การเรียนรทู้ างอนิ เทอรเ์ น็ตพฒั นาสือ่ การเรียนหลากหลายออกเผยแพรแ่ ละ แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ ของผูเ้ รียน
48 บรรณาณกุ รม กนิษฐ์กานต์ ปันแก้ว. (2556). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรตู้ ามแนวคอนตรัคตวิ สิ ม์ แหลง่ ทม่ี า : อัดสำเนา. (สบื ค้นวันที่ 1 ธนั วาคม 2559). กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). โครงสร้างหลักสูตรสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี. แหลง่ ท่ีมา : กระทรวงฯ. (สบื คน้ วันท่ี 1 ธนั วาคม 2559). กดิ านันท์ มลิทอง. (2543). เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. พิมพค์ รัง้ ท่ี 2. แหล่งท่มี า : อรณุ การพมิ พ์. (สืบค้นวันที่ 1 ธนั วาคม 2559). คณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ,สำนักงาน. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542. กรุงเทพ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ. (สบื ค้นวนั ที่ 1 ธนั วาคม 2559). จุฑาสกนภ์ บุญนำ. (2555). ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน. (ออนไลน์). /// /แหล่งท่ีมา : https://www.gotoknow.org/posts/504767. (สบื คน้ วนั ท่ี 1 ธันวาคม 2559). จินตวรี ์ คลา้ ยสงั ข์. (2554). หลักการออกแบบเว็บไซตท์ างการศกึ ษา:ทฤษฎีสกู่ ารปฏิบัติ โครงการมหาวทิ ยาลยั ไซเบอร์ไทย. (พิมพ์ครง้ั ท่ี 1). กรงุ เทพ : สยามพรน้ิ ท์. ชนิดาพร พลนามอนิ ทร์. (2558). การพัฒนาบทเรยี นบทเรยี นออนไลน์ เร่อื ง เซลลแ์ ละกระบวนการ ดำรงชีวิตของพืช. แหล่งท่ีมา : http://www.kroobannok.com. (สืบค้นวันที่ 1 ธันวาคม 2559). ดรรชนีย์ จนั ทร์ถอด. (2557). การพัฒนาบทเรยี นออนไลน์ เรอ่ื งการใช้โปรแกรมนำเสนอ Microsoft PowerPoint 2007. แหล่งท่ีมา : http://www.kroobannok.com. (สืบค้นวันที่ 1 ธันวาคม 2559). ถนอมพร เลาหจรสั แสง. (2541). คอมพิวเตอร์. พมิ พ์คร้งั ที่ 3. กรงุ เทพฯ : ภาควิชาโสตทศั น ///////ศึกษาคณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. ทนงศักด์ิ เพชรอาวุธ. (2558). การพฒั นาบทเรียนออนไลนก์ ารออกแบบผลิตภัณฑด์ ว้ ยโปรแกรม Pro/DESKTOP. แหล่งที่มา : http://www.kroobannok.com. (สืบค้นวันที่ 1 ธันวาคม 2559). นิกร ประวันตา. (2558). ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอรแ์ ละอินเตอร์เน็ต. (ออนไลน์). แหลง่ ทีม่ า : http://www.kroobannok.com. (สบื ค้นวนั ท่ี 1 ธันวาคม 2559).
49 บุญชม ศรสี ะอาด. (2532). การวจิ ัยเบอื งต้น. กรงุ เทพฯ : บรษิ ัท สวุ ีรยิ าสาสน จํากัด (สืบคน้ วนั ที่ 1 ธนั วาคม 2559). ประภัสรา โคตะขุน. (2555). ประเภทของสอื่ การเรียนการสอนออนไลนด์ ว้ ยเวบ็ ไซด์. แหลง่ ท่มี า : https://sites.google.com/site/prapasara. (สืบคน้ วันที่ 1 ธนั วาคม 2559). ประภัสสร วงษศ์ รี. ( 2541). การรับรู้อตั สมรรถนะ ความภาคภูมใิ จในตนเองกับผลสมั ฤทธิ์ทางการ ///////เรียนของนกั เรยี นศึกษาพยาบาล วทิ ยาลยั พยาบาลศรีมหาสารคาม. วิทยานิพนธก์ ารศึกษา ///////มหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. (สืบค้นวันท่ี 1 ธนั วาคม 2559). ปัทมา จารุรัตนวิบูลย์. (2552). แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.thapra.lib.su.ac.th. (สืบคน้ วนั ที่ 1 ธันวาคม 2559). ปทั มา นพรตั น์. (2548). ความหมายของ E-lerning. (ออนไลน์). แหลง่ ท่มี า : http://www.snc.lib.su.ac.th/serindex/dublin.php?ID=13399444863 ปราณี กองจนิ ดา. ( 2551 ). ความหมายของผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น. (ออนไลน)์ . แหล่งทม่ี า : http:// www.nana-bio.com. (สบื ค้นวันท่ี 1 ธันวาคม 2559). ปรานสิ า ทองอ่อน. (2558). การพัฒนาบทเรยี นออนไลน์ LMS ด้วย Moodle เรอ่ื ง หลักการทำงาน ของคอมพวิ เตอร์. (ออนไลน)์ . แหลง่ ที่มา : http://www.kroobannok.com. พรเพ็ญ ฤทธิลัน. (2554). แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน. (ออนไลน์). แหลง่ ทม่ี า : http:// pornpenrit.blogspot.com/2011/06/blog-post.html (สบื ค้นวนั ท่ี 1 ธนั วาคม 2559). ไมตรี พงศาปาน. (2553). ความหมายของความพึงพอใจ. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://mai ///////tree3.blogspot.com/. (สบื คน้ วันท่ี 1 ธนั วาคม 2559). ยวุ ดี วงษ์กันยา. (2558). รายงานการพฒั นาบทเรียนออนไลน์ (E-Learning). แหล่งทม่ี า : http://www.kroobannok.com. (สืบค้นวนั ที่ 1 ธนั วาคม 2559). ศิรชิ ัย กาญจนวาสี. (2555). สถิติประยุกตส์ ำหรบั การวิจัย. พมิ พค์ รัง้ ที่ 6. กรงุ เทพ : โรงพมิ พแ์ ห่ง ///////จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . สายสวาท ปั้นแก้ว. (2553). ทฤษฏีคอมสตรัคติวิสต์. (ออนไลน์). แหล่งท่ีมา : http://phankaew. ///////blogspot.com/p/blog-page_8267.html. (สืบค้นวนั ท่ี 1 ธนั วาคม 2559).
