Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 33029

33029

Description: 33029

Search

Read the Text Version

หนงั สือเรยี นวิชาเลอื ก สาระการประกอบอาชพี รายวิชาการจดั กลุ่มเพ่อื พฒั นาอาชีพ รหัส ทร02002 39 8. มีความสามารถในการบริหารงาน และเป็นผนู้ าที่ดี มลี กั ษณะการเปน็ ผู้นารู้หลกั การ บริหารงาน เม่อื ต้องทางานร่วมกับคนหลายระดับในภาวะที่แตกตา่ งกนั ออกไป ของการเตบิ โตทาง เศรษฐกิจ ลักษณะของความเป็นผู้นาก็ย่อมแตกต่างกนั ไป โดยเฉพาะระยะเร่ิมทาธรุ กจิ จะต้องรับบท เปน็ ผนู้ า ทล่ี งมือทาทกุ อยา่ งดว้ ยตนเอง ทางานหนัก เพอ่ื ให้บรรลคุ วามสาเรจ็ เอาใจใสผ่ ู้รว่ มงานวางแนวทางการ ทางานพร้อมใหค้ าแนะนาผูร้ ว่ มงานรับคาสง่ั ดว้ ยความเตม็ ใจปฏิบตั ิเขาจะเป็นผู้กากับดแู ลอยา่ งใกลช้ ิด และเป็น กนั เองผลงานดาเนนิ ไปดว้ ยดี ต่อมากิจการเตบิ โตขน้ึ การบรหิ ารงานก็เปลยี่ นแปลงไป ลกู นอ้ งมกี ารเปล่ยี นแปลงและ เช่อื ม่นั ไดม้ ากขึ้น ไวใ้ จและแบง่ ความรบั ผดิ ชอบให้ลูกน้องมากขนึ้ จนถึงปลอ่ ยใหด้ าเนนิ การเอง สว่ นตนเองจะได้มเี วลาใช้ ความคิดพัฒนาผลิตภณั ฑ์ ขยายกจิ การหรือลงทนุ ใหม่ มีการวางแผนสงั่ การตดั สนิ ใจทางานตามทว่ี างไว้ กลา้ ลงทนุ จา้ ง ผู้บรหิ ารมาชว่ ยงานมากกวา่ เปน็ ธรุ กิจเครอื ญาติ ร้จู ักปรับเปลยี่ นแปลงการบริหารสามารถทาให้ธรุ กจิ ประสบความสาเรจ็ ได้ 9. มีความเช่อื มั่นตนเองผปู้ ระสบความสาเรจ็ มักจะเป็นผทู้ มี่ คี วามเช่อื มน่ั ในความสามารถของตนเอง ชอบ อิสระและพง่ึ ตนเอง มคี วามมน่ั ใจ ต้งั ใจเดด็ เด่ียว เข้มแขง็ มีลักษณะเปน็ ผู้นา และมีความเชอ่ื ม่นั ท่จี ะพชิ ิตเอาชนะ ส่ิงแวดล้อมทนี่ า่ สะพรึงกลัวได้ มคี วามทะเยอทะยาน มกั จะประเมินความสามารถของตนเองสูงเกนิ ไป เชือ่ มั่นตวั เอง มากเกินไปจงึ ไม่แปลกท่ผี ู้ประกอบการทป่ี ระสบความสาเร็จเคยมปี ระวัติความลม้ เหลวมาแล้วหลายครั้ง โดยเฉพาะชว่ งแรก ของชีวติ การทางาน แต่เขาไม่เลิกลม้ ความล้มเหลวทาใหเ้ ขาไมห่ ยดุ กา้ วต่อไป กล้านาบทเรยี นนนั้ มาแกไ้ ขปรบั ปรงุ จน สามารถต่อส้ปู ญั หาอปุ สรรคตา่ งๆได้สาเร็จเขาเชอื่ มนั่ ว่าไม่ว่าสถานการณ์อยา่ งไรเขาตอ้ งพ่ึงตนเองได้ ปัจจยั อื่น ๆ เป็น ปัจจัยเสรมิ เทา่ นน้ั การทางานหนกั ความทะเยอทะยานและการแข่งขนั จะเปน็ ส่งิ สนบั สนนุ ตนเองได้ดที ่สี ุด 10. มวี ิสัยทศั นก์ ว้างไกล เป็นผู้ทม่ี ปี ระสบการณ์สามารถท่จี ะวิเคราะหเ์ หตุการณ์ในอนาคตขา้ งหนา้ ได้ อยา่ งแมน่ ยาและพร้อมรบั เหตุการณท์ จ่ี ะเปล่ียนแปลง 11. มีความรบั ผดิ ชอบ รับผิดชอบต่องานทที่ าเป็นอยา่ งดี เปน็ ผ้นู าในการทาสิ่งต่างๆ เขามักจะมี ความคดิ ริเรมิ่ แลว้ ลงมอื ทาเอง หรอื มอบหมายใหผ้ ู้อนื่ ทา และเขาจะเปน็ ผู้ดแู ลจนงานสาเร็จไปตามเป้าหมายที่วาง ไว้ เขากจ็ ะรับผดิ ชอบตดั สนิ ใจในผลงานนน้ั ไมว่ ่าจะผลออกมาจะดีหรอื ไม่ เขาเชื่อว่าความสาเรจ็ เกิดจากความเอาใจใส่ ความ พยายาม ความรับผดิ ชอบมิใช่เกิดจากโชคหรอื สง่ิ ศักดิ์สิทธิ์ทาใหเ้ กดิ ข้ึนเท่าน้ัน 12. มคี วามกระตือรือร้น และไม่หยุดน่ิง แสดงใหเ้ ห็นการทางานเต็มไปด้วยพลัง มชี ีวิตชีวาทยี่ ากจะทดั ทาน มี ความกระตอื รอื ร้น ทางานทกุ อยา่ งรวดเรว็ ทางานหนักมากกวา่ วนั ละ 18 ชวั่ โมง เกินกวา่ คนปกติท่วั ไป เรง่ รดั ตวั เองทุก วัน มีพลงั ผูกพันตวั เองไม่อยนู่ ง่ิ ดว้ ยการฆ่าเวลาให้หมดไปวนั หนง่ึ ๆเบ่ือหนา่ ยต่องานซ้าซากจาเจ 13. ใฝห่ าความรู้เพิ่มเตมิ ถึงแมจ้ ะเชยี่ วชาญชานาญในการผลิตแตค่ วามร้แู ละประสบการณอ์ ยา่ งอื่นหรือที่มอี ย่ยู ังไม่ เพยี งพอ ก็ต้องหาความรู้เพม่ิ เตมิ อยู่ตลอดโดยเฉพาะความรูข้ ้อมูลทางการตลาดเศรษฐกจิ การเมือง กฎหมาย ทง้ั ในและ ตา่ งประเทศ ข้อมูลเหล่านจี้ ะชว่ ยให้เขาวิเคราะห์สถานการณ์ท่ีเปล่ียนแปลงความรไู้ มม่ ีวนั เรียนจบ ความรู้อาจจะไดจ้ าก การสมั มนาฝึกอบรม อา่ นหนงั สือทาใหม้ คี วามรู้เพิ่มขน้ึ และปรึกษาผู้เช่ยี วชาญ มาชว่ ยใหข้ ้อคิดเหน็ แก้ไข ปัญหา สงิ่ เหลา่ นีจ้ ะเปน็ วธิ ีหนึ่งท่ีจะช่วยใหง้ านสาเรจ็ เรว็ ขึ้น

หนงั สือเรยี นวชิ าเลือก สาระการประกอบอาชีพ รายวชิ าการจัดกล่มุ เพอ่ื พัฒนาอาชีพ รหสั ทร02002 40 14. กล้าตัดสินใจและมคี วามมุมานะพยายาม กลา้ ตัดสนิ ใจมคี วามหนักแน่นไมห่ วาดหว่ัน เชอื่ มัน่ ในตนเองกับงานทีท่ า มีจติ ใจของนักต่อสู้ แม้งานจะหนักก็ทมุ่ เทให้สดุ ความสามารถ ไม่กลัวงานหนกั ถือ ว่างานหนักนน้ั เปน็ งานท้าทายใชค้ วามรู้ สตปิ ัญญา ความสามารถของเขาในการทางาน เขาจะภมู ิใจเม่ือ ทาได้สาเรจ็ ความมมุ านะพยายามน้นั เปน็ การทุ่มเทชวี ิตจิตใจ ทาแข่งขันกบั ตวั เองและแข่งขนั กบั เวลา ขวนขวายหาทางแก้ไขปัญหาอปุ สรรคจนสามารถบรรลุความสาเรจ็ 15. อยา่ ตัง้ ความหวงั ไว้กบั ผูอ้ ่นื ผปู้ ระกอบการที่เพงิ่ เริม่ ทาธรุ กจิ มักใช้นา้ พักนา้ แรงทม่ี าจาก ตนเอง จึงมีการผลกั ดันใหผ้ ู้ที่อย่รู อบดา้ น ลกู น้องทางานหนักอย่างเตม็ ทเี่ ชน่ เดยี วกับตนเพอื่ ใหง้ าน สาเรจ็ บางครง้ั เขา้ ไปควบคุมกากับอยา่ งใกล้ชดิ ทาใหด้ เู หมอื นไมไ่ ว้วางใจผรู้ ว่ มงาน แต่เขาหวังเพียง ความสาเรจ็ 16. มองเหตุการณป์ ัจจุบันเปน็ หลกั ผปู้ ระกอบการบางคนมกั จะฝังใจในอดีต ซึ่งบางคนประสบ ความสาเรจ็ บางคนล้มเหลวแลว้ ไมส่ ามารถปรับตัวเองได้ บางคนปรบั ตัวได้โดยพยายามเข้าใจใน อดีต บางคนมีแตโ่ ลกแห่งความฝนั สร้างวิมานในอากาศ แล้วไมล่ งมือทา จงึ ไม่บรรลุเป้าหมายทีว่ าง ไว้ ดงั นัน้ จงทางานปจั จบุ นั ให้ดที ่ีสดุ คิดถึงอนาคตด้วยการวางแผนไว้อยา่ งรอบคอบ แต่มงุ่ ทาปัจจบุ ันให้ สาเรจ็ ไม่ต้องไปกังวลอย่างอื่นจนทาอะไรไมไ่ ด้ 17. สามารถปรับตัวเข้ากบั สิง่ แวดล้อม ต้องเชื่อม่นั ในความสามารถของตนที่จะปรับตนเองใหเ้ ปน็ ไป ตามต้องการของสภาพแวดล้อมมากกวา่ ปล่อยให้ทุกอย่างเป็นไปตามทค่ี วบคุมไม่ได้ หรอื ขน้ึ อยูก่ ับโชคหรือ ดวง ถ้าพดู ถึง โชค หรอื ดวงนัน้ ผปู้ ระกอบการที่ประสบความสาเร็จใหค้ วามเหน็ ว่า \"เปน็ เพยี งสว่ นหนงึ่ เทา่ น้ันไม่ใช่ เปน็ หลักแต่ท้งั นี้อยู่ท่ีการกระทาของตนเองต้องใชค้ วามรู้ความสามารถผลักดันตนเอง จงึ จะประสบความสาเร็จไมใ่ ชไ่ ปดู หมอดู\" 18. ทาอะไรเกนิ ตวั คอื ความลม้ เหลว การทาอะไรรู้จักประมาณตนเอง ไมท่ าสง่ิ ใดเกินตวั เกนิ ความสามารถ จะได้ไมป่ ระสบกบั ความล้มเหลวในการลงทุนทาธุรกิจ ในระยะแรกการคาดการณ์ ตลาด ยังไม่ชดั เจน แตท่ าธุรกจิ แบบใจใหญ่ แทนที่จะเร่มิ เล็ก ๆ ไปกอ่ น แต่กลับไปลงทุนใหญ่ท่เี ดียว ผลลพั ธ์ ไม่สามารถหาตลาดได้ สินคา้ ทผ่ี ลิตไดก้ ็ไมส่ ามารถจะระบายออกไปได้ ผลสดุ ทา้ ยมีสนิ ค้าคา้ งสตอ็ ก มาก เงนิ ทง้ั หมดก็มาจมอยู่ ไม่สามารถหาเงินลงทนุ ต่อไปได้ น่ีเป็นสาเหตุของความเกินตวั ทาใหธ้ ุรกิจ ลม้ เหลวได้ 19. ต้องมคี วามรว่ มมือและแข่งขันการทาธรุ กิจย่อมมีจุดมุ่งหมายเดียวกนั คือ เพ่ือกาไร แม้วา่ จุดมง่ หมายเดียวกันก็ไม่จาเป็นต้องแขง่ ใหล้ ้มไปข้างหน่ึง ยงั มวี ธิ ีการท่จี ะมุ่งสู่ความสาเรจ็ ในการดาเนนิ ธุรกิจ ประเภทเดียวกัน ดว้ ยวธิ ีการทแ่ี ตกต่างกันออกไป ผู้ประกอบการทีด่ าเนนิ ธรุ กิจประเภทเดียวกนั จะต้องไม่ พยายามทาธุรกจิ ใหเ้ กิดผแู้ พผ้ ู้ชนะ แตต่ อ้ งดาเนนิ ใหเ้ กดิ เพียงผชู้ นะอย่างเดยี ว รว่ มมือกันพ่ึงพาอาศัยกัน เพ่ือให้ธรุ กจิ อยรู่ อดโดยรว่ มกันต้ังเป็นสมาคม ชมชม เพื่อช่วยเหลือกนั การทาธรุ กิจตอ้ งมีการแขง่ ขัน ควร แขง่ ขนั ในเรือ่ งพัฒนาผลิตภณั ฑ์ คุณภาพ บริการ ด้านลดต้นทุนการผลิต ถ้าไมม่ กี ารแข่งขัน กจ็ ะไม่มีการ

หนงั สือเรยี นวชิ าเลือก สาระการประกอบอาชีพ รายวิชาการจัดกลุม่ เพือ่ พัฒนาอาชีพ รหัส ทร02002 41 พัฒนาเกดิ ขนึ้ 20. ประหยัดเพ่ืออนาคตการดาเนินธรุ กิจต้องใชร้ ะยะเวลายาวนานกว่าจะบรรลุเปา้ หมาย การ ดาเนนิ งานระยะสั้นยังไมเ่ ห็นผล ผ้ปู ระกอบการต้องมกี ารประหยดั อดออมไวเ้ พื่อนาไปขยายกิจการใน อนาคต ต้องรจู้ ักหา้ มใจทีจ่ ะหาความสขุ ความสบายในชว่ งที่ธุรกิจพึ่งจะต้ังตวั อดเปร้ยี วไว้กนิ หวาน เพ่ือ อนาคตขา้ งหนา้ 21. มคี วามซื่อสัตย์ ต้องมคี วามซ่ือสตั ย์ตอ่ ลูกคา้ ในดา้ นคุณภาพสินค้าและต้องสร้างความเช่อื ถือของ ตวั เองในการเปน็ ลูกหนท้ี ดี่ ีของธนาคาร เปน็ นายทด่ี ขี องลูกน้อง โดยสัญญาจะใหโ้ บนัสกับเขากต็ ้องให้ มี ความซ่ือสัตย์ต่อเพือ่ นร่วมหุน้ ตอ่ ครอบครัว และตอ่ ตนเอง

หนังสือเรยี นวชิ าเลอื ก สาระการประกอบอาชพี รายวชิ าการจดั กล่มุ เพอ่ื พฒั นาอาชีพ รหัส ทร02002 42 กจิ กรรมท้ายบทท่ี 3 เรอ่ื ง การบริหารจดั การกลุม่ 1.ใหน้ กั ศึกษาอธิบาย ปจั จยั เกีย่ วกบั การธรุ กจิ ว่ามีอะไรบ้างและสาคญั อยา่ งไร ............................................................................................................................. ........................................... ............................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... ............................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... ............................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... ............................................................................................................................. ........................................... 2. ใหน้ ักศกึ ษาอธิบายประเภทของเงินทุนพร้อมวธิ กี ารจัดหาเงนิ ทนุ พอสังเขป ................................................................................................................................. ....................................... ............................................................................................ ............................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... ......................................................................................................................................... ............................... .................................................................................................... .................................................................... ............................................................................................................................. ........................................... ................................................................................................................................................. ....................... ............................................................................................................ ............................................................ ............................................................................................................................. ........................................... ......................................................................................................................................................... ............... .................................................................................................................... .................................................... ............................................................................................................................. ...........................................

หนังสอื เรียนวิชาเลอื ก สาระการประกอบอาชพี รายวิชาการจัดกล่มุ เพอ่ื พัฒนาอาชีพ รหสั ทร02002 43 3. ให้ผู้เรียนอธิบายความสาคัญ ของการบรหิ ารการผลติ ที่มผี ลต่อการบรหิ ารจดั การกลุ่ม ............................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... ............................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... ............................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... 4. ให้ผู้เรียนอธิบายความสาคัญ ของการบริหารการตลาดและการบริหารงานบุคล ท่ีมีผลต่อการบริหาร จดั การกลุ่ม มาพอเข้าใจ ...................................................................................................................... .................................................. ........................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................. ...... ............................................................................................................................. ........................................... ............................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... ............................................................................................................................. ........................................... .................................................................................................................................................... .................... ............................................................................................................................. ........................................... ...................................................................................................................... .................................................. 5. ใหผ้ เู้ รียนอธบิ ายวา่ การ วเิ คราะหป์ จั จยั สูค่ วามสาเรจ็ จาเป็นต่อการบริหารจัดการกลุม่ มาพอเข้าใจ ............................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... ................................................................................................................................................................... ..... ........................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ........................

หนงั สอื เรียนวิชาเลอื ก สาระการประกอบอาชพี รายวชิ าการจดั กลุ่มเพ่ือพัฒนาอาชีพ รหสั ทร02002 44 บทท่ี 4 ปจั จัยท่ีทาใหก้ ลุ่มอาชีพประสบความสาเรจ็ และความเส่ียงในการดาเนินงาน เรอื่ งท่ี 1 ปัจจัยภายในที่สง่ ผลให้กลุ่มประสบความสาเรจ็ ปจั จยั ภายในหรอื ปัจจัยท่ีสามารถควบคุมได้ ปัจจยั ภายในหรือปัจจัยทส่ี ามารถควบคุมได้ หมายถึง ปัจจยั ทางการตลาดทนี่ กั การตลาดสามารถ ควบคุมหรือปรบั เปล่ียนให้เป็นไปตามความต้องการของธรุ กิจได้ ประกอบดว้ ย 1.1 ผลติ ภัณฑ์ (Product ) หมายถึงตวั สนิ ค้าหรือบรกิ ารธรุ กจิ ได้ผลติ ขึ้นหรือจัดหามาเพื่อ ตอบสนองความต้องการของตลาดเป้าหมาย เป็นปจั จยั แรกท่ีมีความสาคัญต่อการดาเนินงานทางการตลาด เพราะการผลติ หรอื การจดั หาผลิตภัณฑ์ไดต้ รงความต้องการของตลาดเป้าหมาย จะทาให้ผลิตภณั ฑเ์ ป็นที่ ยอมรับแก่ตลาดหรอื ผ้บู รโิ ภคนามาซ่งึ การตอบสนองของผู้บริโภคโดยการซ้อื สินคา้ หรือบรกิ าร ทาให้ องค์การประสบความสาเร็จฉะน้นั นักการตลาดต้องใหค้ วามสาคัญกบั การจดั การเกย่ี วกับผลิตภณั ฑ์ ในด้าน การออกแบบ การพัฒนา การจัดมาตรฐาน การจดั กลมุ่ ผลติ ๓ณฑ์และการเพิม่ หรือลดสายผลติ ภัณฑ์ ให้ มคี วามสอดคลอ้ งกับความต้องการของตลาดเป้าหมาย 1.2 ราคา (Price) หมายถงึ มลู คา่ ของสนิ ค้า มูลค่าจะตอ้ งสอดคล้องกบั อรรถประโยชนข์ อง ผลติ ภณั ฑ์น้ันเปน็ สาคัญ เหมาะสมกับลักษณะของกลุ่มตลาดเป้าหมายโดยพิจารณาอานาจการซ้ือ พฤติกรรมการซื้อ 1.3 การกาหนดช่องทางในการจัดจาหน่าย (Place) หมายถงึ กจิ กรรมในการทาให้สนิ คา้ หรือบริการ เคล่ือนย้ายจากผู้ผลติ ไปสผู่ ู้บริโภคหรอื ผ้ใู ชอ้ ยา่ งถูกต้องและเหมาะสม การสร้างประสทิ ธิภาพใหก้ ับชอ่ งทาง การจัดจาหนา่ ยสินคา้ หรือบริการ ตอ้ งอาศยั ปจั จัยทีส่ าคญั 2 ประการคือ 3.1 พ่อค้าคนกลาง (Middlemen) หมายถงึ บคุ คลท่ที าหน้าทใ่ี นการนาสนิ ค้า จากแหลง่ ผลิต ไปสูผ่ บู้ ริโภค ในระดับตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ พอ่ ค้าขายปลกี พ่อค้าส่ง นายหนา้ ตวั แทนจาหนา่ ย 3.2 เครอ่ื งมือในการกระจายสินคา้ หมายถงึ สิ่งท่จี ะชว่ ยทาใหส้ นิ ค้า ไปถงึ มือผบู้ รโิ ภคได้อย่าง รวดเรว็ ท่ัวถึง และทันเวลาที่ตอ้ งการ เชน่ การขนสง่ การจัดเก็บรกั ษา การตรวจนบั สินค้า 1.4การส่งเสริมการตลาด (Promotion) หมายถงึ กิจกรรมในการติดต่อสอ่ื สารข้อมลู ทง้ั หมด เก่ียวกับสนิ คา้ หรือบริการที่กิจการนาเสนอแกต่ ลาดเป้าหมายเพอ่ื ใหผ้ ู้บริโภคมีความรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั สินค้าที่นาเสนอ วา่ สินคา้ มีอะไรบ้าง มปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร จาหน่ายทไี่ หน ราคาเทา่ ไร

หนงั สอื เรยี นวชิ าเลอื ก สาระการประกอบอาชพี รายวชิ าการจัดกลุม่ เพือ่ พฒั นาอาชีพ รหสั ทร02002 45 บทเรยี นทไี่ ด้จากกลมุ่ อาชีพทดี่ าเนินงานประสบผลสาเร็จ (องคก์ ร) 1. ผนู้ า มีทงั้ ผนู้ าทเี่ ป็นทางการและผู้นาตามธรรมชาติ จะเปน็ ผสู้ นใจใฝ่รู้ กลา้ คดิ เร่อื งใหม่ๆ กลา้ ตัดสนิ ใจ เสยี สละ รบั ฟังความคิดเห็นจากสมาชกิ ประสานความร่วมมือรว่ มใจในหมูส่ มาชกิ ได้ ไม่เอา เปรียบ มีนา้ ใจ อุทิศเวลาเพ่ือส่วนรวม เอื้ออาทรตอ่ ผู้อื่น 2. สมาชกิ พร้อมให้ความร่วมมอื รว่ มแรง ร่วมใจ เสียสละ ทัง้ แรงงาน และทุน ในการทางาน รว่ มกัน สามารถเปลย่ี นบทบาทเปน็ ผ้นู าได้ 3. การบริหารจัดการกลุ่ม มคี วามเสมอภาค ทางความคิด สมาชิกทกุ คนมสี ิทธเิ สมอภาคกัน สามารถแลกเปลย่ี นความคดิ เห็น แกไ้ ขปัญหาร่วมกัน (เกิดการพฒั นาองค์กรในแนวราบมากกว่าแนวดิ่ง) 4. มกี ฎกติกาภายในองคก์ ร สมาชกิ ยอมรับในกฎกตกิ าทตี่ ้ังข้นึ เคารพการตดั สนิ ใจซ่ึงกนั และ กนั ท้งั ท่ีเปน็ เรอ่ื งส่วนรว่ มและสว่ นตวั 5. มีการแบง่ บทบาทหน้าที่ในการบริหารกล่มุ อย่างชัดเจน 6. มีองค์กรท่หี ลากหลายภายในกลุ่ม บคุ คลเปน็ สมาชกิ ของหลายกลุม่ เกดิ การแลกเปล่ยี น ความรู้และเชอ่ื มประสานของคนในชุมชน 7. พลงั ขององคก์ รในชุมชนตา่ งๆ สามารถนามาบรู ณาการ เพ่อื การพัฒนาได้ พระสงฆ์ ครู กล่มุ สตรกี ลมุ่ เยาวชน อบต.

หนังสอื เรยี นวิชาเลอื ก สาระการประกอบอาชพี รายวชิ าการจดั กลุม่ เพ่ือพฒั นาอาชีพ รหสั ทร02002 46 เรื่องท่ี 2 ปัจจยั ภายนอก ปัจจัยภายนอกหรือปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ หมายถึง ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลกระทบหรือเกี่ยวข้องกับ การดาเนินงานทางการตลาดในด้านต่าง ๆ เป็นปัจจัยท่ีกิจการไม่สามารถควบคุมหรือเปล่ียนแปลงให้ เป็นไปในทิศทางท่ีกิจการต้องการได้ ประกอบด้วยปจั จยั ทสี่ าคญั คือ 2.1 ปัจจัยเกี่ยวกับวัฒนธรรมและสังคม (Cultural and Social Factors) เป็นปัจจัยท่ีอยู่ นอกเหนืออานาจท่ีนักการตลาดจะควบคุมได้ แต่เป็นปัจจัยที่มีความเก่ียวข้องกับคนในสังคมท่ีเป็นกลุ่ม ตลาดเป้าหมาย เป็นผลกระทบทาให้การดาเนินงานการตลาดประสบความสาเร็จหรือส้มเหลวได้ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความสามารถของนักการตลาดในการศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมและสังคมของ ตลาดอยา่ งถูกต้อง 2.2 ปัจจัยเกี่ยวกับการเมืองและกฎหมาย (Political and Legal Factors) ปัจจัยทางการเมือง และกฎหมาย ข้อตกลงต่าง ๆ ระหว่างหน่วยงานทั้งในและต่างประเทศ เป็นส่ิงที่มีความสัมพันธ์กับการ ดาเนินกจิ กรรมตา่ ง ๆ ทางธรุ กิจ เพราะธุรกิจทกุ ชนิด ทุกประเภท ต้องดาเนินงานภายใต้กฎหมาย ระเบียบ และขอ้ ปฏิบตั ทิ ีก่ าหนด 2.3 ปัจจัยเก่ียวกับเศรษฐกิจ (Economic Factor) การเปล่ียนแปลงของภาวะเศรษฐกิจเป็น ปัจจัยท่ีสาคัญที่มีผลต่อการตัดสินใจทางการตลาดเพราะสภาวะทางเศรษฐกิจจะมีผลกระทบโดยตรงต่อ อานาจซ้ือของผู้บริโภค กล่าวคือ ถ้าหากสภาวะทางเศรษฐกิจเติบโตประชากรจะมีอานาจซอื้ สูง การตลาด จะเกิดการขยายตัว การศึกษาภาวะเศรษฐกิจ ฉะนั้นนักการตลาดจึงควรติดตามความเปล่ียรแปลงของ สภาวะเศรษฐกิจขณะน้ันสามารถพิจารณาได้จากรายได้ประชาชาติ อัตราการว่างงาน ภาวะเงินเฟ้อ การ ใช้จา่ ยของผ้บู รโิ ภค การให้สินเช่ือแก่ผู้บริโภค การกาหนดอตั ราดอกเบี้ย เปน็ ต้น 2.4 ปัจจัยเกี่ยวกับการแขง่ ขัน (Competition Factor) ในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม นักธุรกิจ รู้ดีว่าส่ิงที่หลีกเล่ียงไม่ได้ในการดาเนินงาน คือ การแข่งขัน เพราะในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม เป็น ระบบท่ปี ิดโอกาสใหธ้ ุรกจิ ต่าง ๆ เขา้ มาดาเนนิ การไดอ้ ย่างกว้างขวาง 2.5 ปัจจัยเก่ียวกับความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี (Technology Factor) ในปัจจุบันพบว่าความ กว้าหน้าทางเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทสาคัญอย่างมากต่อการดาเนินงานทางการตลาด การผลิต หรือ การดาเนินธรุ กิจทกุ ประเภทเพราะความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี จะเปน็ การอานวยความสะดวกทาให้ การ ผลติ การตลาด มปี ระสทิ ธภิ าพมากข้นึ 2.6 ปัจจัยเกี่ยวกับคนกลางทางการตลาด(Middlemen Factor) คนกลางทางการตลาดเป็น ปัจจัยสาคัญในการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ไปสู่ตลาดเป้าหมาย คนกลางทางการตลาดมีหลายประเภท แต่ ละประเภทจะทางานเป็นอิสระมากหรือน้องเพียงใดขึ้นอยู่กับลักษณะการดาเนินงาน ในขณะท่ีนักการ

หนงั สือเรียนวิชาเลอื ก สาระการประกอบอาชพี รายวิชาการจัดกลุม่ เพอ่ื พฒั นาอาชีพ รหัส ทร02002 47 ตลาดจาเป็นต้องอาศัยคนกลางในการจาหน่ายสินค้า นักการตลาดจึงจาเป็นต้องเสนอเงื่อนไขและ ผลตอบแทนทค่ี นกลางพอใจ 2.7 ปัจจัยเกี่ยวกับกลุ่มผู้ผลิตหรือผู้จัดจาหน่ายวัตถุดิบและเครือข่ายธุรกิจ (Suppliers Factor) ผปู้ ระกอบต้องรู้จักองคก์ รและหนว่ ยงานต่าง ๆทง้ั ในภาครัฐบาล และเอกชนทสี่ ามารถให้การสนับสนุนและ ชว่ ยเสรมิ สรา้ งความสามารถในการดาเนนิ ธุรกจิ 2.8 ปัจจัยเกี่ยวกับตลาดหรือผู้บริโภค (Market or Customer Factors) ปัจจัยทางด้าน การตลาดหรือผู้บริโภค เป็นปัจจัยท่ีมีความสาคัญอย่างย่ิงต่อการตัดสินใจในการดาเนินงานทางการตลาด ในขณะเดียวกันตลาดหรือผู้บริโภค เป็นส่ิงที่นักการตลาดไม่สามารถควบคุมความต้องการได้ แต่ต้อง ตอบสนองความต้องการของตลาดฉะนั้นนักการตลาดตอ้ งศกึ ษาตลาด หรือผบู้ รโิ ภค ให้มากท่ีสุด นาข้อมูล ท่ีได้ มากาหนดหน้าที่หรือกิจกรรมทางการตลาดเพื่อดึงดูดจูงใจให้ผู้บริโภคหรือตลาด เกิดความสนใจใน ผลติ ภัณฑ์

หนังสือเรียนวชิ าเลอื ก สาระการประกอบอาชพี รายวิชาการจดั กลุ่มเพื่อพัฒนาอาชีพ รหัส ทร02002 48 เร่ืองที่ 3 การจดั การความเส่ียงของการดาเนินงาน 3.1 นิยามความเสี่ยง ความเสี่ยง (Risk) คือ การวัดความสามารถ ทจ่ี ะดาเนินการให้วตั ถปุ ระสงค์ของงานประสบ ความสาเรจ็ ภายใต้การตัดสนิ ใจ งบประมาณ กาหนดเวลา และข้อจากัดด้านเทคนิคทีเ่ ผชิญอยู่ อย่างเชน่ การจดั ทาโครงการเป็นชุดของกจิ กรรม ทีจ่ ะดาเนินการเรอ่ื งใดเรื่องหนึ่งในอนาคต โดยใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ อยา่ งจากัด มาดาเนินการใหป้ ระสบความสาเรจ็ ภายใต้กรอบเวลาอนั จากัด ซึ่งเป็นกาหนดการปฏบิ ัติการ ในอนาคต ความเส่ยี งจึงอาจเกิดขนึ้ ได้ตลอดเวลา อนั เนอ่ื งมาจากความไม่แนน่ อน และความจากัดของ ทรัพยากรโครงการ ผบู้ ริหารโครงการจงึ ต้องจัดการความเสี่ยงของโครงการ เพอื่ ใหป้ ัญหาของโครงการลด น้อยลง และสามารถดาเนนิ การให้ประสบความสาเร็จ ตามเปา้ หมายทต่ี ง้ั ไว้อยา่ งมปี ระสิทธผิ ลและ ประสิทธิภาพ เราสามารถแบง่ ความเสี่ยงออกได้เปน็ 4 ประเภท คือ 1. ความเสย่ี งทางธรุ กิจ (Business Risk) คอื ความเสี่ยงทเ่ี กดิ จากการเปลยี่ นแปลงความสามารถ ในทากาไรของบริษัท อันเป็นเหตุใหผ้ ้ลู งทนุ ต้องสูญเสียรายได้ หรือเงนิ ลงทนุ ประกอบดว้ ย ความเสย่ี งทาง การเงนิ ความเสี่ยงด้านการบรหิ ารจดั การ และความเสี่ยงในระดบั อุตสาหกรรม 2. ความเสย่ี งทางตลาด (Market Risk) คอื การสญู เสียเงนิ ลงทนุ อนั เน่ืองมาจากการเปล่ยี นแปลง ราคาของหลักทรัพย์ทลี่ งทุน ซึ่งเป็นไปตามอุปสงค์ และอุปทานของตลาด 3. ความเสยี่ งในอตั ราดอกเบ้ีย (Interest Rate Risk) คือ ความเส่ียงที่เกิดจากการเปลยี่ นแปลงใน อตั ราผลตอบแทนจากการลงทุน อนั เนอื่ งมาจากการเปลี่ยนแปลงในอตั ราดอกเบี้ยในตลาด 4. ความเสีย่ งจากอานาจซอื้ (Purchasing Power Risk) คือ ความเส่ยี งทเี กดิ จากอานาจซื้อของ เงนิ ทลี่ ดลง ซึ่งสาเหตสุ าคัญท่ีสง่ ผลตอ่ อานาจซื้อ คือ ภาวะเงินเฟอ้ กรอบความเส่ียงของธรุ กจิ (Business Risk Model Framework) นนั้ จะชว่ ยใหห้ นว่ ยงานทกุ ระดบั ภายในบริษัทสามารถระบุถงึ ความเสีย่ งไดง้ ่ายขน้ึ โดยความเส่ียงที่อาจจะเกดิ ขน้ึ กับบรษิ ัทนั้นอาจแบง่ ไดเ้ ป็น 4 ประเภท คือ 1. ความเสยี่ งดา้ นกลยทุ ธ์ (Strategic Risk) 2. ความเสย่ี งด้านปฏบิ ตั กิ าร(Operational Risk) 3. ความเสย่ี งดา้ นการเงนิ (Financial Risk) 4. ความเสย่ี งดา้ นสารสนเทศ (Information Risk) ความเสยี่ ง สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ส่วน คือ ความเสยี่ งทเี่ ป็นระบบ และความเสี่ยงท่ีไม่เป็นระบบ

หนังสือเรยี นวิชาเลือก สาระการประกอบอาชีพ รายวชิ าการจดั กลมุ่ เพอ่ื พัฒนาอาชีพ รหสั ทร02002 49 ความเส่ยี งท่เี ปน็ ระบบ (Systematic Risk) เปน็ ความเส่ียงทีม่ ผี ลกระทบตอ่ ตลาดทง้ั ระบบ มักจะ เรียกอีกชอื่ วา่ Market Risk หรอื Undiversificable Risk เปน็ ความเส่ียงท่ีไม่สามารถทาให้ลดลงได้จาก การกระจายการลงทุน ความเส่ียงทไ่ี ม่เป็นระบบ (Unsystematic Risk)เปน็ ความเส่ียงท่ีเกดิ เฉพาะตัวกับธุรกิจ หรือ หลักทรพั ยน์ น้ั ๆ นักลงทนุ สามารถลดความเส่ียงนล้ี งไดด้ ้วยการจดั พอร์ตลงทนุ ของตนเองใหม้ ีการกระจาย การลงทุนท่ีเหมาะสม 3.2 กลยุทธใ์ นการจดั การความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง หรือ การบรหิ ารความเส่ียง (อังกฤษ: risk managment) คือ การจัดการ ความเส่ียง ทั้งในกระบวนการในการระบุ วิเคราะห์(en:risk analysis) ประเมิน(en:risk assessment) ดแู ล ตรวจสอบ และควบคมุ ความเส่ียงท่ีสมั พันธ์กับ กิจกรรม หน้าที่และกระบวนการทางาน เพอ่ื ให้องคก์ ร ลดความเสียหายจากความเสี่ยงมากที่สุด อันเนื่องมาจากภัยท่ีองค์กรต้องเผชิญในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรอื เรยี กวา่ อบุ ตั ภิ ยั (Accident ) ความเสี่ยงมีความหมายในหลากหลายแง่มุม เชน่ ความเส่ยี ง 1คือ 1. โอกาสทเ่ี กดิ ข้ึนแลว้ ธรุ กิจจะเกดิ ความเสยี หาย (Chance of Loss) 2. ความเป็นไปไดท้ ีจ่ ะเกิดความเสยี หายต่อธรุ กิจ (Possibility of Loss) 3. ความไมแ่ น่นอนของเหตุการณท์ ี่จะเกิดข้นึ (Uncertainty of Event)และ การ คลาดเคลอ่ื นของการ คาดการณ์ (Dispersion of Actual Result) 4. ภัย (Peril) คือ สาเหตขุ องความเสียหาย ซึ่งภัยสามารถเกิดขน้ึ ได้จากภยั ธรรมชาติ เชน่ เกิดพายุ สึนามิ น้าท่วม แผน่ ดนิ ไหว เปน็ ต้น ภยั นอกจากจะเกิดขน้ึ ไดจ้ ากภัยธรรมชาติแลว้ ภยั น้ันยงั เกดิ ข้ึนจากการ กระทาของมนษุ ย์ เช่น อัคคภี ัย จลาจล ฆาตกรรม เป็นตน้ สาหรับสาเหตสุ ุดทา้ ยทจี่ ะเกิดภยั ไดน้ ้ันคือภยั ท่ี เกิดขนึ้ จากภาวะเศรษฐกจิ เพราะภัยทเ่ี กดิ จากภาวะเศรษฐกจิ เป็นอกี สาเหตุท่ีสาคญั เพราะเมื่อเกดิ ข้ึนแล้ว คนทัง้ ประเทศ หรือท้งั ภมู ิภาคจะไดร้ บั ผลกระทบอย่างกวา้ งขวาง 5. ความเส่ียง (Risk) คือ ความไมแ่ นน่ อนของเหตุการณ์ ซ่ึงไมส่ ามารถคาดเดาไดว้ า่ จะเกิดข้ึน เมอ่ื ใด แตค่ วามเสย่ี งนั้น ๆ จะมแี นวโน้มทเ่ี กดิ ข้นึ ไม่มากก็น้อยในบริษัท 6. สภาวะท่จี ะทาให้เกิดความเสยี หาย (Hazard) คือ สภาพเงอื่ นไขทเ่ี ป็นสาเหตุท่ีทาให้ความ เสียหายเพมิ่ สูงข้นึ โดยสภาวะต่าง ๆ น้ีสามารถแบ่งออกไดเ้ ปน็ สภาวะทางดา้ นกายภาพ (Physical) คือ สภาวะของโอกาสที่จะเกิดความเสยี หาย เชน่ ชนิดและทาเลทต่ี ้ังของสิง่ ปลกู สร้าง อาจเอื้อตอ่ การเกิดเพลิง ไหม้ สภาวะทางด้านศีลธรรม (Moral) คอื สภาวะของโอกาสท่ีจะเกิดขน้ึ จากความไม่ซื่อสตั ยต์ ่อหน้าท่ีการ งาน เช่น การฉอ้ โกงของพนักงาน และสภาวะดา้ นจิตสานกึ ในการป้องกันความเสยี่ ง (Morale) คือ สภาวะ ทไ่ี ม่ประมาทและเลนิ เล่อ หรอื การไม่เอาใจใส่ในการป้องกันความเสีย่ ง เชน่ การทพี่ นักงานปล่อยให้ เครือ่ งจักรทางานโดยไมค่ วบคุม

หนงั สือเรียนวิชาเลอื ก สาระการประกอบอาชีพ รายวิชาการจดั กลุ่มเพ่ือพฒั นาอาชีพ รหสั ทร02002 50 องค์ประกอบการบริหารความเสย่ี ง 1. การระบชุ ว้ี ่าองคก์ รกาลงั มภี ยั เปน็ การระบชุ ้ีว่าองค์กรมีภัยอะไรบา้ งที่มาเผชญิ อยู่ และอยใู่ น ลักษณะใดหรือขอบเขตเป็นอยา่ งไร นบั เปน็ ข้ันตอนแรกของการบริหารความเส่ียง 2. การประเมนิ ผลกระทบของภัย เปน็ การประเมินผลกระทบของภยั ทจ่ี ะมีต่อองค์กรซง่ึ อาจเรียก อกี อยา่ งหนึ่งวา่ การประเมินความเสย่ี งทอี่ งคก์ รต้องเตรียมตัวเพื่อรบั มือกบั ภัยแต่ละชนิดได้อยา่ ง เหมาะสมมากท่ีสดุ 3. การจดั ทามาตรการตอบโต้ตอบความเสย่ี งจากภยั การจดั ทามาตรการตอบโตต้ อบความเส่ียง เป็นมาตรการท่จี ดั เรยี งลาดับความสาคัญแลว้ ในการประเมินผลกระทบของภยั มาตรการตอบ โต้ทน่ี ิยมใชเ้ พ่ือการรบั มือกับภัยแตล่ ะชนิด อาจจาแนกดังน้ี 3.1 มาตรการขจัดหรือลดความรนุ แรงของความอนั ตรายของภัยที่ต้องประสบ 3.2 มาตรการทปี่ ้องกนั ผรู้ ับภยั มใิ หต้ อ้ งประสบภยั โดยตรง เชน่ ภยั จากการทีต่ ้องปนี ไปในที่ สูงก็มีมาตรการปอ้ งกันโดยตอ้ งติดเข็มขดั นิรภยั กันการพลาดพลง้ั ตกลงมา ภยั จากไอระเหยหรอื สารพษิ กป็ ้องกนั โดยออกมาตรการให้สวมหน้ากากป้องกันไอพิษ เปน็ ต้น มาตรการลดความรนุ แรงของสถานการณ์ฉกุ เฉนิ เช่น กรณีเกดิ เพลิงไหมใ้ นอาคาร ได้มกี ารขจัดและลดความรุนแรง โดยออกแบบตัวอาคารให้มีผนงั กันไฟ กันเพลิงไหมร้ นุ ลามไปยงั บรเิ วณใกลเ้ คียง และมีการตดิ ต้ังระบบสปรงิ เกอร์ ก็จะช่วยลดหรอื หยุดความ รนุ แรงของอุบตั ิภยั ลงไดม้ าตรการกู้ภยั ก็เป็นการลดความสูญเสยี โดยตรง ลงไดม้ ากมาตรการกลบั คนื สภาพ ก็เปน็ อีกมาตรการในการลดความเสียหายตอ่ เนื่องจากภยั หรอื อบุ ัตภิ ยั แตล่ ะครงั้ ลงได้ มาตรการรับมือกบั ภยั 5 มาตรการ (5R) R1 Readiness ความเตรยี มพรอ้ ม องค์กรตอ้ งเตรียมความพร้อมระบบการบริหารความเส่ียงให้ มีความพร้อมในการจัดทามาตรการขจดั หรือควบคมุ ภัยตา่ งๆเอาไวล้ ่วงหนา้ R2 Response การตอบสนองอยา่ งฉบั ไว เมือ่ เกิดอุบัติภัยขึ้นระบบตอ้ งมสี มรรถนะทด่ี ีพอในการ ตอบโตภ้ ยั แต่ละชนิดอย่างได้ผลและทันเวลา R3 Rescue การช่วยเหลือกู้ภยั เป็นกระบวนการปกปอ้ งชีวติ และทรพั ย์สนิ ขององคก์ ร ทไ่ี ด้ผล และทันเวลา R4 Rehabilitation การกลับเข้าไปทางาน เมื่ออุบัติภัยส้ินสุดลงแล้วต้องกลับเข้าไปที่เดิมให้เร็ว ที่สุดเพื่อ การซ่อมแซม การเปล่ียนใหม่ หรือการสร้างข้ึนใหม่ (Rebuild) เพ่ือให้อาคารสถานที่พร้อมที่จะ ดาเนินกิจการต่อไปได้ อาจรวมไปถึงการประกันภยั ดว้ ย R5 Resumption การกลบั คืนสู่สภาวะปกติ องค์กรสามารถเปิดทาการ หรือ ดาเนนิ ธุรกิจต่อไป ตามปกติไดเ้ สมือนวา่ ไม่มีอุบัติภัยมาก่อน

หนงั สือเรียนวชิ าเลือก สาระการประกอบอาชพี รายวชิ าการจัดกลุม่ เพอื่ พฒั นาอาชีพ รหสั ทร02002 51 กจิ กรรมท้ายบทท่ี 4 เร่อื ง ปัจจยั ท่ีทาให้กลมุ่ อาชพี ประสบความสาเรจ็ และความเส่ียงในการดาเนินงาน 1. จงอธิบายปัจจยั ภายในที่ส่งผลใหก้ ลุ่มอาชีพประสบความสาเร็จ ............................................................................................................................. ............................. .......................................................................................................................................................... .................................................................................................................. ........................................ .................................................................................................................................... ...................... ............................................................................................................. ............................................. ..................................................................................................................... ..................................... ………………………………………………………………………………………………… 2. จงอธิบายปัจจยั ภายนอกท่ีส่งผลกระทบต่อการจดั การกลุ่มอาชีพ ............................................................................................................................. ............................. .......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................. ....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………… 3. จงอธิบายการจดั การความเส่ียงของการดาเนินงานกลุ่มอาชีพ ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………

หนงั สอื เรียนวชิ าเลอื ก สาระการประกอบอาชพี รายวิชาการจดั กล่มุ เพ่อื พฒั นาอาชีพ รหสั ทร02002 52 แบบทดสอบหลงั เรียน 1. ลักษณะของกลุ่มอาชีพ หมายถึงข้อใด ก. การจาหน่ายสินค้าประเภทเดยี วกนั ข. การรวมกลมุ่ เพอื่ ทาธรุ กจิ เดยี วกัน ค. การรวมกันจาหน่ายสนิ ค้าประเภทเดียวกัน ง. การรวมกลุม่ ของผทู้ ี่มีอาชีพเหมือนกัน 2. กลมุ่ ขยายอาชีพแบ่งออกเป็นก่ปี ระเภท ก. 3 ประเภท ข. 4 ประเภท ค. 5 ประเภท ง. 6 ประเภท 3. เงนิ ทุนมกี ี่ประเภท ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท 4. ขอ้ ใดกล่าวถกู ต้องท่ีสุดเกยี่ วกับเงินทุน ก. เงนิ ทุน หมายถึง เงินสดเท่านัน้ ข. เงินทุน คอื เงนิ ตราทธ่ี รุ กจิ จดั หามาเพื่อใชด้ าเนินงาน ค. เงินทุน ใชส้ าหรับการลงทนุ ในสินทรพั ยถ์ าวรเทา่ นน้ั ง. เงนิ ทนุ คงท่ี คือ เงนิ ทนุ ทีใ่ ช้ในการใชจ้ ่ายประจาวนั 5. ปจั จยั ในการดาเนนิ ธุรกจิ ใดมีความสาคัญมากทส่ี ดุ ในการประกอบธรุ กจิ ก. คน (Man) ข. เงิน (Money) ค. วัตถดุ บิ (Material) ง. วิธปี ฎิบัตงิ าน (Method)

หนังสอื เรยี นวชิ าเลือก สาระการประกอบอาชพี รายวชิ าการจดั กลมุ่ เพ่อื พัฒนาอาชีพ รหสั ทร02002 53 6. ขอ้ ใดคือการรวมกลุ่มอาชีพท่ถี ูกต้อง ก. มีสมาชิก มีประธาน จดทะเบียนจดั ตง้ั กลมุ่ ข. มีสมาชิก มหี ุ้น จดทะเบียนจัดตัง้ กลุ่ม ค. มสี มาชิก มีหนุ้ จดทะเบียนจัดตงั้ กลมุ่ ง. มีสมาชิก มีประธาน มหี นุ้ จดทะเบยี นจัดตัง้ กลมุ่ 7. ข้อใดคือประโยชนข์ องการวเิ คราะห์ปัจจยั เบ้ืองตน้ เก่ยี วกบั การธรุ กจิ ของกลุ่ม ก. เพือ่ ทราบความตอ้ งการของกลุ่มลกู ค้าเปา้ หมาย ข. เพื่อควบคุมขั้นตอนการผลิต ค. เพ่ือการจาหนา่ ยสินค้าของกลุ่มให้เปน็ ไปตามเป้าหมาย ง. เพ่ือความปลอดภัยในการทาธรุ กจิ ของกลมุ่ 8. ขนั้ ตอนสดุ ท้ายของการวเิ คราะห์กล่มุ ลกู ค้าเปา้ หมายคือ ข้อใด ก. ปจั จัยอะไรที่ เป็นตวั กระตนุ้ การซื้อสนิ คา้ ข. กระบวนการตัดสินใจของลูกค้าต่อการซื้อสินค้า ค. ของสินคา้ และการใชบ้ ริการทีล่ ูกค้าต้องการ ง. ราคาสินคา้ ทล่ี กู คา้ ตัดสินใจซ้อื สินค้า 9. ข้อใดคือเงินทุนเบือ้ งต้นท่ีกลุม่ อาชีพใชบ้ รหิ ารกลุ่ม ก. เงนิ กองทุน ข. เงินหุ้นสมาชิกกลมุ่ ค. เงนิ ออมทรัพย์ของกลมุ่ ง. ถูกทกุ ข้อ 10. ข้อใดคือประโยชน์ของการบรหิ ารเงนิ ทุนของกลมุ่ อาชพี ก. มเี งนิ ทนุ สนับสนนุ การประกอบอาชีพ ข. ชาวบ้านมีกองทนุ การเงินเพ่อื พงึ่ พาตนเอง ค. สมาชกิ รวมน้าใจรวมทุนชว่ ยเหลอื ซึง่ กนั และกนั ง. มเี งนิ ทุนหมุนเวยี นภายในกลมุ่ 11. ขอ้ ใดคือวตั ถปุ ระสงคใ์ นการบรหิ ารการผลิต ก. ใหไ้ ดผ้ ลผลิตท่ีออกมามีคุณภาพ ข. ผลผลติ ตรงตามความต้องการของลูกค้า ค. การใชท้ รพั ยากรท่ีมีอยู่ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สุด ง. ถกู ทกุ ข้อ

หนังสอื เรยี นวชิ าเลือก สาระการประกอบอาชพี รายวชิ าการจัดกลุ่มเพื่อพัฒนาอาชีพ รหสั ทร02002 54 12. การบริหารการตลาดมกี ี่ข้ันตอน ก. 2 ขั้นตอน ข. 3 ข้นั ตอน ค. 4 ขั้นตอน ง. 5 ขัน้ ตอน 13. การเลอื กตลาดเป้าหมายและอตั ราความต้องการซอ้ื ของตลาด อยู่ในกระบวนการใดของการบริหารการตลาด ก. การวางแผนการตลาด ข. การปฏิบตั กิ ารทางการตลาด ค. การประเมินผลการทางานทางการตลาด ง. การจดั องคก์ รทางการตลาด 14. การจัดการกลุ่มเพ่ือพัฒนาอาชพี จาเปน็ จะต้องมีความรู้ในเรอ่ื งการบรหิ ารงานบคุ คลเพ่อื ประโยชนใ์ นขอ้ ใด ก. การจัดการเก่ียวกบั บุคคลในกลมุ่ ข. ความจาเปน็ ในการเลอื กคนให้เหมาะสมกับงาน ค. คนเป็นปัจจัยสาคัญในการบริหารงาน ง. การรูจ้ กั ใช้คนอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 15. ขน้ั ตอนทสี่ าคัญทสี่ ดุ ของกระบวนการบริหารงานบุคคลคือข้อใด ก. การสรรหาบุคคล ข. การใชบ้ คุ คล ค. การพฒั นาบุคลากร ง. การธารงรักษาบคุ คล 16. ความจาเป็นตอ่ การวิเคราะหป์ ัจจยั ส่คู วามสาเรจ็ ของกลุม่ คือข้อใด ก. ความย่งั ยืน อยรู่ อดของกลุ่ม ข. ผลกาไรทีจ่ ะเกดิ ข้ึนกบั กลมุ่ ค. การจัดการกลุ่มเพอื่ การพัฒนา ง. การจัดการกลุ่มเพ่ือคุณภาพของสนิ คา้

หนงั สอื เรียนวชิ าเลอื ก สาระการประกอบอาชีพ รายวิชาการจดั กลมุ่ เพื่อพัฒนาอาชีพ รหสั ทร02002 55 17. ปจั จยั ภายในทคี่ วบคมุ ได้มีก่ีปจั จัย ก. 2 ปจั จยั ข. 3 ปัจจยั ค. 4 ปัจจยั ง. 5 ปัจจัย 18. ปัจจยั ภายนอกที่ควบคมุ ไมไ่ ดม้ ีกปี่ ัจจยั ก. 7 ปจั จยั ข. 8 ปัจจยั ค. 9 ปัจจยั ง. 10 ปจั จยั 19. ภยั ทเ่ี กดิ จากภาวะเศรษฐกิจ จะสง่ ผลอะไรต่อกลุ่มอาชีพ ก. ความเสย่ี งในการจาหน่ายสินคา้ ข. ความเส่ียงในการดาเนินงาน ค. ความเส่ยี งในการผลิตสนิ คา้ ง. ถกู ทกุ ข้อ 20. ขอ้ ใดคือความหมายของการจัดการความเสย่ี งของการดาเนินงาน ก. เพื่อใหอ้ งค์กรลดความเสียหายจากความเส่ียงมากท่สี ุด ข. เพอ่ื ใหอ้ งคก์ รหลดุ พ้นจากความเสียหายท่ีเกดิ จากความเสยี่ ง ค. เพ่อื ให้องค์กรเผชิญความเส่ยี งนอ้ ยทสี่ ดุ ง. เพือ่ ให้องค์กรมีการควบคุมความเสีย่ งมากทสี่ ดุ

หนงั สือเรียนวชิ าเลอื ก สาระการประกอบอาชีพ รายวชิ าการจัดกลุ่มเพ่ือพัฒนาอาชีพ รหัส ทร02002 56 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรียน 1. ข 11. ง 2. ง 12. ข 3. ก 13. ก 4. ข 14. ก 5. ก 15. ก 6. ข 16. ค 7. ง 17. ค 8. ข 18. ข 9. ข 19. ข 10. ง 20. ก บรรณาณกุ รม สคุ นธจรนิ ทร์ ไกรศรวัชร. หลักการตลาด. บริษัท ศนู ย์หนังสือเมืองไทย จากัด นนทบุรี 2549 กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น กระทรวงศึกษาธิการ. ชุดวชิ าการศกึ ษานอกโรงเรยี น หมวดวิชาพัฒนา อาชีพระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสตู รการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544. เอกสารประกอบการฝึกอบรมพัฒนาผ้มู ีศักยภาพเพ่อื ประกอบธุรกิจ SMEs

คณะผจู้ ัดทา ท่ีปรึกษา ชาญพชิ ิต ผอ.สานกั งาน กศน.จังหวดั สโุ ขทัย มีเจรญิ รอง ผอ.สานักงาน กศน.จงั หวัดสุโขทยั 1. นายสังวาลย์ พันธุ์โอภาส ผอ. กศน.อาเภอสวรรคโลก 2. นางสาวศรีโสภา ธนาทพิ ยกุล ผอ. กศน.อาเภอกงไกรลาศ 3. นายกติ ติศกั ด์ิ คงเมือง ผอ. กศน.อาเภอทุ่งเสล่ยี ม 4. นายแฉลม้ บญุ เกดิ ผอ. กศน.อาเภอครี มี าศ 5. นายชนญั คงเรอื ง ผอ. กศน.อาเภอเมอื งสุโขทัย 6. นายสาอางค์ โตนชัยภมู ิ ผอ. กศน.อาเภอศรีสัชนาลยั 7. นายสมมาตร เตชะบุญบันดาล ผอ. กศน.อาเภอศรีนคร 8. นายรามณรงค์ ใจดา ผอ. กศน.อาเภอบ้านดา่ นลานหอย 9. นายธรรมรตั น์ ผลนาค ผอ. กศน.อาเภอศรสี าโรง 10. นายสาราญ 11. นายจิรพงศ์ นักวิชาการสหกรณ์ชานาญการ ผ้เู ชี่ยวชาญเนื้อหา ครปู ระจาศูนย์การเรยี น ครอู าสาสมัคร 1. นายประทปี จตรุ พงศธร ผอ. กศน.อาเภอศรีสาโรง ผ้จู ัดทาเนอื้ หา ครชู านาญการ ครูอาสาสมัคร 1 นางลาแพน ทรพั ย์พร้อม ครอู าสาสมัคร 2. นางภารดี กง่ิ แกว้ ครู กศน.ตาบล ครู กศน.ตาบล บรรณาธิการ ผลนาค ครู กศน.ตาบล เปลี่ยนทอง ครู กศน.ตาบล 1. นายจิรพงศ์ อสิ ระไพจิตร 2. นางยณุ ีรตั น์ ถาแกว้ 3. นางบาเพ็ญ ออมสิน 4. นางสาวกลั ญารัตน์ อ่อนใจ 5. นางวนดิ า บัวเพง็ 6. นางสาวสรุ ินท์ ภทู วี 7. นางสาวนงค์นชุ 8. นางสาวขวญั นภา

9. นางสาวยุพิน อยเู่ ปยี ครู กศน.ตาบล 10. นางสาวจุฑามาศ ล้วนงาม ครู กศน.ตาบล 11. นางสาวปยิ วรรณ สุวรรณวงศ์ ครู กศน.ตาบล 12. นางสาวสาเนยี ง หยอมแหยม ครู กศน.ตาบล 13. นายครเิ มศย์ แสงบญุ ครู กศน.ตาบล 14. นายสุรชัย ประยรู ครู กศน.ตาบล 15. นางมัชฌิมา ชา่ งผาสุก ครู กศน.ตาบล 16. นางสาวอุมาพร ชมกลิน่ ครู กศน.ตาบล 17. นายประเสริฐศักดิ์ เดชศรวี ิศัลย์ ครู กศน.ตาบล ผู้ออกแบบปก บัวเพง็ ครู กศน.ตาบล 1. นางสาวนงคน์ ชุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook