Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ee94327ac72376152bba453934e18d33

ee94327ac72376152bba453934e18d33

Description: ee94327ac72376152bba453934e18d33

Search

Read the Text Version

ศลิ ปวฒั นธรรม 10 ประเทศอาเซยี น โดย ศูนย์อาเซยี นศกึ ษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ชั้น 4 อาคารพิมล กลกจิ 123 หมู่ 16 ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดขอนแกน่ 42000 โทร. 043-009700 ตอ่ 44751, 45952 โทรศพั ท์(มอื ถอื ) 081-751-3771

1. ประเทศกัมพชู า ประเทศกมั พูชาเป็นประเทศที่มปี ระวตั ิศาสตร์อันยาวนาน วัฒนธรรมประเพณจี ึงมีความเกี่ยวขอ้ ง กบั ประวตั ิศาสตร์ ความเชอื่ และวิถี ชีวติ ของคนในประเทศ ศิลปวฒั นธรรม ทเี่ ป็นเอกลักษณ์ ได้แก่ * ระบาอัปสรา (Apsara Dance) เปน็ การแสดงนาฏศลิ ปท์ ่โี ดดเด่นของกัมพูชา ซ่งึ ถอดแบบการ แตง่ กายและทา่ ร่ายรามาจากภาพ จาหลกั รูปนางอัปสรทีป่ ราสาทนครวัด นางอปั สราตัวเอกองค์แรก คอื เจา้ หญิงบุพผาเทวี พระราชธดิ าในเจา้ สหี นุ เปน็ ระบาทก่ี าเนดิ ขึ้น เพ่ือ เข้าฉากภาพยนตร์เก่ียวกับนครวัดที่กากบั โดย Marchel Camus ชือ่ เปน็ ภาษาฝรง่ั เศสว่า L\"Oiseau du Paradis ก็คอื The Bird of Paradise หลังจากนั้น ระบาอปั สรา กเ็ ป็นระบาขวญั ใจชาวกมั พูชา ใครได้ เปน็ ตวั เอกในระบาอปั สราน้นั เชอ่ื ได้วา่ เปน็ ตัวนางชน้ั ยอดแห่งยคุ สมยั นครวดั เปน็ อดุ มคติแห่งชาตกิ มั พูชา นางอปั สราในนครวดั กเ็ ป็นอดุ มคติแหง่ สตรเี ขมร ดงั น้ันการชบุ ชวี ิตนางอัปสรา ออกมาเปน็ ระบาระดบั ชาตนิ นั้ มีความหมายในเชงิ ชาติพนั ธน์ุ ยิ ม เพอ่ื ให้เขา้ ถึงสญั ลักษณ์สงู สุดแห่งสตรีแขมร์ ระบาอปั สรามีชอื่ เสยี ง ขน้ึ มาด้วยการอิงบนความยง่ิ ใหญ่ของนครวดั และระบาอัปสราก็จาลองภาพสลกั ทแ่ี นน่ ่งิ ไร้ความ เคล่ือนไหวในนครวดั ให้หลดุ ออกมามี ชวี ติ ดอกไม้เหนือเศยี รนางอปั สราส่วน ใหญ่ในปราสาทนครวัดคอื ดอกฉัตร พระอนิ ทร์ เน่อื งจากรปู ทรงของดอกชนิดนี้พอ้ งกันกบั ภาพ สลกั เขมรเรยี กดอกไมช้ นิดน้ี วา่ \"ดอกเสนยี ดสก\" เสนียด คือสิ่งทเี่ อามาเสียด และสก คอื ผม ชื่อของดอกไมบ้ ง่ บอกว่าเป็นดอกสาหรบั เสียดผม เข้าใจว่าสมยั โบราณสตรีชั้นสูง ของเขมรคงประดบั ศรี ษะด้วยดอกไม้หลายชนิด หนึ่งในนนั้ คือดอกฉตั รพระอินทร์ ดงั หลักฐาน ภาพสลกั นางอัปสรา ท่พี บ ในปราสาทหินขอม ซ่งึ เปน็ แรงบนั ดาลใจของช่างสลักจากท่ีได้เห็นของจริง * เทศกาลน้า (Water festival) หรอื “บอน อม ตุก” (Bon Om Tuk) เทศกาลประจาปที ่ยี งิ่ ใหญข่ องกมั พูชา จัดขน้ึ ในเดือน พฤศจิกายนเพ่อื เปน็ การแสดงความสานกึ ในพระคุณของ แมน่ ้าท่ีนาความอุดมสมบรู ณ์ มาให้ โดยจะมีการแข่งเรือยาว แสดงพลุดอกไม้ ไฟ การ แสดงขบวนเรอื ประดับไฟ เและขบวนพาเหรด บริเวณทะเลสาบ \"โตนเลสาบ\" ทจ่ี ดั ขน้ึ ทุกปีตง้ั แต่ วันขึ้น 14 คา่ 15 ค่า จนถึง แรม 1 คา่ เดือนพฤศจกิ ายน ซง่ึ ทางการกมั พูชา ประกาศให้เปน็ วนั หยดุ 3 วนั เพราะนา้ ในแม่นา้ โขงเมื่อขน้ึ สงู จะไหลไปทที่ ะเลสาบ เน่อื งจากในชว่ งปลาย ฤดฝู นในเดอื นพฤศจิกายน น้าในทะลสาบลดตา่ ลง ทาใหน้ ้าไหลลง กลับสู่ลานา้ โขงอีกครัง้ ชาวกัมพชู าจะรว่ มกนั ลอยทุน่ ทป่ี ระดบั ดว้ ยดวงไฟ ไปตาม แม่น้าโขง ขณะที่การแข่งเรอื เปน็ การราลึก ถึงเหตกุ ารณ์ในประวตั ศิ าสตรส์ มัยพระเจ้า ชัยวรมันที่ 7 ชว่ งศตวรรษที่ 12 ในยุคเมอื งพระนคร อาณาจกั รเขมรทกี่ าลังรงุ่ เรอื งมีชยั เหนอื อาณาจักรจาม ในการสู้รบ ทางเรอื

2. ประเทศบรไู น บรไู นมีความสมั พันธใ์ กล้ชิดกบั มาเลเซยี และอินโดนีเซียมาก มีวฒั นธรรม ประเพณี ภาษา และการ แต่งกาย ทคี่ ล้ายคลงึ กนั รวมทั้งยังมีวัฒนธรรมท่ไี ดร้ ับอทิ ธิพลจากศาสนาอิสลามดว้ ย เชน่ สตรีชาวบรไู น จะแตง่ กายมดิ ชิด นุ่งกระโปรงยาว เสอ้ื แขนยาว และมีผ้าโพกศรี ษะ คนต่างชาติ จึงไม่ควรนงุ่ กระโปรงสัน้ และใส่เส้อื ไม่มแี ขน ควรหลกี เล่ียงเส้ือผ้าสีเหลอื ง เพราะถือเป็นสีของพระมหากษัตรยิ ์ การทักทาย จะจบั มอื กันเบาๆ และสตรีจะไม่ ยืน่ มือให้บุรุษจบั การช้นี ิ้วไปทคี่ นหรอื ส่งิ ของถือว่าไม่สุภาพ แต่จะใช้หัวแมม่ อื ชี้ แทน และจะไม่ใช้มือซ้ายในการสง่ ของใหผ้ ู้อื่น สตรเี วลานง่ั จะไมใ่ หเ้ ทา้ ชี้ไปทางผชู้ าย และไม่ส่งเสยี งหรอื หวั เราะดงั การรบั ประทานอาหารร่วมกับชาวบรไู น โดยเฉพาะคเู่ จรจาทเี่ ปน็ ชาวมุสลมิ ควรระมัดระวงั การสงั่ อาหารท่ีเปน็ เน้ือหมูและเครอ่ื งดม่ื ที่มีแอลกอฮอล์ เนอ่ื งจากผิดหลกั ปฏบิ ตั ิของศาสนาอสิ ลาม ไมร่ ับประทาน เนอื้ หมู และถอื เปน็ กฏทปี่ ฏบิ ัติกนั อยา่ งเครง่ ครดั ในการห้ามดมื่ สรุ า อาจขอให้ คู่เจรจาชาวบรูไนชว่ ยเลือก รา้ นอาหาร ทง้ั นบ้ี รูไนไม่มวี ัฒนธรรมการใหท้ ปิ ในรา้ นอาหาร ในกรณที ่ีเปน็ ร้านอาหารขนาดใหญจ่ ะมกี าร เก็บคา่ บริการเพม่ิ ร้อยละ 10 อยู่แล้ว

3. ประเทศฟิลปิ ปินส์ วฒั นธรรมของฟลิ ิปปนิ ส์เปน็ วฒั นธรรมผสมผสานกนั ระหว่างตะวันตกและตะวนั ออก ซึ่งสว่ นใหญจ่ ะไดร้ ับ อิทธิพลจาก สเปน จนี และอเมรกิ นั ฟิลปิ ปนิ ส์มเี ทศกาลที่สาคัญ ได้แก่ 1. อาติหาน (Ati-Atihan) จัดข้ึนเพือ่ ราลกึ และแสดงความเคารพตอ่ “เอตาส (Aetas)” ชนเผา่ แรกทมี่ าต้งั รกรากอยู่บนเกาะ แห่งหน่งึ ใน ฟลิ ิปปินส์ และราลกึ ถึงพระเยซูครสิ ตใ์ นวัยเด็ก โดยจะแต่งตวั เลยี นแบบ *เทศกาลอาติชนเผา่ เอตาส แลว้ ออกมาราร่นื เริงบนทอ้ งถนนในเมอื งคาลิบู (Kalibu) 2. เทศกาลซินูลอ็ ก (Sinulog) งานนี้จะจดั ข้นึ ในวนั อาทติ ย์ท่ี 3 ของเดือน มกราคมทกุ ปี เป็นงานท่ีจัดขนึ้ เพอ่ื ราลกึ ถงึ นกั บญุ ซานโต นินอย (Santo Nino)โดยจะจดั แสดงดนตรีและ มีขบวนพาเหรดแฟนซี ทวั่ เมือง เซบู (Cebu) 3. เทศกาลดนิ าญัง (Dinayang) งานนจ้ี ัดขึ้นเพอ่ื ราลึกถึงนกั บุญซานโต นนิ อย (Santo Nino) เช่นเดียวกับเทศกาลซนิ ลู อ็ ก แต่จะ จดั ขึ้นในสปั ดาหท์ ่ี 4 ของเดือนมกราคม ท่เี มอื ง อิโลอิโย (Iloilo)

4. ประเทศพมา่ ศลิ ปวฒั นธรรมและประเพณีของพมา่ เน่อื งจากได้รบั อิทธิพลจากจีน อินเดยี และไทยมานาน จงึ มีการผสาน วฒั นธรรมเหล่านี้เขา้ กับวัฒนธรรมของ ตนจนเป็นเอกลักษณ์ นอกจากนีย้ ัง ได้รับอิทธพิ ลจากพทุ ธศาสนา จึงเกิดประเพณีสาคญั เช่น * ประเพณปี อยส่างลอง (Poy Sang Long) หรอื งานบวชลกู แก้ว เป็น งานบวชเณรทส่ี บื ทอดกนั มานาน และ ชาวเมยี นมารใ์ หค้ วามสาคญั มาก เพราะ ถอื เป็นบญุ อนั ยง่ิ ใหญข่ องครอบครัว * งานไหวพ้ ทุ ธเจดยี ์ประจาปี ซึ่งแตล่ ะท่ีมักนิยมจัดในเดอื นหลังออก พรรษาถือเป็นงานเฉลมิ ฉลองท่ีสนุกสนาน และไดท้ าบุญสร้างกุศลดว้ ย

5. ประเทศเวียดนาม ศิลปวฒั นธรรมและประเพณีของเวยี ดนาม ศิลปวัฒนธรรมส่วนใหญ่ของเวียดนามจะได้รับอิทธิพลจากจีนและฝร่ังเศส เวียดนามมีเทศกาลที่ สาคญั ไดแ้ ก่ * เทศกาลเต็ด (Tet) หรอื “เต็ดเหวียนดาน (Tet Nguyen Dan)” หมายถึง เทศกาลแห่งรุ่งอรุณ แรกของปี ถือเป็น เทศกาลทางศาสนาท่ีสาคัญที่สุดดขึ้นในช่วงปลายเดือนมกราคมถึงต้นเดือนกุมภาพันธ์ เปน็ การเฉลมิ ฉลองความเชอ่ื ในเทพเจ้า ลัทธเิ ต๋า ขงจอ๊ื และศาสนาพุทธ รวมทั้งเป็นการแสดงความเคารพ ต่อบรรพบุรุษดว้ ย * เทศกาลกลางฤดูใบไม้ร่วง จัดข้ึนในวันข้ึน 15 ค่า เดือน 8 ของทุกปี ชาวบ้านจะประกวดทา ขนมเป๊ียะโก๋ญวน หรือบันตรังทู ทีมีรูปร่างกลม มีไส้ถั่วและไส้ผลไม้ และมีการจัดขบวนเชิดมังกร เพื่อ แสดงความเคารพตอ่ พระจนั ทร์ จะมกี ารเฉลิมฉลองกับขนมเคก้ สาหรบั เด็กและครอบครัวของพวกเขาที่ดูด วงจนั ทร์ ขบวนของโคมไฟและโคมไฟ ดวงจันทร์จะถูกใชเ้ ปน็ สัญลักษณ์สาหรับความเจริญรุ่งเรือง; ในช่วง เทศกาลจะมีกล่องเค้กในรูปร่างของดวงจันทร์ (Banh Trung พฤ.) เพ่ือเพื่อนและครอบครัว ในเวลา กลางคืนเด็กจะเดินขบวนในถนนร้องเพลงในขณะท่ีส่งมอบโคมไฟจีนสีในมือ โคมไฟ เหล่าน้ีจีนมีเทียนที่ สอ่ งสวา่ งสวยงามตามทอ้ งถนน

6. ประเทศอนิ โดนีเซีย ศลิ ปวัฒนธรรมและประเพณีของอินโดนีเซยี มชี นพนื้ เมืองหลายชาติพนั ธุ์กระจายกันอยู่ตามเกาะ ทาให้วฒั นธรรมประเพณีในแตล่ ะท้องท่แี ตกตา่ งกนั ไป * วายัง กูลิต (Wayang Kilit) เป็นการแสดงเชิดหุ่นเงาที่เป็นเอกลักษณ์ของอินโดนีเซีย และถือ เป็นศิลปะการ แสดงที่งดงามและวิจิตรกว่าการแสดงชนิดอ่ืน เพราะรวมศิลปะหลายด้านไว้ด้วยกัน โดย ฉบบั ด้ังเดมิ ใชห้ นุ่ เชิดท่ีทาด้วย หนงั สัตวน์ ยิ มใช้วงดนตรีพน้ื บ้านบรรเลงขณะแสดง * ระบาบารอง (Barong Dance) ละครพื้นเมืองดั้งเดิมของเกาะบาหล มีการใช้หน้ากากและเชิด หุ่นเป็นตัวละคร โดยมีการเล่นดนตรีสดประกอบการแสดง เร่ืองราวเป็นการต่อสู้กันของ บารอง คนคร่ึง สิงห์ ซ่ึงเป็นตัวแทนฝ่ายความดี กับรังดา พ่อมดหมอผีตัวแทนฝ่ายอธรรม โดยฝ่ายธรรมะจะได้รับชัยชนะ ในทส่ี ุด * ผ้าบาติก (Batik) หรือ ผ้าปาเต๊ะ เป็นผ้าพื้นเมืองของอินโดนีเซียที่มีวิธีการทาโดยใช้เทียนปิด สว่ นที่ไมต่ อ้ งการ ให้ติดสี และใช้วธิ ีการแต้มระบาย หรือ ยอ้ มในส่วนทต่ี ้องการให้ตดิ สี ผา้ บาตกิ นิยมใชเ้ ปน็ เคร่อื งแตง่ กายของหนุ่มสาว โดยใช้เป็นผ้าโพกศีรษะชาย ผ้าคลุม ศีรษะหญิง ผ้าทับกางเกงชาย และโสร่ง หรือผ้าที่ใช้นุ่งโดยการพันรอบตัว ซึ่งส่วนท่ีเรียกว่า “ปาเต๊ะ” คือส่วนท่ีต้องนุ่ง ให้ตรงกับสะโพก โดยมี ลวดลายสีสันตา่ งไปจากสว่ นอืน่ ๆ ในผ้าผืนเดียวกันนั่นเอง

7. ประเทศสงิ คโปร์ ศิลปวัฒนธรรมและประเพณขี องสิงคโปร์ สงิ คโปรเ์ ปน็ ประเทศทม่ี ปี ระชากรหลากหลายเชือ้ ชาติหลากหลายศาสนา ทาใหป้ ระเทศนีม้ ี ศิลปวฒั นธรรมทหี่ ลาก หลาย สาหรบั เทศกาลทีส่ าคญั ของสิงคโปรก์ จ็ ะเป็นเทศกาลทเี่ ก่ยี วข้อง กบั ความเช่อื ทางศาสนา เช่น * เทศกาลตรษุ จีน เทศกาลปใี หม่ของชาวจนี ท่จี ัดขน้ึ ในเดอื นกุมภาพันธ์ * เทศกาล Good Friday จดั ข้นึ เพื่อระลึกถึงการสละชวี ิตของพระเยซูบนไมก้ างเขนของชาว คริตส์ในเดือนเมษายน * เทศกาลวสิ าขบูชา จดั ข้ึนเพอ่ื ระลกึ ถึงการประสตู ิ ตรัสรู้ และปรินพิ พานของพระพทุ ธเจา้ ของชาวพทุ ธในเดอื นพฤษภาคม * เทศกาล Hari Raya Puasa เทศกาลการเฉลมิ ฉลองของชาวมุสลมิ ท่จี ัดข้ึนเมอื่ ส้นิ สดุ พิธี ถอื ศลิ อด หรือรอมฏอนในเดือนตลุ าคม * เทศกาล Deepavali เทศกาลแห่งแสงสวา่ งและเปน็ งานข้นึ ปใี หม่ของชาวฮนิ ดู ท่ีจดั ขน้ึ เดือนพฤศจิกายน

8. ประเทศมาเลเซีย ศลิ ปวฒั นธรรมและประเพณีของมาเลเซีย ด้วยเหตทุ ีม่ ีหลายชนชาตอิ ยู่รวมกนั ทาใหด้ นิ แดนแห่งนเ้ี ต็มไปด้วยวัฒนธรรมที่แตกต่าง หลากหลายผสมผสานกัน ซ่งึ มี ทง้ั การผสานวัฒนธรรมจากชนชาตอิ นื่ และการรักษาวัฒนธรรม ประเพณขี องชนแต่ละกลมุ่ ในแตล่ ะพ้นื ท่ี * การราซาบิน (Zabin) เป็นการแสดงการฟ้อนราหมู่ ซ่ึงเป็นศิลปะพ้ืนเมืองของชาว มาเลเซยี โดยเป็นการฟอ้ นราทไ่ี ดร้ บั อทิ ธิพลมาจากดินแดนอาระเบีย โดยมีผู้แสดงเป็นหญิงชาย จานวน 6 คู่ เต้นตามจังหวะของกีตาร์ แบบอาระเบียน และกลองเล็กสองหน้าท่ีบรรเลงจากช้า ไปเรว็ * เทศกาลทาเดา คาอามาตัน (Tadau Kaamatan) เป็นเทศกาลประจาปีในรัฐซาบาห์ จดั ในช่วงสิ้นเดือนพฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงสิ้นสุดของฤดูการเก็บเกี่ยวข้าวและเริ่มต้นฤดูกาลใหม่ โดยจะมีพิธีกรรมตามความเชื่อในการทาเกษตร และมีการแสดงระบาพ้ืนเมือง และขับร้องบท เพลงทอ้ งถนิ่ เพือ่ เฉลมิ ฉลองดว้ ย

9. ประเทศลาว ศิลปวัฒนธรรมและประเพณของลาว วัฒนธรรมของลาวจะมีความคล้ายคลึงกับวฒั นธรรมทางภาคอีสาน ของไทยมาก * ดา้ นดนตรแี คน ถือเปน็ เครือ่ งดนตรปี ระจาชาติ โดยมี วงดนตรีคือวงหมอลา และมีราวงบดั สลบ (Budsiob) ซง่ึ เปน็ การเตน้ ที่มีทา่ ตามจงั หวะเพลง โดยจะเต้นพรอ้ ม กนั ไปอยา่ งเป็นระเบียบถือเป็นการร่วมสนุกกนั ของชาวลาวใน งานมงคลต่างๆ * การตักบาตรข้าวเหนยี ว ถือเปน็ จุดเด่นของเมอื งหลวงพระบาง ซงึ่ โดยปกติ แล้วนยิ มใส่บาตรดว้ ยข้าวเหนยี วเพียงอย่างเดียวเพราะเม่อื ถึงเวลาฉนั ชาวบา้ นจะยก สารบั กบั ข้าวไปถวายทีว่ ดั เรยี กว่า “ถวายจงั หนั ” โดยเวลาใสบ่ าตรจะนง่ั คกุ เขา่ และ ผหู้ ญิง ตอ้ งนุ่งซนิ่ ส่วนผ้ชู ายนุง่ กางเกงขายาว และมผี า้ พาดไหลไ่ ว้สาหรับเป็นผ้ากราบ พระเหมือนกัน

10. ประเทศไทย ศิลปวัฒนธรรมและประเพณขี องไทย ไดร้ ับอทิ ธพิ ลจากมอญ ขอม อนิ เดยี จีนและชาตติ ะวันตก แต่มเี อกลกั ษณใ์ นดา้ นความ งดงาม ประณีต และผกู พัน อย่กู ับพระพุทธศาสนา * การไหว้ เป็นประเพณกี ารทกั ทายที่ถือเป็นเอกลกั ษณโ์ ดดเดน่ ของไทย โดยเปน็ การ แสดงถงึ ความมี สมั มาคารวะและให้เกยี รติกนั และกัน นอกจากการทกั ทาย การไหวย้ ังมี ความหมายเพ่อื การขอบคุณ ขอโทษ หรือ กล่าวลาดว้ ย * โขน เปน็ นาฏศลิ ป์เกา่ แก่ของไทย มลี กั ษณะสาคัญท่ีผ้แู สดงต้องสวมหัวโขนทง้ั หมด ยกเวน้ ตวั นาง พระ และเทวดา ซง่ึ แสดงโดยใชท้ า่ ราและทา่ ทางประกอบทานองเพลง ดาเนิน เรอ่ื งดว้ ยบทพากยแ์ ละบทเจรจาส่วนเรื่อง ที่นิยมแสดงคอื รามเกยี รต์ิ * สงกรานต์ ประเพณเี ก่าแก่ ซึ่งถอื เปน็ การเฉลิมฉลองวนั ขึ้นปีใหม่ของไทยทีย่ ึดถอื ปฏบิ ตั ิ กนั โดยจะมกี าร รดน้า ขอพรผใู้ หญ่ สรงน้าพระ ทาบญุ ตกั บาตร ปล่อยนกปล่อยปลา ขน ทรายเขา้ วดั และกอ่ เจดยี ์ทราย รวมทงั้ มีการเล่น สาดนา้ เพอื่ ความสนุกสนานดว้ ย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook