Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้

Published by sornsawun srisopa, 2023-08-06 14:24:42

Description: แผนการจัดการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นรู้ จานวน 3 ช่ัวโมง เรื่อง การจดั เรยี งอิเล็กตรอน ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 รายวชิ า เคมีเพ่ิมเตมิ 1 กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาระการเรียนรู้เพิม่ เตมิ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 อะตอมและสมบตั ขิ องธาตุ จานวน 25 ชัว่ โมง สอนวันท.่ี ...........เดอื น……………..พ.ศ. ............ ผ้สู อน นางสาวศรสวรรค์ ศรโี สภา 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ และผลการเรยี นรู้ สาระเคมี 1. เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุธาตุ พนั ธะเคมีและ สมบตั ขิ องสาร ประเภทและสมบัตขิ องสารประกอบอินทรีย์และพอลเิ มอร์ รวมทงั้ นาความร้ไู ปใช้ประโยชน์ ผลการเรยี นรู้ อธิบายและเขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก และระดับพลังงานย่อยเมื่อทราบเลข อะตอมของธาตุ 2. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด นักวิทยาศาสตร์ได้มีการศึกษาเพิ่มเตมิ จนได้ข้อมูลท่ีเช่ือว่าอิเล็กตรอนมีสมบัติเป็นท้ังอนุภาค และคล่ืน โดยเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสในลักษณะของคลื่นนิ่ง บริเวณที่พบอิเล็กตรอนได้พบได้หลาย ลักษณะเป็นรูปทรง ต่างๆ ตามระดับพลังงานของอิเล็กตรอน จากการใช้ความรู้ทางกลศาสตร์ ควอนตัมสร้างสมการขึ้นเพื่อ คานวณหาโอกาสทีจ่ ะพบอิเล็กตรอนในระดบั พลงั งานที่ตา่ งกัน จึงมีการจัดเรียงอเิ ล็กตรอนในอะตอม ไดแ้ ก่ 1. การจัดเรยี งอเิ ล็กตรอนในระดับพลังงานหลกั 2. การจัดเรียงอเิ ลก็ ตรอนในระดบั พลงั งานยอ่ ย 3. สาระการเรยี นรู้ 1. การจัดเรียงอเิ ลก็ ตรอนในระดบั พลังงานหลกั 2. การจัดเรียงอเิ ล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย 4. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ดา้ นความรู้ (K) 1.1 นักเรียนสามารถอธิบายหลักการจดั เรียงอิเลก็ ตรอนในระดบั พลงั งานหลัก และพลงั งานย่อยได้ 1.2 นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์บิทัล และความหมายการบรรจุเต็มกับ การบรรจคุ รึ่งได้ 2. ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) 2.1 นกั เรียนสามารถจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมเมื่อทราบเลขอะตอมของธาตุ และสามารถบอกเลข อะตอมของธาตไุ ด้ เมอ่ื ทราบการจัดเรยี งอิเลก็ ตรอน

3. ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 3.1 ใฝเ่ รียนรู้ 3.2 มุง่ มัน่ ในการทางาน 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา 6. กจิ กรรมการเรียนรู้ รูปแบบการสอนทใ่ี ชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ คือ การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5E 1. ขัน้ สร้างความสนใจ (Engagement) 1.1 ครกู ล่าวทักทายนักเรยี น และเชค็ ชอื่ นักเรยี นก่อนเขา้ เรยี น 1.2 ครนู าเขา้ ส่บู ทเรยี นโดยการทบทวนความรู้เกีย่ วกับอนุภาคมลู ฐานของอะตอม 2. ขั้นสารวจและคน้ หา (Exploration) 2.1 ครูนานักเรียนอภิปรายร่วมกันถึงสาเหตุที่ต้องมีการจัดเรียงอิเล็กตรอน เพื่อนาเข้าสู่บทเรียนเรื่อง การจัดเรยี งอิเล็กตรอนของธาตุ 3. ข้ันอธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) 3.1 ครูอธิบายให้ความรู้เกี่ยวกับ หลักการสามารถการจัดเรียงอิเล็กตรอน ศึกษาการจัดเรียง อิเลก็ ตรอนในอะตอม จากใบความรู้หรอื ในหนงั สอื เรียน ซ่ึงสามารถสรปุ ไดด้ งั นี้ 3.1.1 อิเล็กตรอนอยู่ในระดับพลังงานต่างๆ กัน ระดับพลังงานของอิเล็กตรอนแทน ด้วย n โดย n = 1 คือ ระดับพลังงานที่ 1 ซึ่งอยู่ใกล้นิวเคลียสมากที่สุด n = 2, n = 3 ,n = 4 เป็นระดับพลังงานที่อยู่ห่าง ออกไปจากนวิ เคลยี สตามลาดับ 3.1.2 จานวนอิเล็กตรอนมากที่สุดที่มีได้ในแต่ละระดับพลังงานจะมีค่าเท่ากับ 2n2 เมื่อ n คือ ตัวเลขแสดงระดบั พลังงาน 3.1.3 ระดับพลังงานเดียวกันมีการแบ่งเป็นระดับพลังงานย่อย (subshell) ต่างๆ ซึ่งมีชื่อเรียก ต่างกนั คอื 1. sharp (s) 2. principal (p) 3. diffuse (d) และ 4. fundamental (f) โดยจานวนระดบั พลงั งาน ยอ่ ยจะมีไดเ้ ทา่ กบั ระดบั พลงั งานท่ี 1– 4 (ใช้เฉพาะ 4 ระดับพลังงานแรก) ดงั นี้ 1. ระดับพลงั งานที่ 1 (n = 1) มี 1 ระดับพลังงานย่อย คอื s 2. ระดบั พลังงานที่ 2 (n = 2) มี 2 ระดับพลงั งานยอ่ ย คือ s p 3. ระดับพลงั งานท่ี 3 (n = 3) มี 3 ระดับพลงั งานยอ่ ย คือ s p d 4. ระดบั พลังงานที่ 4 (n = 4) มี 4 ระดับพลงั งานยอ่ ย คือ s p d f 3.1.4 ระดับพลังงานย่อยท่ีอยู่ในระดับพลังงานเดียวกันจะมีพลังงานแตกต่างกัน และแต่ละระดับ พลังงานย่อยจะมีจานวนออรบ์ ทิ ัลแตกตา่ งกัน ดังนี้