50 สิทธชิ ยั พลายแดง. (2557). บทเรียนออนไลน์ เรอื่ ง การสร้างเวบ็ ไซตด์ ว้ ยภาษา HTML โดยใช้ เทคนคิ Problem Based Learning. แหลง่ ท่ีมา : http://www.kroobannok.com. (สบื คน้ วนั ท่ี 1 ธนั วาคม 2559). สมุ าลี ชัยเจริญ. (2551). ทฤษฏีคอมสตรัคตวิ ิสต์. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://phankaew. ///////blogspot.com/p/blog-page_8267.html. (สืบคน้ วันท่ี 1 ธันวาคม 2559). สมนกึ ภัททยิ ธน.ี (2553). ลักษณะของแบบทดสอบที่ดี. (ออนไลน)์ . แหลง่ ท่ีมา : http://www.ed u.nu.ac.th/selfaccess/researches/2admin/upload/799290812100913is.pdf. (สืบค้นวนั ท่ี 1 ธนั วาคม 2559). อนุชา โสมาบุตร. (2556). ทฤษฏคี อมสตรคั ติวิสต์. (ออนไลน์). แหลง่ ท่มี า : https://teacherweek ///////ly.wordpress.com/2013/09/25/constructivisttheory. (สบื คน้ วันที่ 1 ธันวาคม 2559). อภิชาติ อนุกลู เวช. (2553). ADDIE model. (ออนไลน์). แหลง่ ทีม่ า : http://www.chontech.ac. ///////th/~abhichat/1/index.php?option=com_content&task=view&id=40. (สบื คน้ วนั ที่ 1 ธันวาคม 2559). Panyar. (2555). ความหมายความพึงพอใจ. (ออนไลน)์ . แหล่งท่ีมา : https://www.gotokno w.org/posts/492000. (สบื ค้นวันที่ 1 ธนั วาคม 2559). Panyar. (2555). ทฤษฎที เี่ กย่ี วกบั ความพงึ พอใจ. (ออนไลน์).แหลง่ ท่ีมา : https://www.gotok now.org. (สืบคน้ วันที่ 1 ธนั วาคม 2559). Problem Based Learning. แหล่งทีม่ า : http://www.kroobannok.com. (สืบคน้ วนั ท่ี 1 ธนั วาคม 2559).
ภาคผนวก ก - ผลการวิเคราะห์ผลต่างของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเทียบกบั เกณฑ์ ของนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1/1
55 ผลการวเิ คราะห์ผลต่างของคะแนนผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนเทยี บกับเกณฑ์ ของนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษา ปที ี่ 1/1 ตารางท่ี 5 แสดงผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเทียบเกณฑ์ร้อยล่ะ 80 ดว้ ยสอ่ื บทเรยี นออนไลนผ์ า่ นเว็บไซต์ CODE.ORG ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1/1 จำนวน 25 คน คะแนนผลสมั ฤทธิ์ ผลการประเมิน เลขท่ี ทางการเรยี น เทยี บกับเกณฑ์ ผา่ น ไม่ผา่ น (20 คะแนน) ร้อยล่ะ 80 ✓ ✓ 1 12 16 ✓ 2 16 16 ✓ ✓ 3 13 16 ✓ ✓ 4 17 16 ✓ ✓ 5 17 16 ✓ ✓ 6 16 16 ✓ ✓ 7 17 16 ✓ ✓ 8 17 16 ✓ ✓ 9 17 16 10 17 16 11 17 16 12 17 16 13 17 16 14 16 16 15 17 16 16 16 16 17 16 16
Search