ระดับพลงั งานยอ่ ย s มี 1 ออรบ์ ิทลั ระดับพลังงานยอ่ ย p มี 3 ออร์บิทัล ระดับพลังงานยอ่ ย d มี 5 ออร์บทิ ัล ระดับพลงั งานยอ่ ย f มี 7 ออร์บทิ ลั 3.1.5 จานวนอเิ ลก็ ตรอนสงู สดุ ในออร์บทิ ลั ท่อี ยใู่ นระดับพลงั งานย่อย s, p, d และ f มีคา่ แตกต่างกันสรุปได้ดงั นี้ ระดับพลงั งานยอ่ ย s มี 1 ออร์บิทัล มีจานวนอเิ ล็กตรอนสงู สดุ 2 อเิ ล็กตรอน ระดบั พลังงานยอ่ ย p มี 3 ออรบ์ ทิ ลั มีจานวนอิเลก็ ตรอนสงู สดุ 6 อิเลก็ ตรอน ระดับพลังงานยอ่ ย d มี 5 ออรบ์ ทิ ลั มจี านวนอิเลก็ ตรอนสงู สุด 10 อเิ ล็กตรอน ระดบั พลังงานย่อย f มี 7 ออร์บิทลั มจี านวนอเิ ล็กตรอนสูงสุด 14 อิเลก็ ตรอน 3.1.6 อิเล็กตรอนสองอิเล็กตรอนที่อยู่ในออร์บิทัลเดียวกันมีทิศทางการหมุนรอบตัวเองตรงข้าม กนั โดยตวั หน่งึ หมุนขึ้น และอีกตวั หนึ่งจะหมนุ ลง เขียนแทนออรบ์ ิทลั ไดต้ ามหลกั การ กีดกันของเพาลี ด้วย ส่วนอิเล็กตรอนเขียน แทนด้วยลูกศรดังนี้ และในกรณีที่อิเล็กตรอนสองอิเล็กตรอนทีอยู่ในออร์ บทิ ลั เดยี วกันเขียนแทนไดด้ งั นี้ 3.1.7 การบรรจุอิเล็กตรอนจะต้องบรรจุลงในออร์บิทัลที่มีพลังงานต่าสุดและว่างอยู่ ให้เต็มก่อน ตามหลักของเอาฟ์บาว จากนั้นจึงบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์บิทัลที่มี ระดับพลังงานสูงขึ้นตามลาดับ คือ 1s, 2s, 2p, 3s, 3p, 4s, 4d ... ตามลาดับ ในกรณีท่ีมีหลายออรบ์ ิทัล และแตล่ ะออร์บทิ ัลมีพลงั งานเท่ากนั เช่น 2p ออร์บิทัล มี 3 ออร์บิทัล ซึ่งทั้ง 3 ออร์บิทัลมีพลังงานเท่ากัน ให้บรรจุ 1 อิเล็กตรอนลงในแต่ละออร์บิทัลก่อน ตามกฎของฮนุ ต์ (ทาใหม้ อี ิเลก็ ตรอนเดยี่ วมากท่สี ุด) 3.1.8 การบรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทัล ถ้าทุกออร์บิทัลที่ระดับพลังงานเดียวกันมีอิเล็กตรอนอยู่ เตม็ เรียกว่า การบรรจุเต็ม ถ้าอเิ ลก็ ตรอนมีอยู่เพียงครึง่ เดียวเรยี กว่า การบรรจคุ รึง่ 3.1.9 สัญลกั ษณ์แสดงการจัดอเิ ลก็ ตรอนในออรบ์ ิทัลเขยี นไดด้ งั น้ี

3.1.10 อิเล็กตรอนที่อยู่วงนอกสุดของอะตอมซึ่งมีระดับพลังงานสูงสุดนี้เรียกว่า เวเลนซ์ อิเล็กตรอน 3.2 ครอู ธิบายและวาดรูปแผนภาพบนกระดานดงั นี้ 3.3 ครยู กตัวอย่างธาตุมา 2 ถึง 3 ชนดิ และแสดงการจดั เรยี งอิเลก็ ตรอนแบบหลัก แบบ ย่อย แบบย่อ และแบบบรรจุลงในออรบ์ ทิ ัล 3.4 ครูชี้แจงให้นักเรียนทราบว่า บางธาตุมีการบรรจุอิเล็กตรอนไม่เป็นไปตามหลักการ ได้แก่ ธาตุ โครเมียม เลขอะตอม 24 และธาตุทองแดง เลขอะตอม 29 สามารถแสดงได้ จากการจัดในระดับพลังงานย่อย ดังนี้ 24Cr = 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s1 3d5 ไม่ใช่ 4s2 3d4 29Cu = 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s1 3d10 ไมใ่ ช่ 4s2 3d9 3.5 จากนั้นครูให้นักเรียนเล่นเกมจับคู่เกี่ยวกับการจัดเรียงอิเล็กตรอน โดยแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 8 คน ในเกมส์จับคู่ จะประกอบไปด้วยธาตุหมู่1A – 8A และบัตรจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบหลัก ครูทาการอธิบาย เก่ยี วกับวธิ ีและกติกาการเล่นเกมส์ แลว้ เริ่มทาการเล่นเกมสจ์ นกว่าจะไดก้ ล่มุ ผูท้ ่ชี นะ 4. ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration) 4.1 ครสู รปุ เนือ้ หาการจัดเรยี งอเิ ล็กตรอน และเพิ่มเตมิ ในบางส่วนทีน่ ักเรียนยังไม่เขา้ ใจ 4.2 ครูสรุปเน้อื หาการจดั เรยี งอิเล็กตรอนอีกครง้ั หน่ึง และมอบหมายให้นักเรยี นทาแบบฝึกหัดเพ่ิมเติม เกี่ยวกับการจัดเรียงอเิ ล็กตรอนเป็นการบ้าน 4.3 ครูเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นสอบถามเนือ้ หาเรื่อง การจดั เรยี งอิเล็กตรอน 5. ขน้ั ประเมนิ ผล (Evaluation) 5.1 การสรปุ เนื้อหา เรอ่ื ง การจดั เรียงอเิ ล็กตรอน 5.2 การให้ความร่วมมอื ในตอบคาถามและการเลน่ เกมส์ ในช้ันเรยี น 5.3 ใบกจิ กรรมท่ี 2.3 เรอ่ื ง การจดั เรยี งอิเลก็ ตรอน

7. สอ่ื / แหลง่ เรยี นรู้ 1. หนังสือเรียนเคมี รายวิชาเพิ่มเติม ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 4 เล่ม 1 (สสวท) 2. งานนาเสนอ PowerPoint เรื่อง การจัดเรยี งอิเล็กตรอน 8. ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. สรุปเนือ้ หาเกย่ี วกับการจัดเรียงอิเล็กตรอน 2. แบบฝึกหดั 3. ใบกจิ กรรมที่ 2.3 เรือ่ ง การจดั เรยี งอเิ ลก็ ตรอน

9. การวัดและประเมนิ ผล วิธวี ดั ผล เครื่องมือวดั เกณฑก์ าร ส่งิ ท่ตี ้องการวัดผล ประเมินผล ด้านความรู้ (K) - ตรวจสมุดการ แบบประเมินความรู้ ผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 60 ขึ้นไป 1. สามารถอธิบายหลักการจัดเรียง สรปุ เนอ้ื หา ความเข้าใจ อิเล็กตรอนในระดับ พลังงานหลัก - คาตอบจากการ เร่อื ง การจดั เรยี ง และยอ่ ยได้ ทาแบบฝึกหัด อเิ ล็กตรอน 2. สามารถอธิบายวิธีการบรรจุ อิเล็กตรอนลงในออร์บิทัล และ ความหมายการบรรจุเต็ม กับการ บรรจคุ ร่ึงได้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) - ใบงานที่ แบบประเมนิ ใบงาน 2.3 เร่ือง การ 1. สามารถจัดเรียงอิเล็กตรอน ใน 2.3 เร่อื ง การ ผา่ นเกณฑ์ จัดเรียงอิเลก็ ตรอน ร้อยละ 60 ขนึ้ ไป อะตอมเมื่อทราบเลข อะตอมของธาตุ จัดเรียง แบบประเมิน ระดบั คุณภาพ 2 ได้ และ สามารถบอกเลขอะตอมของ อิเล็กตรอน คุณลกั ษณะอนั พึง ผา่ นเกณฑ์ ประสงค์ดา้ นการ ธ าตุได้ เมื่อทราบการจัดเรีย ง - คาตอบจากการ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมัน่ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ อิเลก็ ตรอน เลน่ เกมส์ ในการทางาน ดา้ นคุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ (A) สังเกต แบบประเมนิ สมรรถนะสาคัญ 3.1 ใฝเ่ รยี นรู้ พฤติกรรมในช้ัน ของผเู้ รียน 3.2 มงุ่ มน่ั ในการทางาน เรยี นตั้งใจ ใฝ่เรยี นรู้ และมงุ่ มัน่ ในการ ทางาน สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น สังเกต 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร พฤติกรรมในชั้น 2. ความสามารถในการคดิ เรียน ตรวจสมดุ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา และการตอบ คาถามในชั้นเรียน

แบบประเมนิ ความรู้ความเข้าใจ (K) นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 ลาดับ ช่อื – สกลุ คะแนน ร้อยละ ผลการประเมนิ (8) ผ่าน ไมผ่ า่ น 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ลงชื่อ................................................ผ้ปู ระเมนิ (นางสาวศรสวรรค์ ศรีโสภา)

เกณฑก์ ารประเมนิ ดา้ นความรู้ (K) เกณฑก์ ารประเมนิ ดา้ นความรู้ (K) 1. สามารถอธบิ ายหลักการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลงั งานหลักและพลงั งานย่อยได้ 2. สามารถอธิบายวิธีการบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์บิทัลและความหมายการบรรจุเต็มกับการบรรจุ ครึ่งได้ ประเด็นการ ระดับคุณภาพ น้า ประเมิน หนัก 1. สามารถอธิบาย หลักการจัดเรียง 4 321 อเิ ล็กตรอนในระดับ พลังงานหลัก และ เนอื้ หาครบถ้วน เนื้อหาครบถว้ น เน้ือหาบางส่วน เนื้อหาไม่ ยอ่ ยได้ 2. สามารถอธิบาย ตามท่กี าหนด ตามที่กาหนด ไม่สมบูรณ์ตามท่ี สมบรู ณ์ ว ิ ธ ี ก า ร บ ร ร จุ อิเล็กตรอนลงใน เขียนถกู ต้องตาม ลาดับหัวขอ้ กาหนด ลาดบั ตามทีก่ าหนด ออร์บิทัล และ ความหมายการ หลักภาษา เน้อื หาชดั เจน หวั ขอ้ เนอ้ื หา ลาดับหัวข้อ บรรจุเต็มกับการ บรรจคุ รึ่งได้ ลาดบั หัวข้อเน้อื หา และมกี ารอธบิ าย ชดั เจน เนอ้ื หาไม่ชัดเจน 1 ชดั เจน และมกี าร ได้อยา่ งมเี หตผุ ล ทาแบบฝกึ หดั ทาแบบฝึกหัดไม่ อธบิ ายได้อย่าง ทาแบบฝกึ หดั ถูกต้องผดิ ไป 5 ถกู ต้อง มเี หตผุ ล ถกู ต้องผิดไป 1 ข้อขน้ึ ไป ทาแบบฝึกหัด ถึง 5 ข้อ ถูกต้องทัง้ หมด คะแนนรวม 8 เกณฑ์การประเมิน ดเี ยย่ี ม ชว่ งคะแนน 7 – 8 ระดับคุณภาพ 4 ดี ช่วงคะแนน 5 – 6 ระดับคุณภาพ 3 พอใช้ ชว่ งคะแนน 3 – 4 ระดับคุณภาพ 2 ปรับปรงุ ช่วงคะแนน 1 – 2 ระดบั คุณภาพ 1 เกณฑก์ ารผา่ น ได้ระดับ 3 ข้นึ ไป ร้อยละ 60 ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

แบบบันทกึ คะแนน ใบงานท่ี 2.3 นกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ผลการ ลา ชื่อ - สกลุ คะแนน ร้อย ประเมนิ ดับ (10 คะแนน) ละ ผ่าน ไม่ ผา่ น 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ลงชือ่ ................................................ผ้ปู ระเมิน (นางสาวศรสวรรค์ ศรีโสภา)

เกณฑก์ ารประเมิน คะแนนใบงาน 10 คะแนน พฤติกรรมบ่งช้ี 4 ระดับคุณภาพ 1 นา้ หนัก นักเรียนตอบ 32 นกั เรยี น 1 1. นักเรียนสามารถตอบ คาถามถกู ต้อง นกั เรียนตอบ นักเรียนตอบ ตอบคาถาม คาถามไดถ้ ูกตอ้ ง คาถามถูกต้อง คาถามถกู ต้อง ถูกต้อง 10 9-10 ขอ้ 6-8 ข้อ 3-5 ข้อ 0-2 ข้อ ใน 10 ขอ้ ใน10 ข้อ คะแนนเต็ม เกณฑก์ ารประเมิน ดีเย่ียม ช่วงคะแนน 9 – 10 ระดับคณุ ภาพ 4 ดี ช่วงคะแนน 6 – 8 ระดบั คณุ ภาพ 3 พอใช้ ช่วงคะแนน 3 - 5 ระดบั คณุ ภาพ 2 ปรับปรงุ ชว่ งคะแนน 0 - 2 ระดับคุณภาพ 1 เกณฑก์ ารผ่าน ไดร้ ะดบั 3 ข้นึ ไป รอ้ ยละ 60 ถือว่าผา่ นเกณฑ์

แบบประเมนิ การสงั เกตพฤติกรรมของผูเ้ รยี น (A) นกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 คาช้แี จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหว่างเรียนหรือนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดับคะแนน รายการประเมนิ เลขท่ี ช่ือ-สกลุ รวมคะแนน ผลการ (8 คะแนน) ประเมิน ใฝ่เรียนรู้ ุ่มง ่ัมนในการ ทางาน ผา่ น ไม่ ผา่ น 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ลงชื่อ................................................ผู้ประเมนิ (นางสาวศรสวรรค์ ศรีโสภา)

เกณฑ์การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) 1. ใฝ่เรยี นรู้ 2. มงุ่ ม่ันในการทางาน ตวั ชว้ี ดั เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน นา้ หนัก ดีเยี่ยม (4) ดี (3) พอใช้ (2) ต้องปรบั ปรงุ (1) 1. ใฝ่เรียนรู้ เขา้ เรียนตรงเวลา เขา้ เรียนตรงเวลา เขา้ เรยี นตรงเวลา ไมต่ งั้ ใจเรยี น ไม่ 1 ตั้งใจเรยี น เอาใจ ตง้ั ใจเรยี น เอาใจ ตัง้ ใจเรียน เอาใจใส่ ศึกษาค้นควา้ หา ใสใ่ นการเรยี น ใส่ในการเรยี น ในการเรยี น และมี ความรู้ และมีสว่ นร่วมใน และมีส่วนร่วมใน สว่ นรว่ มในการ การเรียนรู้ และ การเรยี นรู้ และ เรยี นรู้ และเขา้ รว่ ม เขา้ ร่วมกจิ กรรม เขา้ ร่วมกจิ กรรม กจิ กรรมการเรียนรู้ การเรยี นรูต้ ่างๆ การเรยี นรตู้ ่างๆ ต่างๆ เป็นบางคร้ัง เปน็ ประจา บอ่ ยคร้ัง 2. มุ่งมั่นใน ต้งั ใจและ ตั้งใจและ ตง้ั ใจและ ไม่ต้งั ใจปฏบิ ัติ 1 การทางาน รับผิดชอบในการ รบั ผดิ ชอบในการ รับผิดชอบในการ หน้าทกี่ ารทางาน การปฏิบตั ิหนา้ ทท่ี ่ี ปฏบิ ตั หิ น้าทที่ ี่ ปฏบิ ัตหิ นา้ ทท่ี ีไ่ ดร้ ับ ไดร้ ับมอบหมายให้ ได้รบั มอบหมาย มอบหมายให้สาเรจ็ สาเร็จ มกี าร ให้สาเร็จ มีการ ปรับปรุงและ ปรบั ปรงุ และ พัฒนาการทางาน พัฒนาการทางาน ใหด้ ีข้ึนภายใน ให้ดขี ้ึน เวลาท่ีกาหนด คะแนนรวม 8 เกณฑก์ ารประเมนิ ดีเยีย่ ม ช่วงคะแนน 7 – 8 ระดับคุณภาพ 4 ดี ชว่ งคะแนน 4 – 6 ระดับคุณภาพ 3 พอใช้ ชว่ งคะแนน 3 - 4 ระดับคณุ ภาพ 2 ปรับปรุง ชว่ งคะแนน 1 - 2 ระดบั คณุ ภาพ 1 เกณฑ์การผา่ น ได้ระดบั 2 ขน้ึ ไป ผ่านเกณฑ์

แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น นักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 คาช้ีแจง : ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี นหรือนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ลงในช่องท่ี ตรงกบั ระดบั คะแนน ความสามารถ ความสามารถ ความสามารถ คะแนน ผลการ ในการสื่อสาร ในการคิด ในการ (9 คะแนน) ประเมนิ แก้ปญั หา ลาดบั ช่ือ – สกลุ ระดบั คณุ ภาพ ระดบั คุณภาพ ระดบั คณุ ภาพ 12 3 12 3 12 3 ผ่าน ไม่ ผ่าน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ลงช่ือ................................................ผปู้ ระเมิน (นางสาวศรสวรรค์ ศรีโสภา)

ประเดน็ การ ประเมนิ เกณฑ์การประเมนิ สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน คา่ รวม ระดับคะแนน นา้ หนัก 9 1 32 1. ความสามารถ สามารถถา่ ยทอด สามารถถ่ายทอด ไมส่ ามารถถา่ ยทอด ในการส่อื สาร ความรู้ ความคดิ ความรู้ ความคดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจของ ความเข้าใจของตนเอง ความเข้าใจของตนเอง ตนเองโดยใช้ภาษา โดยใช้ภาษา และวธิ ีการ ใช้ภาษาและวิธกี าร และวิธกี ารสอื่ สาร สือ่ สาร สว่ นใหญ่ได้ สอื่ สารไดไ้ ม่เหมาะสม อย่างเหมาะสม อย่างเหมาะสม ชดั เจน 3 2. มคี วามสารมารถใน สามารถคดิ สามารถคิดวิเคราะห์ ไม่มีความสามารถใน การคดิ วิเคราะห์ วิเคราะห์เพื่อสร้าง เพ่อื สรา้ งองค์ความรู้ การคิดวิเคราะหเ์ พ่ือ องค์ความรู้ได้ และ และ ส่วนใหญ่มคี วามคดิ สรา้ งองค์ความรู้ และ มีความคดิ เปน็ ระบบ เป็นระบบ ไม่มีความคดิ เป็นระบบ ชัดเจน 3. ความสามารถ สามารถแก้ปญั หา สามารถแก้ปญั หา ไม่สามารถแก้ปัญหา ในการแกป้ ัญหา และ อปุ สรรคต่างๆ และอปุ สรรคต่างๆ และอุปสรรคตา่ งๆ ท่เี ผชิญไดช้ ัดเจน ท่ีเผชญิ ได้ ท่ีเผชิญได้ เกณฑก์ ารใหร้ ะดับคุณภาพ ช่วงคะแนน 8 – 9 ระดับคุณภาพ 4 ดเี ย่ยี ม 3 ดี ช่วงคะแนน 5 - 7 ระดับคุณภาพ 2 พอใช้ 1 ปรบั ปรงุ ชว่ งคะแนน 3 - 4 ระดบั คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ตา่ กว่า 2 ระดับคุณภาพ เกณฑ์การตัดสนิ ระดบั คุณภาพ 2 ขนึ้ ไป ผา่ นเกณฑ์



เฉลย 2, 8, 3 หมู่ 3 คาบ 3 1S2 2S2 2P6 3S2 3P1 2, 8, 8, 1 หมู่ 1 คาบ 4 1S2 2S2 2P6 3S2 3P6 4S1 2, 6 หมู่ 6 คาบ 2 1S2 2S2 2P4 2, 8, 18, 5 หมู่ 5 คาบ 4 1S2 2S2 2P6 3S2 3P6 4S2 3d10 4P3 2, 8, 18, 5 หมู่ 5 คาบ 4 1S2 2S2 2P6 3S2 3P6 4S2 3d10 4P6 5S1 2, 8, 18, 8 หมู่ 8 คาบ 4 1S2 2S2 2P6 3S2 3P6 4S2 3d10 4P6 2, 8, 6 หมู่ 6 คาบ 3 1S2 2S2 2P6 3S2 3P4 2, 8, 5 หมู่ 5 คาบ 3 1S2 2S2 2P6 3S2 3P3 2, 8, 7 หมู่ 7 คาบ 3 1S2 2S2 2P6 3S2 3P5 2, 8 หมู่ 8 คาบ 2 1S2 2S2 2P6


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook