92 กจิ กรรมที่ 2 1. ใหผูเรียนศึกษารายละเอียดของจดหมายแตล ะประเภท ท้ังรูปแบบคําขึ้นตน คําลงทา ย แบบฟอรม ฯลฯ จากจดหมายจริงขององคก ร บริษัทและหนว ยราชการ แลวเขียนรายงานเสนอ เพ่อื ตรวจสอบและประเมนิ ผลระหวางภาค 2. ใหว ิเคราะหการเขียนจดหมายในยุคปจ จุบันวามีการสื่อสารดวยวิธีอื่นอีก หรือไมพรอมท้ัง ยกตวั อยา งประกอบดว ย กจิ กรรมท่ี 3 ใหผ เู รยี นเรียนหาโอกาสไปฟงการประชุมสาธารณะท่ีจัดข้ึนในชุมชน โดยอาจนัดหมายไปพรอมกัน เปน กลุม สังเกตวิธีการดําเนนิ การประชุม การพูดในที่ประชุม จดบันทึกสิ่งที่รับฟงจากท่ีประชุมแลวนํามา พูดคุยแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ กับเพื่อน ๆ เมือ่ มีการพบกลุม กิจกรรมที่ 4 ใหผ เู รียนเลอื กจดบันทึกเหตกุ ารณในชวี ิตประจาํ วันโดยเรม่ิ ตัง้ แตว ันนีไ้ ปจนสนิ้ สดุ ภาคเรยี น พรอ มจัดลงใหกับครู กศน. ตรวจ เพ่ือประเมนิ ใหเ ปนผลงานระหวางภาคเรยี น กิจกรรม 5 ใหผเู รยี นเขยี นเลขไทยต้ังแต ๑-๑๐๐ กจิ กรรม 6 ใหผูเรียนเขียนบทรอ ยกรองประเภทใดประเภทหน่ึงท่ีคิดวา เพื่อถา ยทอดอารมณค วามรูส ึก แลวนาํ มาเสนอตอกลมุ หรอื ปด ปา ยประกาศใหเพือ่ นๆ อานและติชม กจิ กรรม 7 ใหผ ูเ รียนศึกษาบทรอ ยกรองประเภทตาง ๆ ที่ไดรับการยกยองหรือชนะการประกวด นําไป อภิปรายรวมกบั ครหู รือผเู รียน ในวันพบกลมุ กจิ กรรม 8 ใหผ ูเรยี นแบงกลุม แลว รวบรวมตัวอยา งบทรอ ยกรองท่ีแตง ดว ยคําประพันธท่ีจับฉลากไดตอ ไปนี้ พรอมทั้งเขียนแผนภมู ปิ ระกอบใหถ ูกตอ ง และสง ตัวแทนออกมาอธิบายในคร้งั ตอ ไปเมอื่ พบกลมุ 1. โคลงส่สี ุภาพ 2. กลอนสภุ าพ 3. กาพยย านี 11 4. รา ยสภุ าพ
93 บทที่ 5 หลกั การใชภาษา สาระสาํ คัญ การเขาใจธรรมชาตแิ ละหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษาจะชวยใหใ ช ภาษาแสวงหาความรู เสริมสรา งลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ เกิดความภาคภูมิใจและรักษาภาษาไทยไวเปน สมบัตขิ องชาติ ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวัง เม่อื ศกึ ษาบทนจี้ บคาดหวังวา ผูเรยี นจะสามารถ 1. เขา ใจธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลกั ษณะของภาษาไทย 2. เขา ใจอทิ ธพิ ลของภาษาถน่ิ และภาษาตา งประเทศที่มีตอภาษาไทย 3. เขา ใจความหมายใชศ ัพทบ ญั ญัติ คาํ สมาส คาํ สนธแิ ละคําบาลี สนั สฤต 4. ใชคําราชาศัพทแ ละคาํ สุภาพไดเ หมาะสมกบั บุคคล 5. เขา ใจและใชสาํ นวน คําพงั เพย สภุ าษติ 6. ใชพจนานกุ รมและสารานุกรมไดถกู ตอ ง ขอบขายเน้อื หา เรอื่ งท่ี 1 ธรรมชาตขิ องภาษา เร่อื งท่ี 2 ถอยคาํ สาํ นวน สุภาษติ คาํ พงั เพย เรื่องท่ี 3 การใชพจนานกุ รมและสารานุกรม เร่อื งท่ี 4 คาํ ราชาศัพท
94 เรอ่ื งที่ 1 ธรรมชาติของภาษา ความหมายของภาษา ภาษา เปน คําท่เี รายืมมาจากภาษา สันสกฤต ถาแปลตามความหมายของคําศัพทภาษา แปลวา ถอ ยคําหรือคําพูดที่ใชพูดจากัน คําวา ภาษา ตามรากศัพทเ ดิมจึงมีความหมายแคบคือ หมายถึง คําพูด แตเพียงอยางเดยี ว ความหมายของภาษาตามความเขา ใจของคนท่วั ไป เปน ความหมายท่ีกวาง คือภาษา หมายถึง ส่ือทุกชนิดท่ีสามารถทําความเขา ใจกันได เชน ภาษาพูดใชเสียงเปนส่ือ ภาษาเขียนใชต ัวอักษรเปน สื่อ ภาษาใบใ ชกริยาทาทางเปนส่ือ ภาษาคนตาบอดใชอักษรที่เปน จุดนูนเปน ส่ือ ตลอดท้ัง แสง สี และอาณัติ สญั ญาณตา ง ๆ ลว นเปนภาษาตามความหมายนท้ี ัง้ สิ้น ความหมายของภาษาตามหลกั วิชา ภาษา หมายถึง สัญลกั ษณที่มีระบบระเบียบและมแี บบแผน ทําใหค นเราส่ือความหมายกันได ภาษา ตามความหมายนจ้ี ะตองมสี วนประกอบสําคัญคือ จะตอ งมี ระบบ สัญลักษณ + ความหมาย + ระบบการสรา งคํา + ระบบไวยากรณ ในภาษาไทยเรามีระบบสัญลักษณ ก็คือ สระ พยัญชนะและวรรณยุกต ระบบการสรางคํา ก็คือ การนําเอาพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต มาประกอบกนั เปนคํา เชน พ่ี นอ ง พอ แม ฯลฯ ระบบไวยากรณ หรือเราเรียกวา การสรา งประโยค คือ การนําคําตา ง ๆ มาเรียงกันใหส ัมพันธก ันใหเกิดความหมายตาง ๆ ซ่ึงเปนหนวยใหญข ้ึน เม่ือนําสวน ประกอบตา ง ๆ สัมพันธกันแลว จะทาํ ใหเกดิ ความหมาย ภาษาตองมคี วามหมาย ถาหากไมมีความหมายกไ็ ม เรยี กวา เปนภาษา ความสาํ คญั ของภาษา 1. ภาษาเปนเครื่องมือในการติดตอ สื่อสาร ท่ีมนุษยใ ชส ่ือความเขาใจกัน ถายทอดความรู ความคดิ อารมณ ความรสู ึก ซง่ึ กนั และกัน 2. ภาษาเปน เครือ่ งมือในการแสวงหาความรู ความคดิ และความเพลิดเพลนิ 3. ภาษาเปนเครื่องมือในการประกอบอาชีพและการปกครอง โดยมีภาษากลางหรือภาษา ราชการใชใ นการส่อื สารทําความเขา ใจกนั ไดทงั้ ประเทศ ทว่ั ทกุ ภาค 4. ภาษาชวยบันทึกถา ยทอดและจรรโลงวัฒนธรรมใหด ํารงอยู เราใชภ าษาบันทึกเร่ืองราวและ เหตุการณตาง ๆ ในสังคม ตลอดทั้งความคิด ความเชอื่ ไวใ หคนรนุ หลงั ไดท ราบและสบื ตออยางไมขาดสาย เม่ือทราบวาภาษามีความสําคัญอยา งย่ิงสําหรับมนุษยและมนุษยก ็ใชภาษาเพื่อการดําเนินชีวิต ประจาํ แตเรากม็ ีความรูเกยี่ วกบั ภาษากันไมม ากนัก จงึ ขอกลาวถงึ ความรูเกย่ี วกับภาษาใหศ กึ ษากันดงั นี้ 1. ภาษาใชเ สียงสื่อความหมาย ในการใชเสียงเพ่ือสอ่ื ความหมายจะมี 2 ลักษณะ คอื 1.1 เสียงทส่ี ัมพันธกบั ความหมาย หมายความวาฟงเสียงแลวเดาความหมายไดเสียงเหลาน้ี มักจะเปน เสียงทีเ่ ลยี นเสียงธรรมชาติ เชน ครนื เปรี้ยง โครม จกั ๆ หรือเลยี น เสียงสตั วร อง เชน กา อง่ึ อาง แพะ ตกุ แก
95 1.2 เสียงท่ีไมส ัมพันธกบั ความหมาย ในแตล ะภาษาจะมมี ากกวา เสยี งที่สัมพนั ธ กับความหมาย เพราะเสียงตา ง ๆ จะมีความหมายวา อยางไรน้ันขึ้นอยูก ับขอ ตกลงกันของคนท่ีใชภาษานั้น ๆ เชน ในภาษาไทยกําหนดความหมายของเสียง กนิ วานาํ ของใสปากแลวเค้ียวกลืนลงคอ ภาษาอังกฤษใชเ สียง eat (อี๊ท) ในความหมายเดยี วกันกับเสยี งกนิ 2. ภาษาจะเกดิ จากการรวมกันของหนว ยเลก็ ๆ จนเปน หนว ยทีใ่ หญข ้ึน หนวยในภาษา หมายถงึ สว นประกอบของภาษาจะมีเสียงคําและประโยค ผูใ ชภาษาสามารถ เพิ่มจาํ นวนคํา จาํ นวนประโยคข้ึนไดม ากมาย เชน ในภาษาไทยเรามีเสยี งพยญั ชนะ 21 เสียง เสียงสระ 24 เสียง เสียงวรรณยุกต 5 เสียง ผูเรียนลองคิดดูวา เมื่อเรานําเสียงพยัญชนะ เสียงสระ เสียงวรรณยุกตมา ประกอบกันก็จะไดค ํามากมาย นําคํามาเรียงตอ กันก็จะไดว ลีและประโยค เราจะสรา งประโยคข้ึนได มากมายและหากเรานาํ ประโยคทส่ี รางขึน้ มาเรียงตอกันโดยวิธีมารวมกัน มาซอนกันก็จะทําใหไ ดป ระโยค ทีย่ าวออกไปเรื่อย ๆ 3. ภาษามกี ารเปล่ียนแปลง สาเหตขุ องการเปลยี่ นแปลง 1. การพดู กันในชีวติ ประจําวนั สาเหตนุ อี้ าจจะทําใหเ กิดการกลมกลนื เสียง เชน เสียงเดมิ วา อยา งน้ี กลายเปน อยา งงี้ มะมว งอกพรอ ง กลายเปน มะมวงอกรอง สามแสน กลายเปน สามเสน สจู นเย็บตา กลายเปน สูจนยบิ ตา 2. อิทธพิ ลของภาษาอื่น จะเหน็ ภาษาอังกฤษมอี ิทธิพลในภาษาไทยมากที่สุดอยูในขณะน้ี เชน มาสาย มกั จะใชว ามาเลท (late) คําทักทายวา สวัสดี จะใช ฮัลโล (ทางโทรศัพท) หรือเปน อิทธิพลทางดา นสํานวน เชน สาํ นวนทีน่ ยิ มพดู ในปจจบุ ัน ดังน้ี “ไดรบั การตอ นรบั อยา งอบอนุ ” นา จะพูดวา “ไดร ับการตอ นรบั อยา งดี” “จบั ไข” นาจะ พูดวา “เปน ไข” นนั ทดิ า แกวบัวสาย จะมาในเพลง “เธอ” นาจะพูดวา นนั ทดิ า แกว บวั สาย จะมารองเพลง “เธอ” 3. ความเปล่ียนแปลงของสิง่ แวดลอ ม เม่อื มีความเจริญข้ึน ของเกาก็เลิกใช สิ่งใหมก็เขา มา แทนที่ เชน การหุงขา วสมัยกอนการดงขาวแตป จจุบันใชหมอหุงขางไฟฟา คําวา ดงขาว ก็เลิกใชไ ปหรือ บา นเรือนสมยั กอ นจะใชไ มไ ผป ูพื้นจะเรียกวา “ฟาก” ปจ จบุ ันใชกระเบื้อง ใชปูน ปูแทนคําวา ฟากก็เลิกใชไป นอกจากนย้ี ังมคี ําอกี พวกทีเ่ รยี กวา คาํ แสลง เปน คาํ ทีม่ ีอายใุ นการใชส้ัน ๆ จะนิยมใชเฉพาะวัยเฉพาะคนใน แตล ะยุคสมัย เม่อื หมดสมัย หมดวยั นั้น คาํ เหลานก้ี ็เลกิ ใชไ ป เชน กก๊ิ จาบ ตวั อยา งคาํ แสลง เชน กระจอก กกิ๊ กอ ก เจา ะแจะ ซา เวอ จาบ ฯลฯ ลักษณะเดน ของภาษาไทย
96 1. ภาษาไทยมีตัวอักษรเปนของตนเอง เปนท่ที ราบวา ภาษาไทยมีตวั อักษรมาต้งั แตครง้ั กรงุ สุโขทยั แลว ววิ ฒั นาการตามความเหมาะสม มาเร่อื ย ๆ จนถงึ ปจจบุ ัน โดยแบงเปน 3 ลักษณะ คอื 1. เสียงแท มี 24 เสียง ใชร ปู สระ 32 รูป 2. เสยี งแปรมี 21 เสียง ใชร ปู พยัญชนะ 44 ตัว 3. เสียงดนตรีหรือวรรณยกุ ตมี 5 เสยี ง ใชรปู วรรณยุกต 4 รปู 2. ภาษาไทยแทม ีพยางคเ ดียวหรือเปน ภาษาคําโดดและเปน คําที่มีอิสระในตัวเอง ไมต อ ง เปลย่ี นรูปคําเมือ่ นําไปใชในประโยค เชน เปนคาํ ท่ีมพี ยางคเดียว สามารถฟงเขา ใจทันที คือ คํากรยิ า กนิ นอน เดิน น่ัง ไป มา ฯลฯ คําเรยี กเครือญาติ พอ แม ลุง ปา นา อา ปู ยา ฯลฯ คําเรยี กชื่อสัตว นก หนู เปด ไก มา ชา ง ฯลฯ คําเรียกช่อื สง่ิ ของ บาน เรอื น นา ไร เสือ้ ผา มีด ฯลฯ คําเรียกอวัยวะ ขา แขน ตนี มอื หู ตา ปาก ฯลฯ เปน คาํ อสิ ระไมเปล่ียนแปลงรปู คําเมือ่ นาํ ไปใชใ นประโยค เชน ฉนั กนิ ขาว พอตีฉนั คําวา “ฉัน” จะเปนประธานหรือกรรมของประโยคก็ตามยังคงใชรูปเดิมไมเปลี่ยนแปลง ซ่ึงตา ง จากภาษาอังกฤษ ถาเปน ประธานใช “I” แตเปนกรรมจะใช “ME” แทน เปน ตน คําทุกคําในภาษาไทย มีลักษณะเปน อิสระในตัวเอง ซ่ึงเปน ลักษณะของภาษาคาํ โดด 3. ภาษาไทยแทมตี ัวสะกดตามตรา ซึง่ ในภาษาไทยนั้นมมี าตราตัวสะกด 8 มาตรา คอื แม กก ใช ก สะกด เชน นก ยาก มาก เดก็ แม กด ใช ด สะกด เชน ผดิ คดิ ราด อด แม กบ ใช บ สะกด เชน กบ พบ ดาบ รบั แม กง ใช ง สะกด เชน จง ขงั ลิง กาง แม กน ใช น สะกด เชน ขน ทัน ปาน นอน แม กม ใช ม สะกด เชน ดม สม ยาม ตาม แม เกย ใช ย สะกด เชน ยาย ดาย สาย เคย แม เกอว ใช ว สะกด เชน เรว็ หิว ขาว หนาว
97 4. คําคําเดียวกัน ในภาษาไทยทําหนา ที่หลายหนา ท่ีในประโยคและมีหลายความหมาย ซึ่งใน หลักภาษาไทยเรียกวา คาํ พองรูป พองเสยี ง เชน ไกข ันยามเชา เขาเปนคนมีอารมณข นั เธอนําขนั ไปตักนํ้า ขนั ในประโยคที่ 1 เปน คํากริยาแสดงอาการของไก ขันในประโยคที่ 2 หมายถงึ เปนคนทีอ่ ารมณส นกุ สนาน ขันในประโยคท่ี 3 หมายถึง ภาชนะหรือส่งิ ของ เธอจกั ตอก แตเ ขา ตอกตะปู ตอกคําแรกหมายถงึ สงิ่ ของ ตอกคําท่ี 2 หมายถงึ กรยิ าอาการ จะเห็นวาคําเดียวกันในภาษาไทยทําหนา ท่ีหลายอยางในประโยคและมีความหมายไดหลาย ความหมาย ซึ่งเปน ลกั ษณะเดน อีกประการหนง่ึ ของภาษาไทย 5. ภาษาไทยเปน ภาษาเรียงคํา ถาเรียงคําสลับกันความหมายจะเปล่ียนไปเชน หลอ นเปน นอ งเพอื่ นไมใ ชเพื่อนนอง คําวา “นองเพอื่ น” หมายถึง นอ งของเพ่ือน สวน “เพ่ือนนอ ง” หมายถึง เปนเพื่อน ของนอ งเรา (เพื่อนนองของเรา) โดยปกติ ประโยคในภาษาไทยจะเรียงลําดับประธาน กริยาและกรรม ซง่ึ หมายถึง ผทู ํา กรยิ าที่ทําและผถู กู กระทํา เชน แมวกัดหนูถาจะมีคําขยายจะตองเรียงคําขยายไวห ลังคํา ที่ตอ งการขยาย เชน แมวดํากัดหนูอวน “ดํา” ขยายแมว และอว นขยายหนู แตถ าจะมีคําขยายกริยา คาํ ขยายนั้นจะอยหู ลงั กรรมหรอื อยทู ายประโยค เชน หมอู วนกินรําขา วอยางรวดเร็ว คําวา อยางรวดเร็ว ขยาย “กิน” และอยูห ลัง รําขาว ซึ่งเปนกรรม 6. ภาษาไทยมีคําตามหลังจํานวนนบั ซึ่งในภาษาไทยเรยี กวา ลักษณะนาม เชน หนังสอื 2 เลม ไก 10 ตวั ชา ง 2 เชอื ก แห 2 ปาก รถยนต 1 คัน คําวา เลม ตัว เชอื ก ปาก คัน เปน ลักษณะนามท่ีบอกจํานวนนับของสิ่งของ ซึ่งเปนลักษณะเดนของ ภาษาไทยอีกประการหน่ึง 7. ภาษาไทยเปนภาษาดนตรี หมายถงึ มีการเปลย่ี นระดับเสียงได หรือเรียกกันวา “วรรณยุกต” ทําใหภาษาไทยมลี ักษณะพิเศษ คอื 7.1 มีคําใชม ากข้ึน เชน เสือ เสื่อ เส้ือ หรือ ขาว ขาว ขา ว เมื่อเติมวรรณยุกต ลงไปในคําเดิม ความหมายจะเปลย่ี นไปทนั ที
98 7.2 มีความไพเราะ จะสังเกตไดว า คนไทยเปนคนเจา บทเจา กลอนมาแตโ บราณแลวก็เพราะ ภาษาไทยมีวรรณยกุ ตส งู ตาํ่ เหมอื นเสยี งดนตรี ที่เอื้อในการแตง คําประพันธ เปน อยางดี เชน “ชะโดดุกระดโี่ ดด สลาดโลดยะหยอยหยอย กระเพือ่ มนํา้ กระพรํา่ พรอย กระฉอกฉานกระฉอนชล” จะเห็นวา เสียงของคําในบทประพันธน ้ีทําใหเกิดจินตนาการหรือภาพพจนด ังเหมือนกับเห็นปลาตา ง ๆ กระโดดขนึ้ ลงในนํ้าทีเ่ ปน ละลอก 7.3 ภาษาไทยนิยมความคลอ งจอง ไมว า จะเปน สํานวนหรือคําพังเพยในภาษาไทยจะมี คาํ คลองจอง เปน ทาํ นองสั่งสอนหรือเปรียบเทียบอยเู สมอ เชน รักดหี ามจ่วั รกั ช่ัวหามเสา นาํ้ มาปลากินมด นํ้าลดมดกนิ ปลา ขาวยาก หมากแพง 7.4 คําในภาษาไทยเลียนแบบเสยี งธรรมชาตไิ ด เพราะเรามีเสยี งวรรณยกุ ตใหใ ชถ งึ 5 เสยี ง เชน เลียนเสียงภาษาตางประเทศ เชน ฟตุ บอล วอลเลยบ อล เปาฮ้ือ เตาเจี้ยว ฯลฯ เลยี นเสียงธรรมขาติ เชน ฟารองครนื ๆ ฝนตกจก้ั ๆ ขา วเดอื ดคก่ั ๆ ระฆงั ดังหงา งหงาง ฯลฯ 8. ภาษาไทยมีคาํ พอ งเสยี ง พองรูป คําพองเสยี ง หมายถึง คําทมี่ ีเสียงเหมือนแตค วามหมายและการเขยี นตา งกัน เชน การ หมายถึง กจิ งาน ธรุ ะ กาน หมายถงึ ตัดใหเ ตียน กาฬ หมายถงึ ดํา กาล หมายถึง เวลา การณ หมายถงึ เหตุ กานต หมายถงึ เปนทีร่ กั กานท หมายถึง บทกลอน กาญจน หมายถึง ทอง คําพอ งรปู หมายถงึ คาํ ทรี่ ูปเหมอื นกันแตอ อกเสยี งและมคี วามหมายตางกัน เชน - เพลา อาน เพ-ลา แปลวา เวลา - เพลา อา น เพลา แปลวา เบา ๆ หรือตัก - เรอื โคลงเพราะโคลง อาน เรอื โคลงเพราะโค-ลง 9. ภาษาไทยมกี ารสรา งคํา เปน ธรรมชาติของภาษาทุกภาษาที่จะมีการสรา งคําใหมอยูเ สมอ แตภาษาไทยมีการสราง คาํ มากมายซ่งึ ตางกบั ภาษาอนื่ จงึ ทาํ ใหม ีคําใชในภาษาไทยเปนจาํ นวนมาก คือ 9.1 สรา งคาํ จากการแปรเสยี ง เชน ชมุ - ชอมุ 9.2 สรา งคาํ จากการเปลี่ยนแปลงเสยี ง เชน วิธี - พิธี วิหาร - พิหาร
99 9.3 สรา งคาํ จากการประสมคํา เชน ตู + เยน็ เปน ตเู ย็น, พดั + ลม เปน พดั ลม 9.4 สรา งคาํ จากการเปลย่ี นตาํ แหนงคํา เชน ไกไข - ไขไ ก, เดินทาง - ทางเดิน 9.5 สรา งคาํ จากการเปลีย่ นความเชน นยิ าม - เรื่องทเ่ี ลาตอ ๆ กนั มา, นยิ าย - การพดู เทจ็ 9.6 สรา งคาํ จากการนาํ ภาษาอ่นื มาใช เชน กว ยเตี๋ยว เตาหู เสวย ฯลฯ 9.7 สรา งคําจากการคดิ ต้ังคาํ ขนึ้ ใหม เชน โทรทศั น พฤติกรรม โลกาภวิ ตั น 10.ภาษาไทยมคี ําสรอยเสริมบทเพื่อใชพ ูดใหเสียงลื่นและสะดวกปากหรือใหเกิดจังหวะนา ฟง เพมิ่ ข้นึ ซง่ึ ในหลักภาษาไทยเราเรียกวา “คําสรอ ย หรอื คําอทุ านเสรมิ บท” เชน เรอ่ื งบาบอคอแตก ฉนั ไมชอบฟง ฉันไมเ ออออหอ หมกดวยหรอก ไมไปไมเปยกนั ละ คาํ แปลก ๆ ท่ีขีดเสน ใตนัน้ เปน คําสรอ ยเสริมบทเพราะใชพูดเสริมตอใหเ สียงล่ืนสะดวกปากและ นาฟง ซ่งึ เราเรียกวา คาํ สรอ ยหรอื อุทานเสรมิ บท จาก 1 ถึง 10 ดังกลาว เปนลักษณะเดน ของภาษาไทย ซ่ึงจริง ๆ แลว ยังมีอีกหลายประการ ซึง่ สามารถจะสังเกตจากการใชภาษาไทยโดยทัว่ ๆ ไปไดอ ีก การยมื คาํ ภาษาอ่นื มาใชในภาษาไทย ภาษาไทยของเรามีภาษาอนื่ เขามาปะปนอยูเปนจาํ นวนมาก เพราะเปน ธรรมชาติของภาษาที่เปน เคร่ืองมอื ในการส่ือสาร ถา ยทอดความรูค วามคิดของมนุษยแ ละภาษาเปนวัฒนธรรมอยางหน่ึง ซ่ึงสามารถ หยบิ ยืมกนั ไดโ ดยมีสาเหตจุ ากอิทธิพลทางภมู ิศาสตร คือ มเี ขตแดนติดตอ กันอิทธิพลทางประวัติศาสตรท ่ีมี การอพยพถิ่นที่อยู หรืออยูใ นเขตปกครองของประเทศอ่ืน อิทธิพลทางดานศาสนา ไทยเรามีการนับถือ ศาสนาพราหมณ ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสตและอื่น ๆ นอกจากน้ีอิทธิพลทางการศึกษา การคาขาย แลกเปล่ียนเทคโนโลยี จึงทาํ ใหเ รามีการยมื คําภาษาอื่นมาใชเ ปนจํานวนมาก เชน 1. ภาษาบาลี สันสกฤต ไทยเรารบั พทุ ธศาสนาลัทธิมหายาน ซ่ึงใชภาษาสันสกฤตเปนเคร่ืองมือ มากอนและตอ มาไดรับพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศม าอีกซึ่งในภาษาบาลีเปนเคร่ืองมือในการเผยแพรไ ทย จงึ รับภาษาบาลีสันสกฤตเขา มาใชใ นภาษาไทยเปน จํานวนมาก เชน กติกา กตเวทิตา กตัญู เขต คณะ จารตี ญตั ติ ทจุ รติ อารมณ โอวาท เกษยี ณ ทรมาน ภกิ ษุ ศาสดา สงเคราะห สตั ว อุทศิ เปนตน 2. ภาษาจนี ไทยกับจนี มคี วามสัมพันธก ันอยา งใกลช ิดทางดานเชอ้ื ชาติ ถิน่ ทอี่ ยูการตดิ ตอ คาขาย ปจ จบุ นั มีคนจนี มากมายในประเทศไทยจงึ มกี ารยมื และแลกเปลีย่ นภาษาซึ่งกันและกนั ภาษาจีนทไี่ ทยยมื มา ใชเปนภาษาพูดไมใชภ าษาเขียน คาํ ทเ่ี รายมื จากภาษาจนี มีมากมายตัวอยางเชน กว ยจ๊ับ ขมิ จับกัง เจง ซวย ซีอิ้ว ตว๋ั ทูช ้ี บะหมี่ หา ง ยี่หอ หวย บงุ กี้ อ้งั โล เกาเหลา แฮกนึ้ เปน ตน 3. ภาษาองั กฤษ ชาวอังกฤษ เขา มาเกี่ยวขอ งกับชาวไทยตั้งแตส มัยอยุธยา มีการติดตอ คาขาย และในสมัยรชั กาลท่ี 5 มีการยกเลิกอาํ นาจศาลกงสลุ ใหแ กไ ทยและภาษาอังกฤษเปนทยี่ อมรับกันท่ัวโลกวา เปนภาษาสากลทส่ี ามารถใชสื่อสารกันไดท ่ัวโลก ประเทศไทยมีการสอนภาษาอังกฤษต้ังแตป ระถมศึกษา
100 จงึ ทาํ ใหเรายมื คําภาษาองั กฤษมาใชใ นลกั ษณะคําทับศัพทอ ยา งแพรห ลาย เชน โฮเตล ลอตเตอร่ี เปอรเ ซน็ ต บอย โนต กอลฟ ลฟิ ท สวิตช เบยี ร ชอลก เบรก กอก เกม เชค็ แสตมป โบนสั เทคนิค เกรด ฟอรม แท็กซ่ี โซดา ปม คอลมั น เปน ตน และปจจบุ ันยังมภี าษาอันเกิดจากการใชค อมพิวเตอรจาํ นวนหนึง่ 4. ภาษาเขมร อาจดวยสาเหตุความเปนเพอ่ื นบานใกลเคียงและมีการติดตอ กันมาชา นานปะปน อยใู นภาษาไทยบา ง โดยเฉพาะราชาศัพทแ ละในวรรณคดเี ชน บังคลั กรรไกร สงบ เสวย เสดจ็ ถนอม เปน ตน กิจกรรม 1. ใหผ ูเรียนสังเกตและรวบรวม คําภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี สันสกฤต ภาษาจีน ภาษา องั กฤษ และภาษาอ่นื ๆ และเราใชก นั ในการพูดคยุ และใชใ นการสื่อสารมวลชนแลวบันทึกไว เพื่อนําไปใช ในการรายงานและการสือ่ สารตอ ไป 2. แบงผูเรยี นเปน 2 - 3 กลุม ออกมาแขงกนั เขยี นภาษาไทยแทบ นกระดาษกลุมละ 15 - 20 คํา พรอมกบั บอกขอสังเกตวา เหตผุ ลใดจงึ คดิ วา เปน คาํ ไทย การสรา งคาํ ขนึ้ ใชในภาษาไทย การสรางคําในภาษาไทยมีหลายวิธี ท้ังวิธีเปน ของเราแท ๆ และวิธีที่เรานํามาจากภาษาอื่น วิธี ทีเ่ ปน ของเราไดแก การผันเสียงวรรณยกุ ต การซา้ํ คํา การซอ นคาํ และการประสมคาํ เปน ตน สวนวธิ ที นี่ ํามา จากภาษาอื่น เชน การสมาส สนธิ การเตมิ อปุ สรรค การลงปจ จัย ดังจะไดกลา วโดยละเอียดตอไปนี้ 1. การผันเสียงวรรณยุกต วธิ กี ารน้ี วรรณยกุ ตทตี่ า งออกไปทําใหไดค ําใหมเ พิม่ ขนึ้ เชน เสอื เสอ่ื เส้อื นา นา นา นอง นอง นอ ง 2. การซํ้าคาํ คือ การสรางคําดว ยการนําเอาคําท่ีมีเสียงและความเหมือนกันมาซ้ํากัน เพ่ือเปลี่ยน แปลงความหมายของคําแตกตางไปหลายลักษณะ คอื 2.1 ความหมายคงเดมิ เขาก็ซนเหมือนเดก็ ทั่ว ๆ ไป ลูกยังเลก็ อยาใหน่งั ริม ๆ ไมปลอดภยั 2.2 ความหมายเดน ชดั ข้นึ หนักขึ้นหรือเฉพาะเจาะจงข้ึนกวาความหมายเดิม สอนเทาไหร ๆ ก็ไมเ ชอ่ื กนิ อะไร ๆ ก็ไมอรอ ย บางคาํ ตอ งการเนนความของคาํ ใหมากทีส่ ดุ ก็จะซ้ํา 3 คําดว ยการเปล่ียนวรรณยุกตของ คาํ กลาง เชน ดีด๊ีดี บางบางบาง รอรอ รอ หลอลอหลอ เปน ตน 2.3 ความหมายแยกเปน สดั สว นหรือแยกจาํ นวน เชน เกบ็ กวาดเปน หอง ๆ ไปนะ (ทีละหอง) พดู เปนเร่อื ง ๆ ไป (ทีละเร่ือง) 2.4 ความหมายเปน พหูพจนเ ม่อื ซ้าํ คาํ แลว แสดงใหเ ห็นวา มีจาํ นวนเพิ่มข้ึน เชน เขาไมเคยกลับบานเปนป ๆ แลว เดก็ ๆ ชอบเลนซน ใคร ๆ ก็รู
101 ชา ๆ ไดพราสองเลมงาม กนิ ๆ เขาไปเถอะ จะเห็นวาคาํ ทซี่ ํา้ กนั จะมที ั้งคาํ นาม กริยา คาํ สรรพนามและจะมีการบอกเวลาบอก จาํ นวนดว ย 2.5 ความหมายผดิ ไปจากเดมิ หรอื เม่อื ซาํ้ แลวจะเกดิ ความหมายใหม หรือมคี วามหมายแฝง เชน เร่อื งหมู ๆ แบบน้สี บายมาก (เรื่องงา ย ๆ) อยู ๆ ก็รองขน้ึ มา (ไมมีสาเหต)ุ จะเห็นไดว าการนําคํามาซ้ํากันนั้นทําใหไดคําท่ีมีรูปและความหมายแตกตา งออกไป ดังน้ัน การสรางคําซาํ้ จึงเปน การเพมิ่ คําในภาษาไทยใหม ีมากข้ึนอยา งหนึ่ง 3. การซอ นคํา คือ การสรา งคําโดยการนําเอาคําตั้งแตสองคําข้ึนไปซึ่งมีเสียงตางกันแตมี ความหมายเหมือนกันหรอื คลายคลึงกันหรือเปนไปในทํานองเดียวกันมาซอนคูกัน เชน เล็กนอย รักใคร หลงใหล บานเรอื น เปนตน ปกตคิ าํ ทนี่ าํ มาซอนกันน้นั นอกจากจะมีความหมายเหมือนกนั หรอื ใกลเ คียงกัน แลว มกั จะมีเสยี งใกลเคียงกนั ดวย ทง้ั น้ี เพอ่ื ใหออกเสียงไดงา ย สะดวกปาก คําซอ นทําใหเกิดคําใหมห รือ คาํ ท่มี คี วามหมายใหมเ กดิ ขน้ึ ในภาษา ทําใหม ีคําเพิ่มมากข้ึนในภาษาไทย อันจะชวยใหการสื่อความหมาย และการส่ือสารในชีวิตประจําวันมีประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึน คําท่ีนํามาซอนกันแลว ทําใหเ กิดความหมายน้ัน แบง เปน 2 ลักษณะ คอื 3.1 ซอนคาํ แลว มคี วามหมายคงเดิม การซอ นคาํ ลักษณะนี้จึงนาํ คําทมี่ คี วามหมายเหมือนกัน มาซอ นกันเพื่อไขความหรอื ขยายความซึง่ กนั และกัน เชน วางเปลา โงเ ขลา รปู ราง ละท้ิง อดิ โรย บาดแผล เปนตน 3.2 ซอ นคําแลว มคี วามหมายเปล่ียนแปลงไปจากเดิม คําซอนท่ีเปนคําที่เกิดความหมายใหมน ้ี มลี กั ษณะคือ ก. ความหมายเชิงอปุ มา เชน ยงุ ยาก ออนหวาน เบิกบาน เปนตน ข. ความหมายกวางออก เชน เจบ็ ไข พ่นี อง ทบุ ตี ฆาฟน เปน ตน ค. ความหมายแคบเขา เชน ใจดํา ปากคอ ญาติโยม หยิบยืม น้ําพักน้ําแรง สมสุก ลูกไม เปน ตน การแยกลักษณะคําซอนตามลักษณะการประกอบคํานั้นจะมีลักษณะคําซอ น 2 คําและคําซอ น มากกวา สองคํา เชน บา นเรือน สวยงาม ยากดมี ีจน เจบ็ ไขไ ดป วย อดตาหลับขับตานอน จับไมไดไลไ มท ัน เปน ตน 4. การสรา งคําประสม การสรา งคําข้ึนใชใ นภาษาไทยสวนหนึ่งจะใชวิธีประสมคําหรือวิธีการ สรา งคําประสม โดยการนําเอาคําที่มีใชอยูใ นภาษาไทย ซึ่งมีรูปคําและความหมายของคําแตกตางกัน มาประสมกันเพ่ือใหเ กิดคําใหม และมีความหมายใหมใ นภาษาไทย เชน พดั ลม ไฟฟา ตเู ย็น พอ ตา ลูกเสือ แมน ํ้า เรือรบ น้ําหอม น้ําแขง็ เมอื งนอก เปนตน
102 คาํ ท่ีนํามาประสมกันจะเปนคําไทยกับคาํ ไทยหรอื คาํ ไทยกับคําตา งประเทศก็ได เชน - คําไทยกับคาํ ไทย โรงเรียน ลกู เขย ผีเส้อื ไมเ ทา เปนตน - คําไทยกับคาํ บาลี หลกั ฐาน (หลกั คําไทย ฐานคําบาล)ี สภากาชาด พลเมอื ง ราชวงั ฯลฯ - คําไทยกับคําสันสกฤต ทุนทรัพย (ทุนคาํ ไทย ทรัพยค าํ สนั สกฤต) - คําไทยกบั คําจีน เยน็ เจย๊ี บ (เยน็ คาํ ไทย เจี๊ยบคําภาษาจีน) หวย ใตด นิ นายหา ง เกง จนี กินโตะ เขาหุน ฯลฯ - คาํ ไทยกับคําเขมร ละเอียดลออ (ละเอียดคาํ ไทย ลออคาํ เขมร) ของ ขลงั เพาะชาํ นายตรวจ - คาํ ไทยกับคาํ อังกฤษ เสอื้ เชติ้ (เสอ้ื คาํ ไทย เช้ิตคาํ องั กฤษ) พวงหรีด เหยือกนํา้ ตูเซฟ นายแบงค ไขกอ ก แปปนาํ้ ฯลฯ 5. การสรา งคําไทยโดยการนําวิธีการของภาษาอื่นมาใช การสรา งคําของภาษาอ่ืนท่ีนํามาใชใน ภาษาไทย ไดแก 5.1 การสรางคาํ ของภาษาบาลีและสันสกฤต คอื ก. วิธีสมาส สมาสเปนวิธีสรางศพั ทอยา งหนึง่ ในภาษาบาลี สันสกฤต โดยการนาํ คําศพั ท ต้ังแต 2 คําข้ึนไปรวมเปน ศัพทใหมศัพทเ ดียว จะมีลักษณะคลายกับคําประสมของไทย แตค ําสมาสนั้น เปนคําทม่ี าขยาย มักจะอยูหนา คําหลกั สวนคาํ ประสมของไทยน้ันคําขยายจะอยูข า งหลัง เชน คําวา มหา บุรษุ คําวา มหาบุรษุ คาํ วา มหา แปลวา ย่งิ ใหญ ซ่ึงเปนคําขยาย จะอยูหนาคําหลักคือ บุรุษ ดังนั้น คําวา มหาบุรษุ แปลวา บุรษุ ผูย่ิงใหญ ซงึ่ ตางจากภาษาไทย ซ่งึ สวนมากจะวางคําขยายไวห ลังคาํ ท่ถี ูกขยาย ตัวอยา งคาํ สมาสในภาษาไทย พลศึกษา ประวัติศาสตร ปริยัติธรรม กามเทพ เทพบุตร สุนทรพจน วิศวกรรม วิศวกร อากาศยาน สวัสดิการ คหกรรมศาสตร วิทยาศาสตร วิทยากร พิธีกร ชีพจร มหกรรม ประวัติศาสตร โทรทัศน โทรเลข วารสาร นติ ยสาร จลุ สาร พิพธิ ภัณฑ วนิ าศกรรม อุบัติเหตุ ปญญาชน รมณียสถาน สังฆทาน กจิ กรรม อุทกภัย วทิ ยุศึกษา หัตถศึกษา เปน ตน ข. วิธีลงอปุ สรรค วธิ สี รางคาํ ในภาษาบาลีและสนั สกฤตน้ันมีวิธลี งอุปสรรค (หรือบทหนา) ประกอบขา งหนาศพั ทเพือ่ ใหไ ดค ําที่มีความหมายแตกตางออกไป ซึง่ ไทยเราไดน าํ มาใชจาํ นวนมาก เชน อธิ + การ เปน อธกิ าร (ความเปน ประธาน) อนุ + ญาต เปน อนุญาต (การรับรู) อธิ + บดี เปน อธบิ ดี (ผเู ปน ใหญ) อนุ + ทิน เปน อนุทิน (ตามวัน,รายวัน) อป + มงคล เปน อปั มงคล (ไมมีมงคล) วิ + กฤต เปน วกิ ฤต (แปลกจากเดมิ ) อป + ยศ เปน อัปยศ (ไมมียศ) วิ + เทศ เปน วิเทศ (ตา งประเทศ) คําท่ีลงอุปสรรคดังกลา วน้ีจัดวาเปน คําสมาส ท้ังน้ีเพราะวิธีลงอุปสรรคเปน การรวบรวมศัพท ภาษาบาลีและสันสกฤตเขา ดวยกันและบทขยายจะวางอยูห นา บทท่ีถูกขยายในภาษาบาลีและสันสกฤต การลงอปุ สรรคเขา ขางหนา คาํ เปนวิธีการสมาสวธิ หี น่ึง
103 นอกจากน้ี การลงอุปสรรคของภาษาบาลี ถูกนํามาใชในภาษาไทยแลว ไทยเรายังนําวิธีการ ลงอปุ สรรคมาใชกับคําไทยและคําอื่น ๆ ในภาษาไทยอีกดวย เชน สมรู หมายความวา รว มคิดกนั สมทบ หมายความวา รว มเขาดวยกนั ค. การสนธิ การสรางคําในภาษาบาลี สนั สกฤต ซงึ่ มกี ารเปลย่ี นแปลงรูปคํา อันเนื่องมา จากการเปลี่ยนแปลงทางเสยี ง ซ่งึ เราเรียกวา “สนธ”ิ สนธิ เปนการเปล่ียนแปลงเสียง การสนธิเปน วิธีการสมาส โดยการเช่ือมคําใหก ลมกลืนกัน คือ ทายเสียงคาํ ตนกับเสียงของคาํ ที่นํามาตอ จะกลมกลนื กนั เปน วธิ ีสรางคําใหมใ นภาษาวิธหี นง่ึ วิธสี นธมิ ี 3 วธิ ีคือ 1. สระสนธิ คอื การรวมเสียงสระตัวทา ยของคํานําหนา กับสระตัวหนา ของคําหลังใหกลมกลืน สนทิ กันตามธรรมชาตกิ ารออกเสยี ง อะ + อ เปน อา เชน สุข + อภิบาล = สขุ าภิบาล อะ + อุ หรือ อู เปน อุ อู หรือ โอ เชน อรณุ + อทุ ยั = อรุโณทัย ราช + อปุ โภค = ราชปู โภค ฯลฯ 2. พยญั ชนะสนธิ เปนลักษณะการเชอื่ มและกลมกลนื เสยี งระหวา งคาํ ที่สุดศพั ทดวยพยัญชนะกับ คําที่ขึ้นตน ดว ยพยัญชนะหรือสระ เมอื่ เสยี งอยใู กลกนั เสยี งหนึ่งจะมีอิทธพิ ลดงึ เสียงพยัญชนะอีกเสียงหนึ่ง ใหมีลักษณะเหมอื นหรือใกลเคียงกนั พยัญชนะสนธิน้จี ะมีเฉพาะในภาษาสันสกฤตเทา นัน้ ในภาษาบาลีไมม ี เพราะศัพทใ นภาษาบาลีทกุ คาํ ตองสดุ ศพั ทดวยสระ ตัวอยาง เชน ธต เปล่ยี น เปน ทธ เชน พธุ + ต = พทุ ธ ราชน + บตุ ร = ราชบตุ ร ไทยใช ราชบุตร กามน - เทว = กามเทว ไทยใช กามเทพ 3. นฤคหติ สนธิ สนธนิ ิคหิตจะมลี กั ษณะการตอเชอื่ มและกลมกลืนเสียงระหวา งคําตน ที่ลงทายดว ย นิคหิต กับคาํ ท่ขี ึ้นตนดว ยสระหรอื พยัญชนะนคิ หิตเทยี บไดกับเสียงนาสิก ดังน้ัน นิคหิตจะกลายเปน นาสิก ของพยัญชนะตัวท่ีตามมา คือ ง ญ น ณ ม ถาตัวตามนิคหิตอยูว รรคเดียวกับ ง ก็จะเปลี่ยนเปน ง ถา อยู วรรคเดียวกบั ญ หรอื น หรอื ณ หรอื ม ก็จะเปลีย่ นเปน ญ น ณ ม ตามวรรค เชน สํ + เกต = สังเกต (เครื่องหมายร)ู สํ + ถาร = สนั ถาร (การปลู าด) สํ + พนธ = สมั พันธ การนําวิธีการสรางคําแบบคําสมาส คําลงอุปสรรคและวิธีสนธิในภาษาบาลีสันสกฤตมาใชใ น ภาษาไทย ถอื วาเปน การสรางคาํ หรือเพิ่มคาํ ในภาษาไทยมมี าก
104 5.2 การสรา งคาํ ของภาษาเขมร ไทยไดนาํ เอาวิธีสรา งคาํ ของเขมร คือ การแผลงคํามาใชใ น ภาษาไทย ซึ่งวิธีแผลงคําในภาษาเขมรมหี ลายวิธแี ตไ ทยเรานํามาใชบ างวิธีเทา น้นั คําแผลง คือ คําท่ีเปลี่ยนแปลงตัวอักษรใหมีรูปลักษณะตา งไปจากคําเดิม แตยังคงรักษา ความหมายเดมิ หรอื เคาเดิมเอาไวใ หพ อสงั เกตได วธิ ีแผลงคาํ ในภาษาไทย ทีน่ ํามาจากภาษาเขมรบางวิธี คือ 1. ใชว ิธเี ตมิ อาํ ลงหนาคาํ แผลงใหม แตค งรูปสระเดมิ ไวท ่พี ยางคหลัง เชน ตรวจ เปน ตาํ รวจ เกดิ เปน กาํ เนดิ เสรจ็ เปน สาํ เรจ็ เสียง เปน สําเนยี ง 2. ใชวิธีเตมิ อุปสรรค (หนวยหนาศพั ท) บํ (บอ็ ม) ลงหนาคําแผลงสว นใหญ ไทยนาํ เอามา ออกเสียง บัง บนั บํา เชน เกดิ ลงอปุ สรรค บํ เปน บเํ กิด ไทยใชบ ังเกิด ดาล ลงอุปสรรค บํ เปน บํดาล ไทยใชบ ันดาล การแผลงคําเปน วิธีสรางคําข้ึนใชใ นภาษาวิธีหนึ่ง ซึ่งไทยเอาแบบอยา งมาจากภาษาเขมรและ ภาษาอืน่ เชน ภาษาบาลี สันสกฤต เชน อายุ เปน พายุ อภริ มย เปน ภริ มย ไวปลุย เปน ไพบลู ย มาต เปน มารดา การแผลงคําของภาษาบาลี สนั สกฤต สว นใหญเพอ่ื จะไดอ อกเสียงในภาษาไทยไดง ายและไพเราะขึน้ ศพั ทบ ัญญตั ิ ศพั ทบัญญัติ หมายถึง คําเฉพาะวงการหรือคาํ เฉพาะวชิ าท่ผี คู ดิ ข้นึ เพือ่ ใชส ่ือความหมายในวงการ อาชีพหรือในวิชาการแขนงใดแขนงหนึ่ง โดยเฉพาะ ทั้งน้ี เพราะการศึกษาของเราไดข ยายตัวกวา งขวาง มากข้นึ การศึกษาจากตางประเทศกม็ ีมากขน้ึ เราตอ งรบั รคู าํ ศัพทข องประเทศเหลานั้นโดยเฉพาะคําศัพท ภาษาอังกฤษ ปจจุบนั มีศพั ทบญั ญตั ทิ ่ีใชกนั แพรหลาย โดยทั่วไปจํานวนมาก ซึ่งผูเ รียนคงจะเคยเห็นและเคยได ฟงจากส่ือมวลชน ซึ่งจะเปน คําศพั ทเก่ยี วกับธรุ กิจ กฎหมาย วิทยาศาสตร ฯลฯ จะขอยกตัวอยางเพยี งบางคาํ ดงั น้ี สินเชื่อ Credit หมายถึง เงนิ ทีเ่ ปน หนีไ้ วดว ยความเช่ือถือ เงินฝด Deflation หมายถงึ ภาวะเศรษฐกจิ ทีม่ ีปรมิ าณเงนิ หมนุ เวียน ในประเทศมนี อย การใชจายลดนอ ยลงทาํ ใหสินคาราคาตก เงนิ เฟอ Inflation หมายถงึ ภาวะเศรษฐกจิ ทป่ี รมิ าณเงนิ หมุนเวียนในประเทศมมี าก เกินไป ทําใหร าคาสินคาแพงและเงินเส่อื มคา ตกตํ่า ปรมิ าณเงนิ หมุนเวียนในประเทศมีนอย การใชจ ายลดนอ ยลง ทาํ ใหสินคา ราคาตก
105 ทนุ สาํ รอง Reserve fund หมายถงึ เงนิ ทกี่ ันไวจากผลกาํ ไรของหางหนุ สวนบริษัท ตามทกี่ าํ หนดไวใ นกฎหมายหรอื ขอ บังคบั ของหา งหนุ สว น บริษทั น้นั ๆ ทุนสาํ รองเงนิ ตรา Reserve หมายถึง ทองคํา เงินตราตา งประเทศหรอื หลกั ทรพั ยต าง ๆ ซง่ึ ใชเปน ประกันในการออกธนบตั รหรือธนาคารบตั ร เงนิ ปน ผล Dividend หมายถึง สว นกาํ ไรท่บี ริษัทจาํ กัดจายใหแ กผถู อื หุน กลอ งโทรทรรศน Telescope กลอ งทีส่ องดูทางไกล กลองจลุ ทรรศน Microscope กลองขยายดขู องเลก็ ใหเ หน็ เปนใหญ จรวด Rocket หมายถงึ อาวุธหรอื ยานอวกาศท่ขี ับเคลื่อนดว ยความเรว็ สงู โดยไดเชอื้ เพลิงในตวั เองเผาไหมเ ปน แกส พงุ ออกมาจากสวนทาย มีทัง้ ชนิดทใี่ ช เช้ือเพลงิ แข็งและชนดิ เชื้อเพลงิ เหลว ขปี นาวธุ Missile หมายถึง อาวุธซึง่ ถูกสง ออกไปจากผวิ พิภพ เพื่อใชประหัตประหาร หรือทําลายในสงคราม โดยมีการบงั คบั ทศิ ทางในตัวเอง เพอื่ นาํ ไปสู เปาหมายการบงั คบั ทศิ ทางนีบ้ ังคบั เฉพาะตอนขนึ้ เทา น้นั จรวดนําวถิ ี Guided Rocket หมายถึง ขปี นาวุธนาํ วถิ ี ซง่ึ ขบั เคล่อื นดวยจรวด จานบิน Flying Saucer หมายถงึ วตั ถุบนิ ลกั ษณะคลา ยจาน 2 ใบ คว่าํ ประกบกนั มผี อู างวาเคยเห็นบินบนทองฟา และมบี างคนเช่ือวาเปนยานอวกาศมาจาก นอกโลกหรือจากดาวดวงอน่ื บางครง้ั ก็เรียกวา จานผี ดาวเทยี ม Satellite หมายถึง วัตถุทมี่ นุษยสรา งขน้ึ เลยี นแบบดาวบรวิ าร ของดาวเคราะห เพื่อใหโคจรรอบโลกหรือรอบเทหฟ ากฟา อน่ื มีอปุ กรณ โทรคมนาคมดวย เชน การถา ยทอดคลื่นวทิ ยุและโทรทศั นขา มประเทศ ขา มทวปี เปน ตน แถบบันทึกเสียง Audiotape หมายถงึ แถบเคลอื บสารแมเหลก็ ใชบันทกึ สญั ญาณเสียง แถบบันทึกภาพ,แถบวีดิทัศน Videotape หมายถงึ แถบเคลอื บสารแมเ หลก็ ใช บนั ทึกสัญญาณภาพ โลกาภิวัตน Globalization หมายถงึ การทําใหแพรหลายไปท่วั โลก คําศพั ทบัญญัติที่ยกมาลวนมีความหมายทตี่ อ งอธบิ ายและมักจะมีความหมายเฉพาะดา นท่แี ตกตา ง ไปจากความเขา ใจของคนท่วั ไป หากผูเรียนตอ งการทราบความหมายท่ถี ูกตอ งควรคน ควาจากพจนานุกรม เฉพาะเรื่อง เชน พจนานุกรมศัพทแพทย พจนานุกรมศัพทธุรกิจ พจนานุกรมชางและพจนานุกรมศัพท กฎหมาย เปนตน หรือติดตามขา วสารจากสื่อตา ง ๆ ที่มีการใชค ําศัพทเ ฉพาะดานจะชวยใหเ ขา ใจดีข้ึน เพราะคําศพั ทบญั ญัตเิ หมาะสมท่จี ะใชเฉพาะวงการและผูมีพ้นื ฐานพอเขาใจความหมายเทาน้ัน
106 กจิ กรรม 1. ใหผูเ รียนรวบรวมคําศัพทบ ัญญัติจากหนังสือพิมพและหนังสืออ่ืน ๆ แลว บันทึกไวใ นสมุด เพอื่ จะไดน าํ ไปใชในการพูดและเขียนเม่อื มีโอกาส 2. ผูส อนยกคาํ มาถามทเ่ี หน็ สมควรใหผเู รียนชว ยกันแยกวาเปน คาํ สมาสหรือคาํ ประสม ประโยคในภาษาไทย ประโยคตอ งมคี วามครบ สมบรู ณ ใหรวู า ใครทาํ อะไร หรอื กลาวอีกอยา งหนงึ่ วา ประโยคตอ งประกอบดว ยประธานและกริยาเปนอยา งนอ ย เราสามารถแยกประโยคไดเ ปน 3 ชนดิ คือ ก. ประโยคแจง ใหทราบ หรอื ประโยคบอกเลา ประโยคชนิดนี้อาจจะเปนประโยคส้ัน ๆ มีเพียง คาํ นามทําหนา ที่ประธาน คํากริยาทําหนา ท่ีเปน ตัวแสดง เชน คนเดิน นกบิน แตบ างทีอาจจะเปน ประโยค ยาว ๆ มีความสลบั ซบั ซอนย่ิงขึน้ ซงึ่ มคี ํานาม คํากรยิ า หลายคํา ก็ได ถา ประโยคแจง ใหทราบนั้นมีเน้ือความปฏิเสธก็จะมีคําปฏิเสธ เชน ไมม ี หามิได อยูด วย เชน เขาไมมารวมประชุมในวนั นี้ ข. ประโยคถามใหต อบหรอื ประโยคคาํ ถาม เปนประโยคท่ีผูพูดใชถามขอ ความ เพ่ือใหผ ูฟ ง ตอบ รูปประโยคคําถามจะมีคํา หรอื ไหม ใคร อะไร ที่ไหน กี่ เมื่อไร อยางไร ฯลฯ แตถา ประโยคถามใหต อบเปน ประโยคถามใหตอบทมี่ เี นอ้ื ความปฏิเสธกจ็ ะมีคาํ ปฏเิ สธอยดู ว ย ค. ประโยคบอกใหท าํ หรอื ประโยคคาํ สั่ง เปนประโยคทผ่ี ูพูดใชเพอื่ ใหผ ฟู งกระทาํ อาการบางอยา ง ตามความตองการของผพู ดู การบอกใหผ ูอืน่ ทําตามความตอ งการของตนนัน้ อาจตองใชวธิ ีขอรอ งออนวอน วงิ วอน เชิญชวน บงั คบั ออกคาํ ส่งั ฯลฯ การเรยี งลาํ ดบั ในประโยค การเรียงลาํ ดับในภาษาไทยมีความสาํ คัญมากเพราะถา เรียงลําดับตา งกันความสัมพันธข องคาํ ในประโยคจะผิดไป เชน สนุ ขั กดั งู สนุ ขั เปน ผูทํา งูเปนผูถกู กระทํา งูกัดสนุ ัข งเู ปนผทู าํ สนุ ัขเปน ผถู ูกกระทาํ โครงสรา งของประโยค ประโยคในภาษาไทยแบง เปน 3 ชนิด คือ ก. ประโยคความเดียว คือ ประโยคทม่ี งุ กลาวถงึ ส่ิงใดส่ิงหน่ึงเพียงสิ่งเดียวและส่ิงนั้นแสดงกิริยา อาการหรอื อยูในสภาพอยางใดอยางหนึ่งแตเพียงอยางเดียว ประโยคความเดียวแบงออกเปน สวนสําคัญ 2 สวน คอื ภาคประธานและภาคแสดง เชน ผหู ญงิ ชอบดอกไม ถงึ แมจะมรี ายละเอยี ดเขา ไปในประโยค กย็ ังเปน ประโยคความเดียว เชน ผูหญิง คนนนั้ ชอบดอกไมส วย
107 ข. ประโยคความซอน คือ ประโยคความเดียวที่เพ่ิมสว นขยายภาคประธานหรือภาคแสดงดวย ประโยค ทําใหโ ครงสรา งของประโยคเปล่ียนไป แตถาประโยคที่เพิ่มข้ึนนั้นเปนประโยคชวยจํากัดความหมาย ของคาํ ถามหรอื คํากรยิ า ก็เปนประโยคซอน เชน ผูหญิงทีน่ ั่งขา ง ๆ ฉันชอบดอกไมท ี่อยใู นแจกัน ประโยคทชี่ ว ยจาํ กดั ความหมายของคํานาม “ดอกไม” คอื ประโยคทวี่ า “ท่อี ยใู นแจกนั ” เปน ตน ค. ประโยคความรวม คือ ประโยคท่ีมีสว นขยายเพ่ิมข้ึนและสว นที่ขยายสัมพันธก ับประโยคเดิม โดยมีคําเชื่อม และ แตถา ฯลฯ อยูขา งหนา หรืออยูข า งในประโยคเดิมหรือประโยคท่ีเพิ่มขึ้น ทําใหรูว า ประโยคทัง้ สองสมั พันธกันอยางไร เชน ผูหญิงชอบดอกไมสว นเด็กชอบของเลน เปนประโยคความรวม ประโยคที่เพิ่มขึ้นและสัมพันธก ับประโยคเดิมโดยมีคําเชื่อม “สวน” มาขา งหนาคือ ประโยค “เด็กชอบของเลน” เปน ตน เรอื่ งที่ 2 ถอ ยคําสํานวน สภุ าษิต คําพังเพย 1. ถอยคาํ ภาษาไทยมลี ักษณะพิเศษหลายประการ สามารถเลอื กใชใหเ หมาะสมในการสือ่ สาร เพ่อื ความเขาใจในส่ิงตา ง ๆ ไดอ ยางชดั เจนและตรงเปา หมาย 2. ถอยคาํ ภาษาไทยมลี ักษณะเปนศลิ ปะทมี่ คี วามประณตี สละสลวย ไพเราะ ลึกซง้ึ นา คดิ นา ฟง ร่นื หู จูงใจและหากนําไปใชไ ดเ หมาะกับขอความเร่ืองราวจะเพิ่มคุณคาใหข อ ความหรือเรื่องราวเหลา น้ัน มีนํ้าหนกั นา คิด นาฟง นา สนใจ นาติดตามยิ่งขนึ้ 3. ถอ ยคําภาษาไทย ถารูจ ักใชใ หถ ูกตอ งตามกาลเทศะและบุคคลนับวาเปนวัฒนธรรมอันดีงาม ของชาติและของผปู ฎบิ ัติ ถอ ยคําสาํ นวน ถอ ยคาํ สํานวน หมายถงึ ถอ ยคาํ ที่เรียบเรียง บางทีก็ใชว าสํานวนโวหาร คําพูดของมนุษยเ ราแยก ออกไปอยางกวา ง ๆ เปน 2 อยา ง อยางหน่งึ พูดตรงไปตรงมาตามภาษาธรรมดา พอพดู ออกมากเ็ ขาใจทันที อีกอยา งหนึ่งพูดเปนเชิงไมต รงไปตรงมา แตใ หมีความหมายในคําพูดน้ัน ๆ คนฟง เขา ใจความหมายทันที ถา คําพูดน้ันใชกันแพรหลาย เชน คําวา “ปากหวาน” “ใจงา ย” แตถ า ไมแพรห ลายคนฟง ก็ไมอ าจเขาใจ ทันที ตองคิดจึงจะเขา ใจ หรือบางทีคิดแลว เขา ใจเปนอยางอื่นก็ได หรือไมเขาใจเอาเลยก็ไดค ําพูดเชิงนี้ เราเรียกวา “สํานวน” การใชถ อ ยคําที่เปน สํานวนน้ัน ใชในการเปรียบเทียบบา ง เปรียบเปรยบาง พูดกระทบบา ง พูดเลน สนุก ๆ บา ง พดู เตอื นสตใิ หไ ดคิดบาง สํานวนไทย หมายถึง ถอ ยคําที่เรียบเรียงไวตายตัว เน่ืองจากใชก ันมาจนแพรห ลายอยูตัวแลว จะตดั ทอนหรือสลบั ท่ไี มไ ด เชน สํานวนวา “เกบ็ เบีย้ ใตถ ุนรา น”หมายความวา ทาํ งานชนิดท่ีไดเ งินเล็กนอย ก็เอา ถาเราเปลี่ยนเปน “เก็บเงินใตถุนบาน” ซึ่งไมใชสํานวนที่ใชก ัน คนฟง อาจไมเขาใจหรือเขาใจเปน อยางอ่นื เชน เกบ็ เงนิ ฝงไวใตถุนบาน
108 ลกั ษณะของสํานวนไทย 1. สํานวนไทยมีลักษณะท่ีมีความหมายโดยนัย โดยปกติความหมายของคํามีอยา งนอย 2 ประการ คือ 1.1 ความหมายโดยอรรถ ไดแก ความหมายพื้นฐานของคําน้ัน ๆ โดยตรง เชนคําวา “กิน” ความหมายพื้นฐานท่ีทุกคนเขาใจก็คือ อาการท่ีนําอะไรเขา ปากเค้ียวแลวกลืนลงไปในคอ เชน กินขาว กนิ ขนม เปน ตน 1.2 ความหมายโดยนัย ไดแ ก การนําคํามาประกอบกันใชในความหมายที่เพ่ิมจากพื้นฐาน เชน คาํ วา กนิ ดบิ - ชนะโดยงา ยดาย กนิ โตะ - รุมทาํ ราย กนิ แถว - ถกู ลงโทษทุกคนในพวกนนั้ กนิ ปนู รอ นทอง - ทําอาการพิรธุ ข้ึนเอง 2. สํานวนไทยมีลักษณะมีความหมายเพื่อใหตีความ มีลักษณะติชม หรือแสดงความเห็น อยูในตวั เชน เกลอื เปน หนอน กนิ ปูนรอ นทอง ตกบนั ไดพลอยโจน งมเขม็ ในมหาสมทุ ร เปน ตน 3. สํานวนไทย มลี ักษณะเปน ความเปรยี บเทยี บหรอื คําอุปมา เชน ใจดาํ เหมือนอีกา เบาเหมือนปยุ นนุ รกั เหมือนแกว ตา แขง็ เหมอื นเพชร เปน ตน 4. สาํ นวนไทยมลี กั ษณะเปน คําคมหรือคํากลา ว เชน หนา ชื่นอกตรม หาเชา กินค่ํา หนา ซื่อใจคด เปนตน 5. สํานวนไทย มีลักษณะเปนโวหารมีเสียงสัมผัสคลองจองกัน หรือบางทีก็ยํ้าคํา เชน ขาวแดง แกงรอน ขุนขอ งหมองใจ จับมือถือแขน บนบานศาลกลาว กินจุบกินจิบ ประจบประแจง ปากเปยก ปากแฉะ อม่ิ อกอ่ิมใจ เปนตน ตัวอยางสํานวนไทย 1. สํานวนท่ีมีเสียงสัมผัส สํานวนเหลา น้ีมักจะมีจํานวนคําเปน จํานวนคู ต้ังแต 4 คํา จนถึง 12 คําดังนี้ 1.1 เรียง 4 คํา เชน ขา วแดงแกงรอ น คอขาดบาดตาย โงเงาเตาตุน ฯลฯ 1.2 เรยี ง 6 คาํ เชน คดในของอในกระดูก ยใุ หร ําตําใหรว่ั นกมหี หู นมู ปี ก ฯลฯ 1.3 เรียง 8 คํา เชน กินอยูกับปาก อยากอยูก ับทอ ง ไกงามเพราะขน คนงามเพราะแตง ความรทู วมหวั เอาตวั ไมรอด เปน ตน 1.4 เรยี ง 10 คาํ เชน คนรักเทาผนื หนงั คนชงั เทาผนื เสือ่ คบคนใหด หู นา ซอ้ื ผาใหด ูเนอื้ ดกั ลอบตอ งหม่ันกู เจาชูตองหมัน่ เกยี้ ว เปน ตน 1.5 เรยี ง 12 คํา เชน ปลกู เรือนตามใจผอู ยู ผกู อูตามใจผนู อน มีเงินเขานับเปนนอ ง มีทองเขานับเปนพ่ี เลนกบั หมาหมาเลียปาก เลน กบั สากสากตอยหัว
109 2. สํานวนทไี่ มม เี สยี งสัมผสั สํานวนเหลา นม้ี ีมากมาย สว นมากมีตัง้ แต 2 คาํ ขึ้นไป จนถึง 8 คาํ เชน 2.1 เรยี ง 2 คาํ เชน กนั ทา แกเ ผด็ เขาปง ตกหลุม ตายใจ ฯลฯ 2.2 เรียง 3 คาํ กา งขวางคอ เกลือเปน หนอน คลมุ ถงุ ชน ควา นา้ํ เหลว ฯลฯ 2.3 เรยี ง 4 คาํ เชน กิง่ ทองใบหยก กิ้งกาไดท อง กินปูนรอ นทอง นํา้ ผงึ้ หยดเดยี ว นอนตายตาหลบั ขาวใหมปลามัน เปน ตน 2.4 เรยี ง 5 คํา เชน ขนหนา แขงไมร ว ง ตงี ใู หห ลังหกั จบั ปใู สกระดง ฯลฯ 2.5 เรยี ง 6 คํา เชน กลนื ไมเ ขาคายไมออก นิ้วไหนรายตัดน้วิ น้ัน บานเมอื งมีขอื่ มแี ป พลกิ หนา มอื เปน หลังมือ 2.6 เรียง 7 คํา เชน กนิ บนเรือนขร้ี ดหลังคา นกนอยทํารงั แตพ อตวั ตําน้ําพรกิ ละลายแมน้าํ สบิ ปากวาไมเ ทาตาเห็น เรอ่ื งขห้ี มรู าขี้หมาแหง ฯลฯ สํานวน หมายถงึ กลมุ ของวลี คาํ หรอื กลมุ คําท่นี ํามาใชในความหมายทแ่ี ตกตางไปจากความหมาย เดิม ความหมายทเ่ี กดิ ข้ึนมักจะเปน ความหมายในเชิงอุปมา หรือเชิงเปรียบเทียบ ไมไดใหคติธรรม แตจ ะเปน ความหมายท่กี ระชับและลึกซึ้ง เชน สํานวนวา เรื่องกลว ย ๆ คําวา กลว ย ๆ ไมไ ดหมายถึง ผลไม แตห มายถึง งา ย ๆ เรื่องไมยากเปน เรอื่ งงาย ๆ สาํ นวนภาษาไทยอาจจะประกอบคาํ ตั้งแต 1 คําขนึ้ ไปจนถงึ หลายคาํ หรอื เปนกลมุ ตวั อยา งเชน ปากหวาน = พดู เพราะ ลกู หมอ = คนเกาของสถานท่ใี ดสถานท่หี น่ึง หญาปากคอก = เรื่องงา ย ๆ ทค่ี ิดไมถ ึง กงกรรมกงเกวียน = กรรมสนองกรรม พกหินดกี วา พกนุน = ใจคอหนักแนนดกี วา หเู บา การใชสํานวนไปประกอบการส่ือสารน้ัน ผูใชต อ งรูค วามหมายและเลือกใชใ หเ หมาะสมกับเพศ โอกาสและสถานการณ เชน เฒาหัวงู = มักจะใชเปรยี บเทยี บ หมายถึง ผูชายเทา นนั้ ไกแกแ มปลาชอน = มักใชเ ปรียบเทยี บกบั ผูหญิงเทา นนั้ ขบเผาะ = มกั ใชกับผหู ญงิ เทา นน้ั ไมใ ชกบั ผูชาย คําพังเพย มีความหมายลึกซึง้ กวา สํานวน ซึง่ จะหมายถึง ถอ ยคาํ ท่กี ลาวข้ึนมาลอย ๆ เปน กลาง ๆ มีลักษณะติชม หรือแสดงความเห็นอยูในตัว มีความหมายเปน คติสอนใจคําพังเพยเมื่อนําไปตีความแลว สามารถนําไปใชป ระกอบการพดู หรือเขยี นใหเ หมาะสมกบั เรอ่ื งทีเ่ ราตอ งการถายทอด หรือส่ือความหมาย ในการส่อื สาร เชน ช้ีโพรงใหกระรอก = การแนะนําใหคนอนื่ ทาํ ในทางไมด ี ปลกู เรอื นตามใจผูอ ยู = จะทําอะไรใหค ดิ ถึงผทู ีจ่ ะใชส ง่ิ นัน้ รําไมดีโทษปโ ทษกลอง = คนทาํ ผิดไมยอมรบั ผิดกลบั ไปโทษคนอ่นื
110 นอกจากนยี้ งั มคี ําพังเพยอีกมากที่เราพบเหน็ นาํ ไปใชอยเู สมอ เชน กาํ แพงมีหูประตมู ชี อ ง เห็นกงจกั รเปน ดอกบัว ทํานาบนหลงั คน เสียนอ ยเสยี ยากเสียมากเสียงาย ฯลฯ สภุ าษิต หมายถึง คํากลา วดี คําพูดท่ีถือเปนคติ เพื่ออบรมส่ังสอนใหทําความดีละเวนความชั่ว สุภาษิต สว นใหญม ักเกิดจากหลักธรรมคําสอน นิทานชาดก เหตุการณห รือคําส่ังสอนของบุคคลสําคัญ ซง่ึ เปน ท่ีเคารพนบั ถือ เลอ่ื มใสของประชาชน ตัวอยาง เชน ตนแลเปนที่พงึ่ แหงตน ทําดไี ดด ี ทาํ ชว่ั ไดช ั่ว ทใี่ ดมีรกั ทน่ี ัน่ มีทกุ ข หวานพืชเชนไร ยอมไดผ ลเชนนนั้ ความพยายามอยูท ไ่ี หน ความสําเรจ็ อยูท่นี ั่น ใจเปนนายกายเปน บาว ฯลฯ การนําสํานวน คําพังเพย สุภาษิตไปใชป ระกอบการถา ยทอดความรูความคิดอารมณค วามรูส ึก ในชวี ิตนัน้ คนไทยเรานิยมนาํ ไปใชก ันมาก ทงั้ นี้ เพราะสาํ นวน สภุ าษติ คาํ พังเพย มีคณุ คาและความสําคัญ คอื 1. ใชเปนเครอ่ื งมืออบรมส่งั สอน เยาวชนและบุคคลทว่ั ไปใหปฏิบัติดี ปฏบิ ตั ชิ อบในดา นตาง ๆ เชน การพดู การถายทอดวฒั นธรรม การศกึ ษาเลาเรียน การคบเพ่อื น ความรกั การครองเรอื นและ การดาํ เนินชวี ิตดานอนื่ ๆ 2. ถอยคําสํานวน คําพังเพย สุภาษิต สะทอนใหเห็นสภาพการดําเนินชีวิตความเปนอยูของคน สมยั กอนจนถึงปจจบุ นั ในดา นสงั คม การศกึ ษา การเมอื ง การปกครอง เศรษฐกิจ นิสัยใจคอและอน่ื ๆ 3. สะทอ นใหเหน็ ความเชอื่ ความคดิ วสิ ัยทัศนของคนสมยั กอ น 4. การศึกษาสํานวน คาํ พังเพย สภุ าษติ ชวยใหม ีความคิด ความรอบรู สามารถใชภ าษาไดด ีและ เหมาะสมกับโอกาส กาลเทศะและบุคคล กอปรท้ังเปนการชวยสืบทอดวัฒนธรรมทางภาษาไวใหคงอยู คชู าติไทยตลอดไป กจิ กรรม ใหผูเรียนรวบรวม สํานวน คําพังเพย สุภาษิต จากหนังสือและแหลง ความรูอ ื่น ๆ พรอ มศึกษา ความหมายใหเ ขาใจ เพื่อนําไปใชในการรายงาน การพดู การเขียน ในชีวิตประจาํ วัน
111 เร่ืองท่ี 3 การใชพจนานกุ รมและสารานุกรม ความสาํ คัญของพจนานุกรม พจนานุกรมเปนหนงั สอื อา งองิ ทส่ี าํ คญั และเปน แบบฉบับของการเขียนหนังสือไทยในทางราชการ และโรงเรียน เพ่อื ใหก ารเขยี นหนงั สอื ไทยมีมาตรฐานเดียวกันไมล ักล่ันกอใหเ กิดเอกภาพ ทางภาษา อนั เปน วฒั นธรรมสวนหนง่ึ ของชาตไิ ทย ตามปกติแลวเราจะเปด ใชเ มื่อเกดิ ความสงสัยใครรูใ นการอาน เขียน หรือ แปลความหมายของสํานวน หากเปด ใชบ อย ๆ จะเกิดความรูค วามชาํ นาญ ใชไดร วดเรว็ และถกู ตอ ง ความหมายของพจนานกุ รม คาํ วา พจนานกุ รม เทียบไดกับคําภาษาอังกฤษคือ Dictionary พจนานุกรม หมายถึง หนังสือ รวบรวมถอยคําและสํานวนที่ใชอ ยูในภาษาโดยเรียงลําดับตามอักษรแรกของคํา เริ่มตั้งแตคําที่ขึ้นตน ดว ย ก.ไก ไปจนถงึ คําทขี่ ้ึนตน ดว ย ฮ.นกฮูก ซ่ึงแตล ะคําพจนานุกรมจะบอกการเขียนสะกดการันต บางคํา จะบอกเสียงอานดว ย หากคําใดท่ีมีมาจากภาษาตางประเทศก็จะบอกเทียบไว บางคํามีภาพประกอบ เพื่อเขา ใจความหมายยิ่งขนึ้ และสงิ่ ทีพ่ จนานุกรมบอกไวทุกคําคอื ชนดิ ของคําตามไวยากรณก ับความหมาย ของคํานนั้ ๆ พจนานุกรมจึงทาํ หนาท่ีเปนแหลงเรียนรูทางภาษาคอยใหความรูเกี่ยวกับการอาน การเขียน และบอกความหมายของถอยคาํ สาํ นวนใหเ ปนทีเ่ ขา ใจอยา งส้ัน งาย รวบรดั หนังสือพจนานุกรมภาษาไทยฉบับท่ีไดมาตรฐานและเปน ท่ียอมรับท่ัวไป คือ พจนานุกรม ฉบับราชบณั ฑิตยสถานฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2525 และฉบบั ปรบั ปรุง ป 2542 กจิ กรรม พจนานกุ รมจะเรยี งคําตามอกั ษรตัวแรกของคาํ โดยลาํ ดบั ตัง้ แต ก.ไก ไปจนถึง ฮ.นกฮกู จงลําดบั คาํ 5 คาํ ตอไปนต้ี ามหลักพจนานกุ รม หมู แมว เปด ไก นก (ถาเรียงไมไดใหเ ปดพจนานุกรมดูหรอื ถามผรู ู) วธิ ีใชพ จนานกุ รม พจนานุกรมจัดเปนหนังสือประเภทไขขอของใจทางภาษา ตามปกติแลว เราจะเปด ใชเ ม่ือเกิด ความสงสัยใครรูในการอาน เขียน หรือแปลความหมายของถอ ยคําสํานวน หากเปด บอย ๆ จะเกิดความ คลองแคลว รวดเรว็ และถูกตอง ถาเปรียบเทียบวธิ ใี ชพจนานกุ รมกับการพิมพดีด วายนํ้า ขับรถ ทอผา หรือทํานา ก็คงเหมือนกัน คอื ฝกบอ ย ๆ ลงมอื ทาํ บอย ๆ ทาํ เปนประจาํ สม่ําเสมอ ไมชาจะคลอ งแคลวโดยไมร ตู ัว
112 การใชพจนานุกรมจงึ ไมใชเรอื่ งยากเย็นอะไร ขอแนะนาํ ข้นั ตอนงา ย ๆ ดงั น้ี ขั้นท่ี 1 หาพจนานุกรมมาใชใ นมือหน่ึงเลมเปด อานคํานําอยางละเอียด เราตองอา นคํานํา เพราะเขาจะอธบิ ายลักษณะและวิธีใชพจนานุกรมเลมนั้นอยา งละเอียด ขนั้ ที่ 2 ศึกษารายละเอียดตาง ๆ ที่จาํ เปนตอ งรู เพอื่ ความสะดวกในการเปด ใช เชน อกั ษรยอ คํายอ เปน ตน เพราะเมอื่ เปดไปดคู าํ กับความหมายแลวเขาจะใชอกั ษรยอ ตลอดเวลา โปรดดูตวั อยา งจาก พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช 2525 หนา 9 - 10 อักษรยอทใ่ี ชพ จนานกุ รม (1) อกั ษรยอในวงเล็บ (...) บอกทมี่ าของคํา (2) อกั ษรหนา บทนยิ าม บอกชนดิ ของคําตามหลักไวยากรณ (3) อกั ษรยอในวงเล็บหนา บทนยิ าม บอกลกั ษณะของคาํ ที่ใชเฉพาะแหง (4) อกั ษรยอ หนงั สืออา งองิ (5) คําวา “ด” ที่เขยี นตอทา ยคาํ หมายความวาใหเ ปด ดใู นคาํ อ่ืน เชน กรรม ภริ มย ดูกรรภิรมย บญั ชอี กั ษรยอท่ีใชในพจนานุกรมนี้ (1) อกั ษรยอในวงเลบ็ บอกท่ีมาของคาํ ข = เขมร ต = ตะเลง ล = ละติน จ = จนี บ = เบงคอลี ส = สนั สกฤต ช = ชวา ป = ปาลิ (บาลี) อ = อังกฤษ ญ = ญวน ฝ = ฝร่ังเศษ ฮ = ฮนิ ดู ญ = ญ่ปี นุ ม = มาลายู (2) อักษรยอหนา บทนยิ าม บอกชนิดของคําตามไวยากรณ คือ : ก. = กริยา ว. = วิเศษณ (คุณศัพทห รอื กริยาวเิ ศษณ) น. = นาม ส. = สรรพนาม นิ = นบิ าต สัน = สนั ธาน บ. = บรุ พบท อ. = อทุ าน (3) อักษรยอในวงเล็บหนาบทนยิ าม บอกลกั ษณะของคําทใี่ ชเ ฉพาะแหง คือ (กฎ) คอื คําทใ่ี ชในกฎหมาย (กลอน) คือ คาํ ท่ใี ชในบทรอ ยกรอง (คณติ ) คือ คําท่ใี ชในคณติ ศาสตร (จรยิ ) คือ คําทใี่ ชใ นจริยศาสตร (ชวี ) คอื คาํ ท่ีใชในชวี วิทยา
113 (ดารา) คือ คําที่ใชในดาราศาสตร (ถนิ่ ) คอื คําทภี่ าษาเฉพาะถ่ิน (ธรณ)ี คอื คําทีใ่ ชในธรณวี ิทยา (บญั ช)ี คือ คําท่ีใชใ นการบญั ชี (แบบ) คอื คาํ ทใ่ี ชเฉพาะในหนงั สือ ไมใ ชคําท่วั ไป เชน กนก ลปุ ต ลพุ ธ (โบ) คอื คําโบราณ (ปาก) คือ คําทเ่ี ปน ภาษาปาก (พฤกษ) คือ คาํ ทใ่ี ชใ นพฤกษศาสตร (4) อักษรยอหนังสือทอ่ี างองิ มดี งั นี้ คือ กฎมนเทียรบาล ในกฎหมายราชบรุ ี : หนงั สอื กฎหมาย พระนพิ นธในกรมหลวงราชบรุ ดี เิ รกฤทธิ์ ฉบบั โรงพมิ พก องลหุโทษ ร.ศ. 120 กฎ.ราชบรุ ี : หนงั สอื กฎหมาย พระนิพนธใ นกรมหลวงราชบรุ ดี เิ รกฤทธ์ิ ฉบบั โรงพมิ พกองลหุโทษ ร.ศ. 120 กฎหมาย : หนงั สือเร่ืองกฎหมายเมืองไทย หมอปรัดเลพมิ พ จ.ศ. 1235 กฐนิ พยหุ : ลลิ ติ กระบวนแหพระกฐนิ พยุหยาตรา พระนิพนธในสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมมานชุ ติ ชิโนรส. ฯลฯ ขั้นท่ี 3 ศกึ ษาวิธีเรียงคาํ ตามลาํ ดับพยญั ชนะตัวแรกของคํา คือ เรียง ก.ไก ไปจน ฮ.นกฮูก สงั เกต วาเขาเรยี งไวอ ยา งไร ลักษณะพิเศษที่แปลกออกไปคอื ตัว ฤ. ฤๅ. จะลาํ ดับไวห ลังตวั ร. เรือ สว น ฦ. ฦๅ จะอยูหลงั ตัว ล. ลิง และหากคําใดใชพ ยัญชนะเหมือนกนั เขาก็ลําดบั โดยพจิ ารณารูปสระพิเศษอีกดวย การลําดับคําตามรปู สระกม็ ลี ักษณะทตี่ อ งสนใจเปน พเิ ศษ เขาจะเรยี งคําตามรปู ดังนี้ คาํ ทีไ่ มมีรูปสระมากอ น แลว ตอ ดวยคําท่มี รี ูปสระ -ะ -า -ิ -ี -ึ -ื -ุ -ู เ-ะ เ- เ -ะื เ -ื -วั ะ -ัว เ-า เ-าะ -ำ เ -ีะ เ -ี แ- แ-ะ โ- โ-ะ ใ- ไ- โปรดดูตัวอยา งการเรียงคาํ จากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2525 และ 2542 ข้นั ที่ 4 ศกึ ษาเครอื่ งหมายวรรคตอนท่ีใชในพจนานกุ รม เคร่ืองหมายจุลภาค ( , ) ใชค่ันความหมายหรือบทนิยามของคําที่มีความหมาย หลายอยางแตมี ความหมายคลา ย ๆ กันหรอื เปนไวพจนของกัน
114 ตัวอยา ง กระตือรอื รน ก.รีบเรง , เรงรบี , ขมีขมัน, มใี จฝก ใฝเ รารอ น เคร่ืองหมายอฒั ภาค ( ; ) (1) ใชค ่ันเคร่ืองหมายหรือบทนิยามของคําที่มีความหมายหลายอยา งแตค วามหมายมีนัย เนือ่ งกับความหมายเดมิ ตวั อยาง ก่งิ น. สวนที่แยกออกจากลําตน,แขนง;ใชเ รียกสวนยอ ยที่แยกออกไปจากสว นใหญขึ้นอยูก ับ สว นใหญ เชน ก่ิงอําเภอ ก่ิงสถานีตํารวจ; ลักษณะนามเรียกงาชา งวา กิ่ง; เรือ ชนิดหนึ่งในกระบวน พยุหยาตรา (2) ค่นั บทนิยามที่มีความหมายไมสมั พันธกนั เลย ตวั อยาง เจริญ (จะเริน) ก.เตบิ โต, งดงาม, ทําใหง อกงาม เชน เจริญทางไมตรี, มากขึ้น; ท้ิง เชน เจริญ ยา; ตัด เชน เจริญงาชา ง; สาธยาย, สวด (ในงานมงคล) เชน เจริญพระพุทธมนต เปน ตน (3) คนั่ อักษรยอ บอกทม่ี าของคํา ตัวอยาง กณุ ฑล [ทน] น. ตุมห.ู (ป. ; ส.) คัน่ อักษร ป. กบั อักษร ส. ซ่ึงมาจากคําวา บาลีกบั สนั สกฤต เครอ่ื งวงเล็บเหลย่ี ม [ ] คาํ ในวงเล็บเหล่ียมเปน คําทบี่ อกเสียงอา น ตัวอยา ง ราชการ [ราดชะกาน] เปนตน เคร่ืองหมายนขลขิ ิต ( ) อกั ษรยอทอ่ี ยใู นวงเลบ็ บอกทีม่ าของคาํ เชน (ข.) มาจากภาษาเขมร อักษรยอ ท่ีอยูในวงเล็บหนา บทนิยามบอกลักษณะคําท่ีใชเฉพาะแหง เชน (กฎ) ในภาษา กฎหมาย เครือ่ งหมายยัติภงั ค ( - ) (1) เขยี นไวขางหนาคําเพอ่ื ใหส ังเกตวาเปนคําที่ใชพวงทายคําศพั ทอ ื่น ตัวอยา ง - เกง็ กอย ใชเขา คกู บั คํา เขยง เปน เขยง เกงกอย. (2) เขยี นไวห ลังคาํ เพ่ือใหสงั เกตวามีคาํ พว งทา ย ตวั อยาง โ-ขม [โขมะ] (แบบ) น. โกษม, ผาใยไหม (ผา ลินนิ ), ผาขาว, ผา ปา น ประกอบวาโขมพัตถ และ แผลงเปน โขษมพสั ตร กม็ ี. (ป. ; ส. เกษม.)
115 (3) แทนคาํ อานของพยางคทไ่ี มม ปี ญ หาในการอาน ตวั อยาง กุณฑล [-ทน] น. ตมุ หู. (ป.; ส.) เคร่อื งหมายพนิ ทจุ ดุ ไวใตตัว ห ซึ่งเปน อกั ษรนําเวลาอา นไมอ อกเสียง เชน [เหลฺ า] ไมอ า นวา เห-ลา เครื่องหมายพินทุจดุ ไวใตพยัญชนะตวั หนา ทเ่ี ปนตัวอกั ษรควบหรือกลํา้ ในภาษาไทยมี 3 ตัว ร ล ว เทาน้ัน ท่ีออกเสียงควบกล้ํา นอกนั้นไมนิยม ข้นั ที่ 5 ศึกษาตัวเลขทเ่ี ขยี นตอ ทา ยคาํ ตวั เลขทเี่ ขียนตอทา ยคาํ หมายถึง คาํ น้นั มหี ลายความหมายแตกตางกนั ตวั อยา ง กระทิง 1 น. ช่ือวัวปา ชนิด (Bos gaurus) ในวงศ Bovidace ขนยาวตัวสีดําหรือดําแกม นํา้ ตาล ยกเวนแตท ่ีตรงหนา ผากและขาทง้ั 4 เปน ขาวเทา ๆ หรือเหลอื งอยา งสีทอง กระทงิ 2 น. ชอื่ ตน ไมชนิดหน่ึง (Calophyllum inophyllum) ในวงศ Guttiferae ใบและ ผลคลา ยสารภี แตใ บขึ้นสันมากและผลกลมกวา เปลือกเมล็ดแข็ง ใชทําลูกฉลากหรือกระบวยของเลน , สารภที ะเล หรอื กากะทิง ก็เรียก. กระทิง 3 น. ชอื่ ปลานา้ํ จดื จาํ พวกหนง่ึ (Mastocembelus sp.) ในวงศ Mastocembelidae มหี ลายชนดิ ตัวเรียวยาวขา งแบน พ้ืนสีน้ําตาลแก บางตัวมีลายขาวเปน วงกลม ๆ บางตัวมีลายเปนบ้ัง ๆ คาดจากหลงั ถงึ ใตท อ ง มีครบี บนสันหลงั ยาวตดิ ตอ ตลอดถึงหาง ปลายจมูกเล็กแหลมผิดกวาปลาธรรมดา อาศยั อยูในแมน ํา้ ลาํ คลองทัว่ ไป ใหผูเ รียนสังเกตความหมายของคําวา “กระทิง 1” “กระทิง 2” “กระทิง 3” วา เหมือน หรือ แตกตา งกนั เราเรยี ก “กระทงิ 1” วา กะทงิ ในความหมายท่ี 1 หมายถึง ช่ือ วัวปา.... เมื่อศึกษาเขาใจพจนานุกรมทั้ง 5 ข้ันตอนแลว ควรฝกคน หาคําขอ ความหรือฝกใช พจนานุกรมดว ยตนเองใหเกิดความชาํ นาญ ก็จะเปนประโยชนก บั ตนเองตลอดชวี ิตทีเดียว สารานุกรม หนังสือสารานกุ รม เปน หนังสือรวมความรูต า ง ๆ ในทุกแขนงวิชาใหรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติ ความเปนมา วิวัฒนาการตา ง ๆ และความรูท ั่วไป อาทิ ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร วิทยาศาสตร ฯลฯ เรียงลาํ ดับไวอยา งดี แตส วนใหญจะเรียงตามตัวอักษรและมีการปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ จะมีการออก หนังสือเปนรายปเพิ่มเติม เพื่อเปนการรวบรวมความรูว ิทยาการใหม ๆ ที่เกิดขึ้นในรอบป การเลือกใช สารานุกรมจึงควรเลือกสารานุกรมท่ีพิมพใ นปล าสุดและเลือกใหสอดคลอ งกับความตองการของตนเอง สารานกุ รมจะมีทงั้ สารานุกรมเฉพาะวิชา สารานุกรมทั่วไป สารานุกรมสําหรบั เยาวชน สารานุกรมสําหรับ ผใู หญ มีทง้ั สารานกุ รมหลายเลม จบและสารานกุ รมเลมเดยี วจบ
116 วธิ ใี ชส ารานกุ รม 1. พิจารณาวา เร่ืองที่ตอ งการคนควาเปนความรูลักษณะใดเปน ความรูท ่ัวไปหรือเปนความรู เฉพาะวิชา 2. เลอื กใชสารานกุ รมตามเร่ืองทต่ี นเองตองการ ตวั อยา ง ถา ตองการคนหาความรูง าย ๆ พื้นฐาน ทวั่ ไปกใ็ หใชส ารานกุ รมทวั่ ไปสาํ หรับเยาวชน แตถ าตองการหาความรพู นื้ ฐานอยา งละเอียดก็ใชสารานุกรม ทัว่ ไปสําหรับผใู หญ หรอื ถาตองการคนหาความรูเ ฉพาะวชิ าก็ใหเลอื กใชส ารานุกรมเฉพาะวชิ า 3. ดูอกั ษรหนา เลม หรอื คําแนะนําที่สนั หนงั สอื จะรวู าเร่ืองน้ันอยูในเลมใด 4. เปด ดูดรรชนีเพื่อดูเร่ืองท่ีตอ งการคน หาวา อยูในเลม ใด หนา ท่ีเทา ไหรและจะตองเลือกดูให ถกู ลกั ษณะของสารานุกรม เชน เปดดดู รรชนีทา ยเลม แตส ารานกุ รมเยาวชนและสารานุกรมบางชดุ ดรรชนี จะอยดู านหนา สวนสารานกุ รมสําหรับผใู หญแ ละสารานุกรมบางชุดใหเ ปดดดู รรชนที ่ีเลมสุดทา ยของชุด 5. อานวธิ ีใชสารานกุ รมแตละชุดกอนใชแ ละคนหาเรอ่ื งทีต่ องการ เรอื่ งที่ 4 คําราชาศพั ท คนไทยมวี ฒั นธรรมทย่ี ดึ ถือกันเปนปกติ คอื การเคารพนบั ถือ ผูที่สูงอายุ ชาติกําเนิดและตําแหนง หนาท่ี สื่อท่ีแสดงออกอยา งชัดเจนคือ การแสดงกิริยามารยาทอันเคารพ นอบนอ มและใชภาษาอยา งมี ระเบียบแบบแผนอกี ดวย ภาษาที่ใชอยา งมีระเบียบและประดิษฐต กแตงเปนพิเศษเพื่อใชกับบุคคลท่ีมีฐานะ ตาง ๆ ทางสังคมดงั กลาวแลวเรยี กวา คาํ ราชาศพั ท คําราชาศัพท คือ คาํ ทีใ่ ชสำหรบั พระเจา แผนดินและพระบรมวงศานวุ งศ แตป จ จุบันคําราชาศัพท มีความหมายรวมถึง คําสุภาพ ท่ีสุภาพชนตอ งเลือกใชใ หเหมาะสมตามฐานะของบุคคลทุกระดับและ เหมาะสมกบั กาลเทศะดวย คําสุภาพ พระยาอุปกิตศิลปสาร ไดอธิบายไวว าไมใ ชคําแข็งกระดา งไมแสดงความเคารพ เชน โวย วาย วะ ไมใ ชคําหยาบ เชน ใหใชอุจจาระแทนขี้ ปสสาวะแทนเย่ียว ไมใชค ําที่นิยมกับของคําหยาบ เชน สากกะเบอื เปรยี บเทียบกบั ของลบั ผูช ายใหใชไ มตพี รกิ แทน เปนตน ไมใ ชคาํ ผวน เชน ตากแดด ใหใช ใหม เปนผง่ึ แดด เปน ตน และไมพูดเสยี งหว น เชน ไมรู ไมเห็น และมีคําวา ครับ คะ คะ ขา ประกอบ คาํ พดู ดว ย ลกั ษณะของคําราชาศัพท 1. คาํ นามทน่ี าํ มาใชเปนราชาศัพท 1.1คาํ ทีน่ ํามาจากภาษาบาลี สันสกฤต เขมรและคําไทย เมือ่ จะใชเ ปน คาํ ราชาศัพทจ ะตอ งใช พระบรมราช พระบรม พระราชและพระนําหนา คอื พระบรม พระบรมราช ใชนําหนาคํานามท่ีสมควรยกยองสําหรับพระเจาแผน ดิน โดยเฉพาะ เชน พระบรมอัฐิ พระบรมโอรสาธิราช พระบรมราโชวาท พระบรมราชวินิจฉัย พระบรมราช- โองการ พระบรมมหาราชวงั พระบรมราชูปถมั ภ
117 พระราช ใชนาํ หนาคํานามที่สําคญั รองลงมา เชน พระราชสาสน พระราชประวตั ิ พระราชยาน พระราชโทรเลข พระราชวัง พระราชดํารัส พระราชบดิ า พระ ใชนําหนาคํานามท่ัวไปบางคําเชน พระกร พระหัตถ พระเกศา พระอาจารย พระสหาย พระเกา อ้ี พระเขนย พระยี่ภู พระศอ พระอุทร บางท่ีใชพ ระหรือทรง แทรกเขากลาง เพ่ือแตงเปน คํานาม ราชาศพั ทเชน กระเปา ทรงถอื เครือ่ งพระสาํ อาง 1.2คาํ ไทยสามัญ เม่อื ใชเ ปนคําราชาศพั ทต องใชค ําวา หลวง ตน ทรง พระท่ีนั่ง ประกอบหลัง คํานามน้ัน เชน ลูกหลวง เรือหลวง รถหลวง วังหลวง ชางตน มา ตน เคร่ืองตน เรือตน ชางทรง มา ทรง เรือพระที่นงั่ รถพระทีน่ ่ัง ฯลฯ นอกจากน้ียังมีคํานามราชาศัพทท่ีใชค ําไทยนําหนา คําราชาศัพท ซ ่ึงเปนการสรา งศัพทข ึ้นใชใน ภาษา เชน ผา ซับพระพกั ตร ถงุ พระบาท 2. คําสรรพนาม คําสรรพนามราชาศัพทนั้น แบงเปน บุรุษสรรพนามแยกไปตามฐานะของผูใช ราชาศัพท เชนเดียวกนั บรุ ษุ ที่ 1 (ผูพูดเอง) หญงิ ใช หมอ มฉัน ขาพระพทุ ธเจา ชาย ใช กระหมอม เกลากระหมอม ขาพระพทุ ธเจา บุรุษที่ 2 (ผูพ ูดดวย) แยกไปตามฐานะของผูท ีพ่ ูดดวย เชน ใตฝาละอองธลุ พี ระบาท ใชกับพระมหากษตั ริย พระบรมราชินนี าถ ใตฝา ละอองพระบาท ใชก ับพระบรมโอรสาธิราช ใตฝา พระบาท ใชก ับเจา นายชนั้ รองลงมา เจาฟา หรือ เจา นายชั้นผูใ หญ พระบาท ใชกบั เจานายชั้นผูนอ ย เชน ระดบั หมอ มเจา บรุ ุษที่ 3 (ผูพูดถงึ ) ท้ังหญงิ และชายใชว า พระองค พระองคทา น 3. คํากรยิ าราชาศัพท คาํ กริยาราชาศพั ทส าํ หรบั พระมหากษัตรยแ ละเจานายสว นใหญมักจะใช ตรงกนั มีหลกั ในการแตง ดงั นี้ 3.1คํากริยาทเี่ ปนราชาศัพทโดยเฉพาะ เชน โปรด ประทบั ประชวน ประสตู ิ กริว้ ดํารัส เสด็จ บรรทม ฯลฯ คาํ กรยิ าเหลานไ้ี มตอ งมีคาํ วา ทรงนาํ หนาและจะนาํ ไปใชใ นภาษาธรรมดาไมไ ดดวย 3.2คํากริยาท่ใี ชใ นภาษาธรรมดา เมอ่ื ตอ งการแตงเปนกริยาราชาศัพทตอ งเติม ทรง ขางหนา เชน ทรงจาม ทรงขับรอ ง ทรงยนิ ดี ทรงเลาเรียน ทรงศึกษา ทรงเลน ทรงสดับพระเทศนา ฯลฯ 3.3คาํ นามที่ใชราชาศัพทบางคําทีใ่ ชทรงนําหนา เชน ทรงพระกรุณา ทรงพระราชดาํ ริ ทรงพระอกั ษร ทรงพระราชนพิ นธ 3.4คํานามบางคํา เม่ือ ทรง นําหนา ใชกริยาราชาศัพทไดตามความหมาย เชน ทรงเครื่อง (แตง ตวั ) ทรงเครอ่ื งใหญ (ตดั ผม) ทรงศลี ทรงธรรม ทรงบาตร ทรงเรือ ทรงกีฬา ทรงรถ ทรงดนตรี
118 4. คํากรยิ าบางคาํ มใี ชต างกันตามนามชน้ั ตัวอยางเชน กิน เสวย ใชก ับพระเจาแผนดนิ พระบรมวงศานุวงศ สมเดจ็ พระสงั ฆราช ฉัน ใชก บั พระสงฆ รบั ประทาน ใชก ับสุภาพชนทั่วไป ตาย สวรรคต ใชกับพระเจา แผน ดิน สมเดจ็ พระบรมราชนิ ี สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราช ทวิ งคต ใชก ับสมเดจ็ พระบรมราชชนนี พระราชาตา งประเทศ ส้ินพระชนม ใชก ับพระบรมวงศานวุ งศช ้ันสงู สมเดจ็ พระสงั ฆราช ส้ินชีพตักษยั ใชก บั หมอมเจา ถึงชพี ิตักษัย ใชก บั หมอ มเจา ถงึ แกพริ าลัย ใชก บั สมเด็จเจาพระยา เจา ประเทศราช ถึงแกอสญั กรรม ใชก ับเจา พระยา นายกรัฐมนตรี รฐั มนตรี ถึงแกอนิจกรรม ใชก ับเจาพระยา ขาราชการชนั้ สูง ถึงแกก รรม ใชกบั สภุ าพชนทั่วไป มรณภาพ ใชกบั พระสงฆ การกราบบงั คมทูล 1. ถากราบบังคมทูลพระเจาแผนดนิ เมือ่ มิไดพระราชดํารสั ถามตองขนึ้ ตน ดวยวา “ ขอเดชะ ฝาละอองธุลีพระบาทปกเกลา ปกกระหมอม ” แลวดําเนินเร่ืองไปจนจบทา ยการกราบบังคมทูลใชว า “ดวยเกลาดว ยกระหมอมขอเดชะ” ใชสรรพนามแทนพระองคทานวา “ ใตฝาละอองธลุ ีพระบาท ” ใชสรรพนามแทนตวั เราเองวา “ ขาพระพทุ ธเจา ” ใชคํารบั พระราชดาํ รัสวา “ พระพุทธเจาขา” 2. ถา มพี ระราชดาํ รสั ถามขน้ึ กอนจะตองกราบบงั คมทูล “ พระพุทธเจาขอรับใสเกลา กระหมอม ” หรอื กราบบังคมทูลยอ ๆ วา “ ดว ยเกลาดว ยกระหมอม หรือจะใชพ ระพุทธเจา ขา ” ก็ได 3. เปน การดว นจะกราบบงั คมทลู เรอื่ งราวกอนก็ได แตเ มอื่ กลาวตอนจบตองลงทายวา “พระพทุ ธเจา ขาขอรับใสเกลาใสกระหมอม ” หรือจะกราบบังคมทูลยอ ๆ วา “ดวยเกลาดวยกระหมอ ม” ก็ได ถา มี พระราชดํารัสถามตดิ ตอ ไปแบบสนทนาก็ไมขึ้นตนวา “ขอเดชะฝาละอองธุลีพระบาทปกเกลาปกกระหมอม” อกี แตตอ งลงทายวา “ดวยเกลา ดวยกระหมอม” เปน การตอบรับทกุ คร้งั
119 4. ถาจะกราบบังคมทลู ดวยเรือ่ งท่ีไมสมควรจะกราบบังคมทลู หรอื เปน เรอ่ื งหยาบไมส ุภาพตอ งข้ึนตน วา “ไมค วรจะกราบบังคมทลู พระกรณุ า”แลวดาํ เนนิ เรื่องไปจนจบ และลงทา ยดวยวา “ดว ยเกลา ดว ยกระหมอ ม” 5. ถา พระเจาแผนดินทรงแสดงความเอื้อเฟอ อนุเคราะหห รือทรงชมเชยตองกราบทูลเปนเชิง ขอบคณุ วา “พระมหากรุณาธิคณุ เปน ลนเกลา ลน กระหมอ ม” หรือ “พระเดชพระคุณเปนลนเกลาลน กระหมอม” แลว กราบบังคมทูลสนองพระราชดํารัสไปตามเร่ืองที่พระราชดํารัสนั้น แลวจบลง ดวยคําวา “ดวยเกลา ดว ยกระหมอ ม” 6. ถา พระเจา แผน ดินมีพระราชดํารัสถามถึงความเปนอยูเม่ือจะกราบบังคมทูลวา ตนเอง สุขสบายดีหรือรอดพนอันตรายตาง ๆ มา ใหข ึ้นตนวา “ดว ยเดชะพระบารมีปกเกลาปกกระหมอม ขา พระพุทธเจาเปนสุขสบายดี” หรือ“รอดพนอันตรายตา ง ๆ มาอยางไรและจบดว ยวา “ดว ยเกลา ดว ยกระหมอม” 7. เมื่อจะกราบบังคมทูลขอพระราชทานอภัยโทษหรือแสดงความเสียใจในส่ิงที่ตนกระทําผิด ตองขึน้ ตนวา “พระอาญาไมพน เกลา” แลว กราบบังคมทูลเรอื่ งราวท่ีตนทาํ ผดิ และลงทายดวย “ดว ยเกลา ดว ยกระหมอม” หรอื อาญาไมพน เกลา ฯ “ขา พระพุทธเจาขอพระราชทานอภัยโทษ” ดาํ เนนิ เรอื่ งไปจนจบ แลว ลงทายวา “ดว ยเกลาดวยกระหมอ ม” 8. เม่อื จะถวายส่ิงของพระเจา แผนดนิ หากเปนของเล็กหยิบถือไดกราบทูลวา“ขอพระราชทาน- ทลู เกลาถวาย” ถา เปนสง่ิ ของใหญหยิบถือไมไดก ราบทูลวา “ขอพระราชทานนอ มเกลา ถวาย” เมื่อดําเนิน เร่ืองจบแลววา “ดวยเกลา ดว ยกระหมอม” 9. การใชราชาศัพทเ ขียนจดหมาย พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหวั และสมเดจ็ พระบรมราชินนี าถ ใชคําขนึ้ ตน วา “ขอเดชะฝาละอองธลุ พี ระบาทปกเกลาปกกระหมอ ม ขา พระพทุ ธเจา .............(บอกชอ่ื )........... ขอพระราชทานกราบบงั คมทูลพระกรุณาทรงทราบ ฝา ละอองธลุ ีพระบาท” ใชส รรพนามแทนพระองควา “ใตฝาละอองธลุ ีพระบาท” ใชส รรพนามแทนตวั เองวา “ ขาพระพทุ ธเจา” ใชค ําลงทายวา “ควรมิควรแลว แตจะทรงพระกรณุ าโปรดเกลา โปรดกระหมอม ขาพระพทุ ธเจา .........(บอกช่อื ).......... ขอเดชะ ใชเ ขียนหนาซอง “ขอพระราชทานทลู เกลาทลู กระหมอ มถวาย.....(บอกชื่อ)....... กิจกรรม 1. ใหผเู รียนสังเกตการใชคําราชาศัพทจากส่ือสารมวลชน เชน หนังสือพิมพ วิทยุและโทรทัศน โดยเฉพาะขาวพระราชสาํ นักแลวจาํ การใชใหถูกตอง เพ่อื นาํ ไปใชเมอ่ื มีโอกาส 2. รวบรวมคําราชาศัพทห มวดตา ง ๆ เพือ่ ทํารายงานสงครู หรือเพอื่ นาํ ไปใชเมือ่ มีโอกาสใหผูเ รียน หาหนังสือพิมพร ายวันมา 1 ฉบับแลว คน หาคําราชาศัพทแตละประเภทมาเทาที่จะได อยา งละคําก็ตาม
120 พยายามหาคาํ แปลโดยใชพ จนานกุ รมหรอื ถามผรู กู ็ไดนําไปอานใหเ พอื่ นฟง แลว ตอ จากนัน้ จึงนาํ ไปใหค รชู วย ตรวจและขอคําวิจารณเ พ่มิ เติม คาํ ศัพทท่ใี ชสําหรบั พระภกิ ษสุ งฆ เนอื่ งจากพระภิกษุ เปนผูทรงศีลและเปนผสู ืบพระพทุ ธศาสนา การใชถ อ ยคาํ จงึ กําหนดไวเปนอกี หนึ่ง เฉพาะองคสมเด็จพระสังฆราช ซึ่งถอื เปน ประมขุ แหง สงฆนั้นกําหนดใชราชาศัพทเ ทียบเทาพระราชวงศ ช้ันหมอ ม- เจา แตถ าพระภกิ ษุนั้นเปนพระราชวงศอ ยแู ลว ก็คงใหใชร าชาศพั ทต ามลาํ ดับช้ันทเ่ี ปน อยแู ลวน้นั การใชถอยคํา สําหรับพระภิกษุโดยทั่วไปมีขอควรสังเกตพระภิกษุใชก ับพระภิกษุดวยกันหรือ ใชก ับคนธรรมดาจะใชศ ัพทอ ยางเดียวกันตลอด ผิดกับราชาศัพทสําหรับกษัตริยและพระราชวงศคนอื่น ที่พดู กบั ทานหรอื พูดถึงทานจึงจะใชราชาศัพท แตถาพระองคทา นพูดกับคนอ่ืนจะใชภ าษาสุภาพธรรมดา เชน มผี ูพ ดู ถงึ พระวา “พระมหาสนุ ทรกาํ ลังอาพาธอยูท ีโ่ รงพยาบาล” พระมหาสุนทรพดู ถงึ ตวั ทา นเองก็ยอ มกลา ววา “อาตมากําลังอาพาธอยูโรงพยาบาล” มีผพู ดู ถงึ พระราชวงศพ ระองคหนึ่งวา “พระองคเ จา ดิศวรกมุ ารกาํ ลังประชวร” พระองคเจา เม่ือกลาวถงึ พระองคเองยอมรบั สงั่ วา “ฉันกําลังปวย” ตวั อยางคําราชาศัพทส ําหรบั พระภกิ ษบุ างคาํ คํานาม – ภัตตาหาร (อาหาร) ไทยทาน (สิ่งของถวาย) อาสนะ (ทน่ี ่ัง) กฏุ ิ (ท่ีพกั ในวัด) เภสชั (ยารกั ษาโรค) ธรรมาสน (ทแี่ สดงธรรม) คําสรรพนาม – อาตมา (ภกิ ษุเรยี กตนเองกับผอู น่ื ) ผม กระผม (ภกิ ษุเรียกตวั เอง ใชกบั ภกิ ษุ ดว ยกนั ) มหาบพิตร (ภิกษเุ รียกพระมหากษัตริย) โยม (ภกิ ษุเรยี กคน ธรรมดาทีเ่ ปน ผูใ หญก วา) พระคุณเจา (คนธรรมดาเรียกสมเดจ็ พระราชาคณะ) ทาน (คนธรรมดาเรยี กภกิ ษุทัว่ ไป) คาํ กริยา – ประเคน (ยกของดวยมอื มอบใหพ ระ) ถวาย (มอบให) ฉัน (กนิ ) อาพาธ (ปว ย) มรณภาพ (ตาย) อนุโมทนา (ยินดดี วย) จาํ วัด (นอน) คําลกั ษณะนาม – รปู เปน ลักษณะนามสาํ หรบั นับจาํ นวนพระภกิ ษุ เชน พระภิกษุ 2 รปู (คนท่วั ไปนยิ มใชค าํ วาองค)
121 บทท่ี 6 ภาษาไทยกบั ชองทางการประกอบอาชีพ สาระสําคญั ภาษาไทยเปน ภาษาประจําชาติ เปนภาษาท่ใี ชสอ่ื สารในชีวติ ประจาํ วัน อกี ทัง้ ยงั เปน ชอ งทาง ทสี่ ามารถนาํ ความรภู าษาไทยไปใชในการประกอบอาชพี ตาง ๆ ได โดยใชศิลปะทางภาษาเปนสอื่ นาํ ผลการเรยี นรทู ่ีคาดหวงั เม่ือศึกษาจบบทที่ 6 แลวคาดหวังวาผเู รยี นจะสามารถ 1. มีความรู ความเขา ใจ สามารถวเิ คราะหศกั ยภาพตนเอง ถึงความถนดั ในการใชภาษาไทย ดานตา ง ๆ ได 2. เหน็ ชองทางในการนําความรูภ าษาไทยไปใชในการประกอบอาชพี 3. เห็นคณุ คา ของการใชภาษาไทยในการประกอบอาชพี ขอบขายเนือ้ หา เรื่องท่ี 1 คุณคา ของภาษาไทย เร่อื งที่ 2 ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชีพ เรอ่ื งที่ 3 การเพ่ิมพนู ความรูและประสบการณทางดา นภาษาไทยเพอ่ื การประกอบอาชีพ
122 เรือ่ งท่ี 1 คณุ คา ของภาษาไทย ภาษาไทยเปนภาษาท่ีบงบอกถึงเอกลักษณความเปนไทยมาชานาน ต้ังแตโบราณจนถึงปจจุบัน ภาษาไทยเปนภาษาที่สุภาพ ไพเราะ ออนหวานและสิ่งที่สําคัญคือ เปนภาษาที่ใชในการส่ือสารของ มนุษยในชีวิตประจําวัน หากมีการพูดภาษาไทยใหถูกตองเหมาะสมตามกาลเทศะแลว จะแสดงถึง กิริยามารยาทท่เี รียบรอย นอบนอมมสี มั มาคารวะ จะทําใหค นอืน่ มคี วามรักใครใ นตวั เรา นอกจากนี้ ภาษาไทยยังสามารถนํามาดัดแปลงแตงเปนคํากลอน แตงเปนเพลงไดอยางไพเราะ เพราะพรงิ้ ทําใหผ ฟู งหรือใครที่ไดยินแลว เกดิ ความหลงใหล เพลนิ เพลนิ ไปกับเสยี งเพลงน้นั ๆ ได ฉะนั้น เพื่อใหผูเรียนเกิดทักษะอยางถูกตองและเหมาะสมในการสื่อสารกับผูอื่นอยาง มีประสิทธิภาพ รูจักแสวงหาความรูและประสบการณ รักการอาน การเขียน การพูด การบันทึกความรู และขอ มลู ขา วสารทีไ่ ดร ับ เกิดความภาคภูมิใจในความเปนเจาของภาษาและเห็นคุณคาของบรรพบุรุษท่ีได สรา งสรรคผลงานไว ผเู รียนควรทจ่ี ะรซู ง้ึ ถงึ คณุ คา ตลอดจนรกั และหวงแหนภาษาไทย เพอื่ ใหคงอยูค กู บั คนไทย ตลอดไป เรอื่ งท่ี 2 ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชพี ภาษาเปนเคร่ืองมือในการส่ือสารระหวางผูสงสาร (ผูพูด ผูเขียน) กับผูรับสาร (ผูฟง ดู ผูอาน) ท่ีมนุษยใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน โดยเริ่มตั้งแตวัยเด็กที่เริ่มหัดพูด เพื่อสื่อสารกับพอแม พี่นอง บุคคลใกลเคยี ง ตอมาเม่ืออยูในวัยเรียน เริ่มเขาสูระบบโรงเรียนต้ังแตอนุบาล ระดับประถมศึกษา ระดับ มัธยมศึกษา ผูเรียนในวัยนี้เร่ิมใชภาษาที่มีระบบระเบียบ มีหลักเกณฑการใชภาษาที่สลับซับซอน ยากงาย ตามระดับการศึกษา ซึ่งสิ่งท่ีผูเรียนไดเรียนรูเกี่ยวกับภาษาไทยน้ี จะเปนการปูพื้นฐานความรูใหผูเรียน มีความรู ความเขาใจ เกิดความซาบซ้ึงและมีความคิดสรางสรรคของงานท่ีเกิดจากการเรียนภาษาไทย เชน มีผูเรียนที่เรียนอยูในระดับมัธยมศึกษา แตเปนผูใฝรู รักการอาน รักการจดบันทึกเร่ืองราวตาง ๆ เร่มิ จดบนั ทกึ จากสงิ่ ทใี่ กลตัว คือ การจดบันทึกกิจวัตรประจําวัน จดบันทึกเหตุการณท่ีไดประสบพบเห็น ในแตละวัน เชน พบเห็นเหตุการณนํ้าทวมคร้ังยิ่งใหญในกรุงเทพมหานคร พบเห็นชีวิตความเปนอยูของ ประชาชนเมื่อประสบภัยนํ้าทวม ฯลฯ โดยผูเรียนคนนี้ปฏิบัติเชนนี้เปนประจําทุก ๆ วัน เม่ือผูเรียนคนนี้ เปนคนท่ชี อบเขียน ชอบบันทกึ เร่อื งราวตาง ๆ และแทนท่ีผูเ รียนคนนจี้ ะจดบันทึกเรื่องราวตาง ๆ และเก็บ ไวเปนขอมลู สว นตวั เทา นั้น แตผูเรียนคนนี้ จะนําเร่ืองราวท่ีบันทึกไวเผยแพรในเว็บไซต เปนการบอกเลา เหตุการณท ่ไี ดป ระสบพบเห็นมาใหผูอ่ืนไดรับรู บังเอิญมีสํานักพิมพท่ีไดอานผลงานเขียนของผูเรียนคนนี้ เกิดความ พงึ พอใจ และขออนุญาตนาํ ไปจดั พมิ พเ ปน รูปเลม และจดั จําหนา ย โดยผูเรยี นจะไดร บั คา ตอบแทน ในการเขยี นดว ย อีกกรณีหนึ่ง ผเู รยี นคนหนึ่งเปนนักพูด เวลาโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมหรือมีการจัดงานใด ๆ ก็ตาม ผเู รียนคนนี้จะอาสาคอยชว ยเหลือโรงเรียนโดยเปนผปู ระกาศบา ง ผดู ําเนินกจิ กรรมตา ง ๆ บา ง ซึง่ สิ่งเหลา น้ี จะเปน พื้นฐานใหผ ูเรียนคนนี้ ไดเ รยี นรใู นระดับที่สูงข้ึน โดยอาจจะเปนผูทําหนาที่พิธีกร เปนนักจัดรายการ วิทยุ เปน นกั พากยก ารตูน ฯลฯ ท่ีสามารถสรางรายไดใหกบั ตนเองได
123 ฉะนั้น จากตัวอยางที่กลาวมาต้ังแตตน จะเห็นไดวาการเรียนรูภาษาไทย ก็สามารถนําความรู ท่ีไดรับไปสรางงาน สรางอาชีพเลี้ยงตนเอง เล้ียงครอบครัวได เชนเดียวกับการเรียนรูในสาระวิชาความรู อื่น ๆ กอนที่ผูเรียน กศน. จะตัดสินใจใชความรูภาษาไทยไปประกอบอาชีพ ผูเรียนจะตองวิเคราะห ศักยภาพตนเองกอนวาผูเรยี นมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับวิชาภาษาไทยท่ีมีเน้ือหาเกี่ยวกับการฟง การดู การพูด การอาน การเขียน หลักการใชภาษา วรรณคดีและวรรณกรรม ลกึ ซงึ้ ถูกตองหรือยัง หากวิเคราะห แลวคิดวาผูเรียนยังไมแมนยําในเน้ือหาความรูวิชาภาษาไทยก็จะตองกลับไปทบทวนใหเขาใจ จากนั้น จึงวิเคราะหตนเองวามีใจรักหรือชอบที่จะเปนนักพูดหรือนักเขียน สวนเนื้อหาเก่ียวกับการฟง การดู การอาน หลักการใชภาษาและวรรณคดีและวรรณกรรมเปนขอมูลความรูประกอบในการเปนนักพูดท่ีดี หรอื นักเขียนท่ดี ีได ตอ ไปนีจ้ ะขอนําเสนอขอ มูลและตัวอยา งของการประกอบอาชีพนกั พูด และนักเขยี นพอสังเขป ดงั น้ี การประกอบอาชพี นกั พูด ผเู รยี นที่ไดว เิ คราะหศ กั ยภาพตนเองแลววาเปน ผทู ม่ี ีความสนใจและรกั ทจ่ี ะเปนนกั พดู จะตองเปน ผูที่มีความรู ความสามารถหรือคณุ สมบัตอิ ยางไรบาง โดยขอนาํ เสนอขอ มูลพอเปน สงั เขปได ดังนี้ ก. นกั จดั รายการวทิ ยุ ผูเรยี นทส่ี นใจจะเปน นักจัดรายการวทิ ยุ เรม่ิ แรกผเู รียนอาจจะเปน นักจัดรายการวิทยรุ ะดบั ชมุ ชน เสยี งตามสาย ฯลฯ จนผเู รียนมีทักษะประสบการณม ากขน้ึ จงึ จะเปน นกั จัดรายการวิทยรุ ะดับ จงั หวัด หรอื ระดบั ประเทศตอไป หนาทขี่ องนกั จดั รายการวิทยุ แบง ได 4 ประการ คือ 1. เพือ่ บอกกลา ว เปนการรายงาน ถา ยทอดสง่ิ ทไี่ ดป ระสบ พบเหน็ ใหผ ูฟงไดร บั รู อยางตรงไปตรงมา 2. เพ่ือโนม นาวใจ เปน การพยายามทจี่ ะทําใหผ ฟู งมคี วามเห็นคลอยตาม หรือโตแยง 3. เพอ่ื ใหค วามรู เปน ความพยายามที่จะใหผ ูฟง เกิดความพงึ พอใจ มีความสุขใจ ลกั ษณะของนักจดั รายการวิทยุ (รจู ักตนเอง) มดี งั น้ี 1. เปน ผมู จี ิตใจใฝร ู 2. วองไวตอ การรบั รูข อ มลู ขา วสาร 3. มีมนุษยสมั พันธทดี่ ี 4. มีจิตใจกวา งขวาง เห็นอกเห็นใจผอู ืน่ 5. มคี วามอดทนตอแรงกดดนั ตาง ๆ ข. พิธกี ร - ผูประกาศ ในการทําหนาท่พี ธิ ีกร หรือผูประกาศ การใชเ สียงและภาษาจะตองถูกตอ ง ชดั เจน เชน การออกเสียงตัว ร ล การอา นเวน วรรคตอน การออกเสยี งควบกล้ํา การออกเสยี งสงู ต่าํ นอกจากจะตอ ง
124 มีความรใู นเร่อื งของภาษาแลว ผทู ีท่ ําหนาท่ีพิธกี ร - ผูประกาศ จะตอ งพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ การแตงหนา ตลอดจนเรียนรกู ารทาํ งานของพธิ กี ร - ผปู ระกาศอยา งชดั เจนดวย คุณลกั ษณะของผทู ําหนา ทพี่ ธิ กี ร - ผูประกาศ มดี งั น้ี 1. บุคลกิ ภาพภายนอกตองดดู ี มีความโดดเดน ดูนา ประทบั ใจ มลี ักษณะทเี่ ปน มติ ร เนื่องจาก การเปนพธิ กี ร - ผปู ระกาศ จะตอ งพบปะกบั ผูค นหรอื ผฟู ง 2. น้ําเสยี งนุม นวล นา ฟง การใชน ํ้าเสยี งเปนส่ิงสาํ คัญ การใชอกั ขระจะตอ งถูกตอง ออกเสียงดงั ฟง ชัด การเวน วรรคตอน คาํ ควบกลํ้า จะตองสมํา่ เสมอ นํา้ เสียงนาฟง ไมแขง็ กระดา ง เวลาพดู หรืออานขาว ควรมสี ีหนายม้ิ แยม และนํ้าเสียงที่ชวนฟงเพ่ือใหผฟู ง รสู ึกสบายเมอ่ื ไดฟง 3. ภาพลกั ษณท ด่ี ี ควรเปนตัวอยา งท่ดี ีนา เชอ่ื ถือ สําหรบั ผฟู ง หรอื ผชู ม การปรากฎตวั ในงาน ตาง ๆ ควรมีการแตง กายทสี่ ภุ าพเรยี บรอ ยเหมาะสมกับสถานการณน้นั ๆ 4. ความรูรอบตวั ผทู ี่จะทาํ หนา ทีพ่ ธิ กี ร - ผูประกาศจะตอ งเปนผทู ่สี นใจใฝรูเ ร่อื งราว ขาวสาร ขอมูลท่ีทันสมัย เกาะติดสถานการณวามีอะไรเกิดขึ้นบาง กับใคร ที่ไหน ที่สําคัญตองเปนผูที่พรอมจะ เรียนรูเรื่องราวใหม ๆ อยูเสมอ รูจักวิเคราะหขาวสารที่ไดรับฟงมาใหเขาใจกอนที่จะเผยแพรใหผูอ่ืน ไดรับรู 5. ตรงตอเวลา การตรงตอเวลาถือวาเปนเร่ืองสําคัญมากทั้งผูท่ีทําหนาท่ีพิธีกร - ผูประกาศ จะตองมีเวลาใหท ีมงานไดใหขอมลู อธิบายประเด็นเน้ือหาสาระ กระบวนการขั้นตอนตาง ๆ ถาไมพรอม หลังพลาดพลั้งไป ทมี งานคนอนื่ ๆ จะเดอื ดรอนและเสียหายตามไปดวย 6. รูจักแกปญหาเฉพาะหนา การเปนพิธีกร - ผูประกาศ ถึงแมวาจะมีการเตรียม ความพรอมท่ีเรียบรอยดีแลว แตเหตุการณเฉพาะหนาบางครั้งอาจจะเกิดขึ้นได โดยที่ไมไดคาดหมายไว พธิ กี ร - ผปู ระกาศ จะตอ งมีปฏิภาณไหวพรบิ ในการแกปญหาเฉพาะหนาได ค. ครสู อนภาษาไทยกบั ประชาคมอาเซียน ภายในป พ.ศ. 2558 ประเทศไทยจะกาวสูประชาคมอาเซียน ฉะน้ัน ประชาชนคนไทย จําเปนตองเตรียมความพรอม หรือปรับตัวใหทันตอการเปลี่ยนแปลง ซ่ึงการเปล่ียนแปลงดังกลาว จะกอใหเกิดประโยชนแ ละการเปล่ียนแปลงในดา นตาง ๆ ดังน้ี ประโยชนทจี่ ะไดรบั 1. ประชากรเพิม่ ขึ้น ทําใหเพิม่ ศกั ยภาพในการบรโิ ภค เพ่ิมอาํ นาจการตอ รองในระดบั โลก 2. การผลติ (ยงิ่ ผลติ มาก ยิง่ ตนทุนต่าํ ) 3. มแี รงดงึ ดูดเงินลงทุนท่อี ยนู อกอาเซยี นสูงข้ึน สงิ่ ทส่ี ง ผลตอ การเปลี่ยนแปลงในดา นตา ง ๆ 1. การศกึ ษาในภาพใหญข องโลก มีการเปลีย่ นแปลงอยางรนุ แรง 2. บคุ ลากรและนกั ศึกษา ตอ งเพิม่ ทกั ษะทางดา นภาษาองั กฤษใหสามารถส่ือสารได 3. ปรบั ปรงุ ความเขาใจทางประวัตศิ าสตร เพ่ือลดขอ ขดั แยง ในภมู ิภาคอาเซียน 4. สรางบณั ฑิตใหสามารถแขง ขันไดในอาเซียน เพ่มิ โอกาสในการทํางาน
125 ดังนั้น จะเห็นไดวาตั้งแตป พ.ศ. 2558 เปนตนไป ประชาชนอาเซียนจะเดินทางเขาออก ประเทศไทยเปนจํานวนมาก ไมวาจะเปน แมคา พอ คา นักธุรกจิ นกั ทองเทย่ี ว ฯลฯ ฉะนน้ั เราในฐานะเจาของ ประเทศ เจาของภาษาไทย ทาํ อยางไรจึงจะทาํ ใหป ระชาชนอาเซยี นทเ่ี ขา มาประกอบอาชีพในประเทศไทย ไดเรียนรูภาษาไทย วัฒนธรรมไทย เพื่อเปนพื้นฐานในการสื่อสารที่เขาใจกัน ในที่นี้จึงขอเสนออาชีพ ที่ผูเรียนท่ีสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแลว สามารถประกอบอาชีพ สรางรายไดใหกับ ตนเอง นั่นก็คือ ครูสอนภาษาไทยใหกับประชาชนอาเซียน ภาษาไทยที่สอนนี้เปนภาษาไทยพ้ืนฐาน ที่ประชาชนอาเซยี นเรียนรูแลว สามารถสอื่ สารกับคนไทยแลวเขาใจ สามารถดําเนินชีวิตประจําวันได เชน พอคา แมคา นักทอ งเท่ียว ฯลฯ คุณลกั ษณะของครผู ูสอนภาษาไทยกบั ประชาชนอาเซียน 1. มนั่ ใจในความรูภาษาไทยดพี อ 2. มใี จรักในการถา ยทอดความรู 3. เปน ผมู ีความรูใ นภาษาอาเซียน อยางนอย 1 ภาษา เน้ือหาความรูภาษาไทยทป่ี ระชาชนอาเซยี นควรเรียนรู 1. ทกั ษะการฟง การดู การพดู 2. หลักการใชภ าษา ระดบั พืน้ ฐาน ไดแ ก พยญั ชนะ สระ วรรณยุกต 3. ทกั ษะการอา น 4. ทกั ษะการเขยี น 5. ทักษะการอาน เขยี นเลขไทย อารบิค การจัดกลุมผเู รยี น 1. แสวงหากลมุ ผเู รยี น ต้งั แต 1 คนขึ้นไป (จํานวนข้ึนอยูกบั ศกั ยภาพของครผู สู อน) 2. กําหนดแผนการสอน (วัน เวลา/สถานทีน่ ัดพบ) 3. เตรียมเนื้อหา สาระ สื่ออปุ กรณก ารจดั กิจกรรมการเรียนรู 4. มกี ารวดั และประเมนิ ผลความกาวหนาของผูเ รยี น การประกอบอาชพี นกั เขยี น จากตัวอยางขางตนที่กลาวถึงผูที่จะเปนนักเขียนมืออาชีพ จะตองเปนผูรูจักจดบันทึก ใฝรู ใฝแสวงหาความรูอยางตอเนื่อง หรือแมแตเปนนักอาน เพราะเชื่อวาการเปนผูอานมากยอม รูมาก มีขอมูลในตนเองมาก เมื่อตนเองมีขอมูลมาก จะสามารถดึงความรูขอมูลในตนเองมาใชใน การสื่อสารใหผูอานหรือผูรับสารไดรับรูหรือไดประโยชน ตัวอยางของอาชีพนักเขียน ไดแก การเขียนขาว การเขียนโฆษณา การแตงคําประพันธ การเขียนเรื่องส้ัน การเขียนสารคดี การเขียน บทละคร การเขียนบทวิทยุ-โทรทัศน การแตงเพลง ฯลฯ ซึ่งตัวอยางเหลานี้ ลวนแตผูเขียน สามารถสรางชิ้นงานใหเกิดรายไดทั้งสิ้น เพียงแตผูเขียนจะมีความรัก ความสนใจท่ีจะเปนนักเขียน หรอื ไม
126 คุณสมบัติของนักเขียนทด่ี ี การจะเปนนกั เขียนมอื อาชพี ทดี่ ีได จะตองเรม่ิ ตนทลี ะขนั้ หรอื เรม่ิ จาก 0 ไป 1 2 3 และ 4 โดยไมค ิดกระโดดขามข้นั ซึง่ มีวธิ กี าร ดังนี้ 1. ตัง้ ใจ นกั เขียนตอ งมีความต้งั ใจและรับผดิ ชอบในทกุ ขอ ความทีต่ นเองไดเขยี นถา ยทอดออกมา ไมใ ชเ พียงตวั อักษร ท่ีเรยี งรอ ยออกมาเปน เนอ้ื หาเทา นนั้ แมแ ตยอหนาหรือเวน วรรคก็นับวาเปนสวนหนึ่งที่ แสดงใหเห็นถึงความต้ังใจของนักเขียน ท่ีนักอานจะสามารถมองเห็นไดเชนกันจุดประสงคของการเปน นกั เขียนไมใชเปนเพื่อเขียนอะไรสักเร่ืองใหจบแลวเลิกราไป แตนักเขียนควรใสใจทุมเทในสิ่งท่ีเขียนและ ลงมือถายทอดเรื่องราวในจินตนาการนั้นอยางสุดความสามารถ หากมีความตั้งใจจริงคนอานจะรับรูได ทนั ที 2. รบั ฟง นักเขียนตองรูจักที่จะรับฟงคําวิจารณของเพ่ือนนักเขียนดวยกันอยางใจกวาง เพราะ ไมว า นักเขยี นจะมฝี ม ือระดับใด ก็สามารถมีขอผิดพลาดไดเชนกัน แมแตความคิดเห็นของนักอานก็มีสวน ชวยใหน กั เขียนปรับปรุงแกไขใหดยี ่งิ ขน้ึ ได เพราะโดยสวนมากนกั อา นมกั จะเหน็ ขอบกพรอ งในบทความของ นกั เขียนมากกวา ตวั นกั เขียนเอง 3. ใฝร ู นกั เขยี นตองรูจกั คนควาหาความรู ขอมูลหรอื แหลง อา งอิงท่ีถูกตอง เพ่ือพัฒนาการเขียน ของตนเอง การเขียนเนื้อหาโดยปราศจากขอมูลจะทําใหเนื้อหาปราศจากสาระและแกนสาร คนอาน จะไมร ูสกึ สนกุ 4. จรรยาบรรณ ไมวาอาชีพใด ๆ จําเปนตองมีจรรยาบรรณเปนของตนเอง นักเขียนก็เชนกัน นักเขียนทม่ี ีจรรยาบรรณ ตองไมลอกของคนอน่ื มาแอบอา งช่ือเปน ของตนเอง นีค่ อื สง่ิ ท่รี า ยแรงท่สี ดุ สําหรบั นักเขยี น 5. ความรับผิดชอบ ไมวาอาชีพใด ๆ ความรับผิดชอบเปนสิ่งสําคัญ ซึ่งในท่ีน้ี หมายถึง ความรับผิดชอบตอทุกถอยคําในเนื้อหา กอนจะแสดงผลงานใหผูใดไดอานไมวาผูเขียนจะต้ังใจหรือ ไมตง้ั ใจก็ตาม 6. ความสุข หลายคนอาจแอบคิดอยูในใจวาการเปนนักเขียนไมใชเรื่องงาย ไมวาอาชีพใด ๆ ตองมีจุดงายจุดยากดวยกันทั้งสิ้น แลวเหตุใดการเปนนักเขียนตองมีความสุข เพราะถาหากนักเขียน เขียนดว ยความทุกขไมรสู กึ มีความสุขกับการเขยี น กแ็ สดงวา นักเขียนผนู น้ั ไมเ หมาะกับการเปน นกั เขียน นักเขียน คือ ผูท่ีแสดงความคิดเห็น ดวยการเขียนเปนหนังสือหรือลายลักษณอักษร ซ่ึงอาจ แสดงออกในรปู แบบเรยี งความ บทความ เรื่องสั้น นวนิยาย ฯลฯ คนท่ีจะเอาดีดานงานเขียน จะตองเปน คนชางฝน มีพรสวรรค และตอ งเรยี นรู พยายามเขียนตามท่ีตนถนดั รจู ักอยูใ นโลกแหง จินตนาการ จึงจะเขียน ใหผอู า นหวั เราะ รอ งไหและรอคอย ถือวา เปน หวั ใจหลกั ของนกั เขียน นอกจากน้ีตองเปนนักอาน นักเขียน ตอ งมีอารมณออ นไหว รูส ึกไวตอ สิ่งเรา ท้ังหลาย นอกจากนย้ี ังตองเปนคนชางคดิ ชา งสังเกต
127 ตวั อยา ง การนาํ ความรภู าษาไทยไปประกอบอาชพี นกั เขยี น 1. นกั ขาว เปนการเขียนขาวที่ใชกระบวนการทางความคดิ ของผสู อ่ื ขา วท่สี ามารถนําไปสกู ารปฏิบัตงิ านขาว ในขั้นตอนการเขียน บอกเลาขอเท็จจริง เพ่ือใหเกิดประโยชน ในการรับใช หรือสะทอนสังคม ซึ่งแตกตางไปจากการเขียนของนักเขียนท่ัวๆ ไป เพราะการเขียนขาวของผูส่ือขาวมีความสําคัญตอการ แสวงหาความจริง ของสงั คม ที่ตองอาศัยรูปแบบ โครงสรางของการเขียนขาวมาชวยนําเสนอขอเท็จจริง อยา งมรี ะบบ อะไรเปน ขาวไดบ า ง ขาว คือ เหตุการณ ความคดิ ความคดิ เห็น อันเปน ขอเท็จจริง ทไ่ี ดรับการหยิบยกขนึ้ มา รายงาน ผา นชอ งทางสอ่ื ทเี่ ปนทางการ นักหนังสือพิมพท่ีมีช่ือเสียงทานหน่ึงชื่อ จอหน บี โบการท กลาววา “เม่ือสุนัขกัดคนไมเ ปน ขาว เพราะเปนเหตกุ ารณป กติท่ีเกดิ ข้นึ บอ ย ๆ แตเมือ่ คนกดั สุนัข นน่ั คือขาว” คาํ กลา วนแ้ี สดงใหเ หน็ วา เรื่องราวทป่ี กตไิ มม คี วามนาสนใจมากพอทจี่ ะเปน ขาว แตถ าเปนเรอ่ื งทนี่ าน ๆ กวา จะอบุ ตั ิขึ้นสักคร้งั หนึง่ กจ็ ะเปนขา วไดง า ย สง่ิ ทจี่ ะเปน ขา วไดค อื สิ่งทมี่ ีลักษณะ ดงั นี้ ความทันดวนของขาว ผลกระทบของขา ว มคี วามเดน ความใกลชิดของขาวตอผอู า นหรอื ผูชม ทง้ั ทางกายและทางใจ เร่อื งราวหรอื เหตุการณท ก่ี ําลงั อยใู นกระแสความสนใจของสาธารณชน หรือเรียกวา “ประเดน็ สาธารณะ” 2. นักเขียนบทวิทยุ - โทรทัศน มีคณุ สมบตั ิโดยทว่ั ไป ดงั น้ี 2.1 ชางคิด เปนคุณสมบัติสําคัญของนักเขียน ความคิดริเร่ิมสรางสรรคเปนพรสวรรคของ แตละบุคคล ความชางคิดในท่ีนี้หมายถึง ความสามารถในการสรางเร่ืองที่สมบูรณจากเหตุการณเล็ก ๆ เพียงเหตุการณเดียว นักเขียนบทละครผูซ่ึงเลนกับถอยคําสํานวนจะใชความพยายามอยางมากท่ีจะ เรียงรอยถอยคําใหสามารถสรางจินตนาการตามทีเ่ ขาตองการ 2.2 อยากรูอ ยากเห็น นกั เขยี นจะตองศกึ ษาเรื่องตาง ๆ ท่ผี ูสอื่ ขาวไดรายงานขาวไว แลวนํามา คิดใครครวญวา อะไร ทําไม สาเหตุจากอะไร อยางไร ท่ีทําใหเกิดเหตุการณหรือสถานการณเชนนั้นขึ้น และเมอื่ เดินทางไปยังพื้นที่ตาง ๆ นักเขียนจะตองมีความพยายามทุกวิถีทางท่ีจะปฏิบัติตนใหคุนเคยกับคน ของทองถ่นิ นนั้ ๆ วาเขามชี ีวติ ความเปนอยูทแ่ี ทจริงอยา งไร 2.3 มีวินยั วทิ ยุและโทรทศั นเปนสือ่ ท่ีมีเวลาเปนเคร่ืองกําหนดท่ีแนนอน นักเขียนควรกําหนด จุดเปาหมายของตนเองวาจะเขียนใหไดอยางนอยกี่คําตอวัน ผูท่ียึดอาชีพนี้จะตองมีวินัยในการเขียน เปน อยา งมาก เพอื่ ใหส ามารถสง บทไดต รงเวลา และผลติ บทออกมาอยางสม่าํ เสมอเพือ่ การยงั ชีพ
128 2.4 รูจักการใชภาษา นักเขียนบทจะตองเปนผูท่ีสามารถสรางคําตางๆ ข้ึนมาไดโดยอาศัย แหลงขาวสารขอมูลตาง ๆ ฟงคําพูดของบุคคลตางๆ ศึกษาจากการอานหนังสือ นิตยสาร หนังสือพิมพ การเขาเรียนในหองเรียน ฟงวิทยุกระจายเสียง ดูโทรทัศน ภาพยนตร นอกจากนี้หนังสือจําพวก พจนานุกรม ศัพทานุกรม เปนส่ิงที่มีคาสําหรับนักเขียน เพราะสามารถชวยในการตรวจสอบหรือคนหา คาํ ได การเขยี นสาํ หรับสื่อประเภทวิทยุโทรทัศนมีกุญแจดอกสําคัญคือ “ความงาย” เพ่ือผูรับจะไดเขาใจ ไดง ายและเขาใจไดเรว็ 2.5 รูจักส่ือ นักเขียนบทตองรูถึงการทํางานของเครื่องมือของสื่อนั้น ๆ โดยการดู เพ่ือที่จะ เรียนรู อานจากหนงั สือท่อี ธิบายถึงกระบวนการออกอากาศ หรือเยย่ี มชมและสงั เกตการเสนอรายการตา ง ๆ อบรมระยะสนั้ ๆ กบั มหาวทิ ยาลัยตาง ๆ หรอื ศึกษาดูงาน เปน ตน 2.6 มีความเพียร อาชีพนักเขียนตองมีความมานะอดทน มีความเพียรพยายามท่ีจะทําใหได และอาจจะตอ งเขยี นบทจํานวนมากกวาจะมีคนยอมรบั สกั เร่ือง แหลง ขอ มลู สําหรับการเขยี นบทวทิ ยโุ ทรทัศน 1. หนังสือพมิ พ นกั เขียนบทสามารถนําเน้ือหาของขาวสารตางๆ มาพัฒนาเปนโครงสรางของ บทไดอยางดี แมกระทั่งขาวซุบซิบ ขาวสังคมในหนังสือพิมพ ก็สามารถนํามาพัฒนาบุคลิกของตัวละคร แตละตวั ในเรื่องท่เี ขียนได 2. นติ ยสาร เร่ืองราวตา ง ๆ ในนิตยสารแตล ะประเภทเปนขอมูลท่ีดีเย่ียมสําหรับนักเขียนบท ในดานขอมูล ขอ เท็จจรงิ ตลอดจนการสบื เสาะไปสูแ หลงขอ มูลเบื้องตนไดอยา งดี ปจจุบันนิตยสารมีหลาย ประเภทและแยกแยะ เนน ผอู านท่ีสนใจเฉพาะเร่ืองนั้น ๆ ย่ิงทําใหนักเขียนบทแสวงหาขอมูลที่เจาะจงได งายข้นึ 3. รายงานการวิจัย ในการเขียนบทบางคร้ังผลงานวิจัยเขามามีบทบาทสําคัญในการประกอบ การเขียนบท สถานีวทิ ยุโทรทัศนบางแหง หรือบริษทั ผลติ รายการวิทยุโทรทัศน จะมีแผนกวิจยั ไว โดยเฉพาะ เพ่อื ทําหนาที่วจิ ัยหาขอมูลมาประกอบการเขียนบท 4. หองสมุด นักเขียนบทบางทานทํางานอยูในสถานีท่ีไมมีแผนกวิจัย จึงตองหาขอมูลจาก หองสมุดทม่ี ีอยใู นทอ งถ่นิ ซ่ึงเปนแหลงขอ มลู ที่ดอี ีกแหง หนึ่งของนักเขียนบทวทิ ยโุ ทรทัศน 5. หนว ยงานราชการ เม่อื ไดร ับมอบหมายใหเ ขยี นบทใหก ับหนวยงานราชการตา ง ๆ นักเขียน บทจะแสวงหาขอมูลเก่ียวกับเร่ืองนั้น ๆ จากหนวยงานท่ีเก่ียวของโดยตรง เชน เขียนเรื่องเกี่ยวกับปาไม กแ็ สวงหาขอ มูลจากกรมปา ไม เปน ตน นอกจากขอมูลจากแหลงใหญ ๆ ทั้ง 5 แหลงแลว นักเขียนบทสามารถหาขอมูลไดดวยตนเอง จากการคุยกับเพ่ือน ๆ ในวงวิชาชีพตาง ๆ จากการไปอยูในสถานท่ีนั้น ๆ ไปไดพบไดเห็นไดยินมาดวย ตนเอง นกั เขียนบทสามารถบนั ทกึ ไวใ นคลงั สมองของตนเอง แลวนํามาใชไ ดทนั ทเี มอ่ื ตองการ
129 รูปแบบและประเภทของบทวทิ ยุโทรทัศน บทวทิ ยโุ ทรทศั นป ระกอบดวยองคประกอบที่จําเปน 2 สวน คือ สวนของภาพและสวนของเสียง การใหขอมูลที่สมบูรณทั้งดานภาพและเสียงจะทําใหรายการสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี ดังน้ัน นักเขียนบท วทิ ยุโทรทศั นค วรทราบขอ กําหนดในการวางรูปแบบโทรทัศน และประเภทของบทวทิ ยุโทรทัศน เพ่ือจะทํา ใหง ายและสะดวกตอการทํางานของฝา ยผลิตรายการ 1. การวางรปู แบบบทวิทยโุ ทรทศั น สวนภาพ การวางรูปแบบบทวิทยุโทรทัศนโดยท่ัวไปน้ัน นิยมเขียนโดยสวนของภาพจะอยู คร่ึงหนากระดาษทางซาย และสวนของเสียงจะอยูทางขวาของคอลัมนภาพ เพื่อผูเขียนตองการเขียน ขอแนะนําเคร่ืองหมายของช็อต (shot) ท่ีสําคัญคือ ตัวหนังสือ ภาพและส่ิงท่ีจําเปนที่สําคัญท่ีเกี่ยวกับ ภาพโทรทัศนใหเขยี นสิง่ เหลาน้ไี วใน “สวนภาพ” ทั้งน้ี ผูเขียนตองเขาใจศัพททางดานโทรทัศนพอสมควร และพยายามใชคําศัพทดานภาพและดานเทคนิคที่ตนเขาใจเปนอยางดี หลีกเลี่ยงการใชศัพทเทคนิคที่ ผเู ขยี นเองยงั ไมเขา ใจความหมายทีแ่ ทจ รงิ ของคํานนั้ ๆ สวนเสียง ผูเขียนจะใสคาํ บรรยาย เพลง เสียงประกอบใน “สวนเสียง” เชนเดียวกับการอธิบาย สิ่งตาง ๆ ใหกับตัวแสดง ผูแสดงแบบ ผูบรรยาย เชน อธิบายการเคล่ือนไหว หรืออารมณ เปนตน จะไมใช สวนภาพสําหรับอธิบายส่งิ ตา ง ๆ ใหกับตัวแสดงไมวาจะอยหู ลงั กลอ งหรอื หนา กลอง คําอธิบายและรายการซ่ึงควรเขียนไวกอนบท ไดแก คําอธิบายเกี่ยวกับลักษณะผูแสดง (character) ฉาก (setting) และอุปกรณท่ีใชประกอบฉาก ตลอดจนงานดานกราฟฟกภาพที่ใชประกอบ เอาไวหนาเดยี วหรอื หลายหนา กไ็ ด จะไมม ีการเขียนสง่ิ เหลา น้ไี วใ นบท เพราะอาจทําใหเกิดการสับสนและ เปน สาเหตุของความผดิ พลาด ขณะที่อานบทอยา งรวดเร็วระหวา งการผลติ 2. ประเภทของบทวิทยุโทรทัศน 2.1 บทวิทยุโทรทัศนแบบสมบูรณ บทประเภทนี้จะบอกคําพูดทุกคําพูดท่ีผูพูดจะพูดใน รายการต้ังแตตนจนจบ พรอมกันน้ันก็จะบอกรายละเอียดเก่ียวกับคําส่ังทางดานภาพและเสียงไว โดยสมบรู ณ รายการทีใ่ ชบ ทประเภทนไ้ี ดแ ก รายการละคร รายการตลก รายการขาว และรายการโฆษณา สินคา สาํ คญั ๆ ประโยชนของการเขียนบทวิทยุโทรทัศนแบบสมบูรณ คือ เราสามารถมองภาพของรายการได ตั้งแตต นจนจบกอ นทจี่ ะมีการซอ ม ทําใหเราสามารถกําหนดมุมกลอง ขนาดภาพและขนาดของเลนสที่ใช ตลอดจนกาํ หนดเวลาการเคลอื่ นไหวของกลอ งไดอยางถูกตอ งแนน อน ขอเสียเปรียบของบทวิทยุโทรทัศนแบบนี้ คือ เราจะปฏิบัติตามบทอยางเครงครัด ถาทุกสิ่ง ทกุ อยางเปนไปตามบท รายการกจ็ ะดาํ เนินไปดว ยดีและสมบูรณ แตหากมีอะไรไมเปนไปตามบท ผูกํากับ รายการและผรู วมทมี งานกจ็ ะเกิดความสับสนและตอ งพยายามแกไ ขปญหาเฉพาะหนา ที่เกดิ ข้ึนใหไ ด 2.2 บทวิทยุโทรทัศนก่ึงสมบูรณ มีขอแตกตางกับบทโทรทัศนแบบสมบูรณ ตรงท่ีคําพูด คาํ บรรยายหรือบทสนทนาไมไดระบหุ มดทกุ ตัวอักษร บอกไวเ พยี งแตหัวขอเรอ่ื ง หรือเสียงที่จะพูดโดยทั่วไป
130 เทานั้น บทดังกลาวใชกับรายการประเภทรายการ เพ่ือการศึกษา รายการปกิณกะและรายการท่ีผูพูด ผูสนทนา หรอื ผบู รรยายพดู เองเปน สว นใหญ ไมม ีระบุในบท สิง่ สาํ คญั ของบทวิทยโุ ทรทัศนแบบกง่ึ สมบรู ณ คอื ตอ งระบคุ าํ สุดทา ยของคาํ พดู ประโยคสุดทาย ท่ีจะใหเปน สัญญาณบอกผกู ํากับรายการวา เม่อื จบประโยคน้จี ะตดั ภาพไปยังภาพยนตร สไลด หรือภาพนิ่ง ซง่ึ ใชประกอบในรายการ หรือตัดภาพไปยังโฆษณา หรือตัดภาพไปฉากอนื่ 2.3 บทวิทยุโทรทัศนบอกเฉพาะรูปแบบ จะเขียนเฉพาะคําสั่งของสวนตาง ๆ ท่ีสําคัญใน รายการ ฉากสําคัญ ๆ ลําดับรายการท่ีสําคัญ ๆ บอกเวลาของรายการแตละตอน เวลาดําเนินรายการ บทโทรทัศนแบบน้ี มักจะใชกับรายการประจําสถานี อาทิ รายการสนทนา รายการปกิณกะ รายการ อภปิ ราย 2.4 บทวิทยุโทรทัศนอยางคราว ๆ บทประเภทนี้จะเขียนเฉพาะส่ิงที่จะออกทางหนาคําสั่ง ทางดานภาพและดานเสียง โดยทั่วไปแลวผูกํากับรายการจะตองนําบทอยางคราว ๆ นี้ไปเขียน กลองโทรทัศนเทานั้นและบอกคําพูดท่ีจะพูดประกอบสิ่งที่ออกหนากลองไวอยางคราว ๆ ไมมีตบแตง ใหม ใหเขาอยูในรูปของบทวิทยุโทรทัศนเฉพาะรูปแบบเสียกอน เพ่ือใหผูรวมงานท้ังหมดไดรูวาควรจะ ทาํ งานตามขัน้ ตอนอยางไร หลักการเขยี นบทวทิ ยุโทรทศั น การเขียนบทวทิ ยุโทรทัศนควรคํานงึ ถึงส่งิ ตอ ไปน้ี 1. เขยี นโดยใชสํานวนสนทนาทีใ่ ชสาํ หรับการพูดคุย มใิ ชเ ขยี นในแบบของหนงั สอื วชิ าการ 2. เขียนโดยเนนภาพใหมาก รายการวิทยโุ ทรทศั นจะไมบรรจุคาํ พูดไวทกุ ๆ วนิ าที แบบรายการ วิทยกุ ระจายเสียง 3. เขียนอธบิ ายแสดงใหเห็นถึงสง่ิ ทก่ี าํ ลังพูดถึง ไมเขียนและบรรยายโดยปราศจากภาพประกอบ 4. เขียนเพื่อเปนแนวทางใหเ กิดความสัมพนั ธร ะหวางผชู มแตละกลุม ผซู ่ึงเปนเปาหมาย ในรายการของทา น มิใชเ ขียนสาํ หรบั ผูชมโทรทศั นส วนใหญ 5. พยายามใชถ อ ยคําสํานวนท่เี ขา ใจกนั ในยุคน้ัน ไมใ ชค าํ ทมี่ ีหลายพยางค ถามีคําเหมือน ๆ กัน ใหเลือก ใหเ ลือกใชค ําท่เี ขาใจไดงา ยกวา 6. เขียนเรื่องที่นาสนใจและตองการเขียนจริง ๆ ไมพยายามเขียนเรื่อง ซ่ึงนาเบ่ือหนาย เพราะความนาเบ่ือจะปรากฏบนจอโทรทัศน 7. เขียนโดยพฒั นารูปแบบการเขียนของตนเอง ไมลอกเลียนแบบการเขยี นของคนอน่ื 8. คนควาวัตถุดิบตาง ๆ เพ่ือจะนํามาใชสนับสนุนเนื้อหาในบทอยางถูกตองไมเดาเอาเอง โดยเฉพาะอยางย่ิงเมือ่ มขี อ เทจ็ จริงเขา ไปเกยี่ วขอ ง 9. เขียนบทเริม่ ตน ใหน า สนใจและกระตุนใหผชู มอยากชมตอ ไป 10. เขยี นโดยเลอื กใชอารมณแ สดงออกในปจจุบนั ไมเปน คนลาสมัย 11. ไมเ ขยี นเพื่อรวมจุดสนใจทัง้ หมดไวใ นฉากเล็ก ๆ ในหองทมี่ ีแสงไฟสลวั ผูชมตอ งการมากกวาน้นั
131 12. ใชเทคนิคประกอบพอควร ไมใชเทคนิคประกอบมากเกินไปจนเปนสาเหตุใหสูญเสียภาพ ทีเ่ ปน สว นสาํ คญั ท่ตี อ งการใหผูชมไดเขาใจไดเห็น 13. ใหความเช่ือถือผูกํากับรายการวาสามารถแปลและสรางสรรคภาพไดตามคําอธิบายและ คําแนะนําของผูเขียน ผูกํากับจะตัดทอนบทใหเขากับเวลาที่ออกอากาศ และไมตองแปลกใจ ถาบรรทัด แรก ๆ ของบทถกู ตดั ออก หรอื อาจผิดไปจากชว งตน ๆ ท่ีเขียนไว ตองใหความเช่ือถือผูกํากับรายการและ ไมพยายามจะเปนผกู าํ กบั รายการเสียเอง 14. ไมลมื วาผูกาํ กับจะแปลความเราใจของผูเขียนบทออกมาไดจากคําอธิบายและคําแนะนําที่ ผเู ขยี นเขยี นเอาไวใ นบท 15. ผูเขียนบทตองแจงใหทราบถึงอุปกรณท่ีตองใชเปนพิเศษ ซึ่งจําเปนและอาจหาไดยาก เวลาเขียนควรคํานึงดวยวาอุปกรณท่ีใชประกอบนั้นเปนอุปกรณซ่ึงไมส้ินเปลืองคาใชจายมากจนเกินไป และอุปกรณน้ันตอ งหาได ขนั้ ตอนการเขียนบทวิทยุโทรทศั น การเขียนบทวิทยุโทรทัศนมีข้ันตอนงาย ๆ 3 ข้นั ไดแก การกําหนดวัตถุประสงคแ ละกลมุ เปาหมาย การกําหนดระยะเวลาและรปู แบบของรายการ และการกําหนดหวั ขอ เรอื่ ง ขอบขา ยเน้อื หา คน ควา และลง มอื เขียน 1. กําหนดวัตถปุ ระสงคแ ละกลมุ เปา หมาย ส่ิงแรกท่ีควรคํานึงกอนลงมือเขียน คือ วัตถุประสงคของการเขียน วาเขียนเพ่ืออะไร เขยี นเพอื่ ใคร ตอ งกําหนดใหแนนอนวา ผเู ขียนตองการใหรายการที่กําหนดใหอะไรแกผ ชู ม เชน ใหความรู ใหค วามบนั เทิง ปลูกฝงความสาํ นกึ ที่ดีงาม เปนตน จากน้ันจึงดกู ลุมเปา หมาย วาผเู ขียนตองการผชู มเพศใด อยใู นชวงอายุ การศึกษา สถานภาพทางสังคม สถานภาพทางเศรษฐกจิ แบบใด เปนตน 2. การกาํ หนดระยะเวลาและรปู แบบของรายการ ผูเขียนตองรูวาเวลาในรายการมีระยะเวลาเทาไร เพ่ือจะไดกําหนดรูปแบบของรายการ ใหเหมาะสมกับระยะเวลาของรายการ รูปแบบของรายการสามารถจัดแบงออกไดหลายแบบ ไดแก รายการขาว รายการพูดกับผูชม รายการสัมภาษณ รายการสนทนา รายการตอบปญหา รายการแขงขัน รายการอภปิ ราย เกม รายการสารคดี รายการปกิณกะ รายการดนตรแี ละละคร 3. การกําหนดหวั ขอ เรอ่ื ง ขอบขา ยเน้อื หา คนควา และลงมอื เขยี น เม่ือทราบเงื่อนไขตาง ๆ ดังท่ีกลาวมาในตอนตนแลว จะทําใหผูเขียนกําหนดหัวขอเร่ืองและ ขอบขายเนื้อหาไดงายข้ึน จากนั้นจึงเริ่มคนควาเพิ่มเติมเพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตองที่สุดแลวจึงลงมือ เขยี น โดยคํานึงถึงขอควรคํานึงหลักการเขียนบทวิทยุโทรทัศน 15 ขอที่กลาวมาแลวขางตน หลังจากน้ัน ควรตรวจสอบขอเท็จจริง สํานวนและเขียนอีกเพ่ือพัฒนาบท แกไขปรับบทวิทยุโทรทัศนเพ่ือใหไดบทวิทยุ โทรทัศนท ่ดี ที ส่ี ดุ
132 3. นักเขยี นนิทาน เปนเร่ืองของจินตนาการ ผูเขียนจะตองมีศิลปะในการเขียนเพื่อใหความสนุกสนานปลูกฝง คณุ ธรรม คติแงคดิ มมุ มองตา ง ๆ แกผ ูอา น องคประกอบของนิทาน 1. แนวคิด แกนสาร หรือสาระท่ีจุดประกายใหเกิดเรื่องราว เชน แมกระตายผูรักลูกสุดหัวใจ ยอมสละชีวิตตัวเองเพ่ือแลกกับลูก หรือลูกส่ีคนคิดปลูกฟกทองยักษใหแม หรือลูกไก 7 ตัวที่ยอมตาย ตามแม หรือโจรใจรายชอบทํารายผูหญิงวันหน่ึงกลับทํารายแมตัวเองโดยไมต้ังใจ หรือลูกหมูสามตัว ไมเ ชือ่ แมทําใหเปน เหยือ่ ของหมาปา 2. โครงเร่ืองของนทิ าน โครงเรื่องและเนอื้ หาตองไมซ บั ซอน สน้ั ๆ กระทัดรัด เปนลักษณะ เรอ่ื งเลา ธรรมดา มกี ารลาํ ดบั เหตุการณกอ นหลงั 3. ตวั ละคร ขนึ้ อยกู บั จนิ ตนาการของผเู ขียน เชน คน สัตว เทพเจา แมม ด เจาชาย นางฟา แตไ มควรมีตวั ละครมากเกนิ ไป 4. ฉาก สถานทเ่ี กิดเหตุ เชน ในปา กระทอ มรา ง ปราสาท บนสวรรค แลว แตความคิดสรางสรรค ของผูเขียน 5. บทสนทนา การพดู คุยของตวั ละคร ควรใชภ าษาทเ่ี ขา ใจงา ย กระชบั สนุกสนาน ไมใช คาํ หยาบ 6. คตสิ อนใจ เมือ่ จบนทิ าน ผอู านควรไดแงค ดิ คติสอนใจเพอื่ เปนการปลกู ฝง คณุ ธรรมกลอมเกลา จติ ใจ สรปุ การทจ่ี ะเปนนักเขยี น หรอื นักพูดประเภทใด ๆ ก็ตาม หัวใจสําคัญของนักเขียน หรือนักพูด ก็คือ ความรทู ีน่ กั เขียน หรือนกั พูดไดถายทอดใหก บั ผูฟง หรอื ผูอา น (ผรู ับสาร) ไดเขา ใจในประเด็น หรือส่ิง ทีไ่ ดน ําเสนอ เรื่องท่ี 3 การเพ่ิมพนู ความรแู ละประสบการณท างดา นภาษาไทย เพื่อการประกอบอาชีพ จากการนาํ เสนอแนวทางของการนาํ ความรภู าษาไทยไปเปน ชอ งทางในการประกอบอาชีพประเภท ตาง ๆ เชน การพดู การเปน พิธกี ร ผูประกาศ นักจัดรายการวทิ ยุ โทรทศั น ครูสอนภาษาไทยกับประชาชน อาเซียน การเขียน นกั เขยี นขาว เขียนบทละคร เขียนนทิ าน เขียนสารคดี แลวนั้น เปนเพียงจุดประกายให ผูเรียนไดเรียนรูวาการเรียนวิชาภาษาไทยมิใชเรียนแลวนําความรูไปใชในชีวิตประจําวันเทาน้ัน แตการ เรยี นรูวิชาภาษาไทยยังสามารถนําความรูประสบการณทางดานภาษาไทยไปประกอบอาชีพ สรางรายได ใหกับตนเองไดดวย แตการท่ีผูเรียนจะเปนนักเขียน หรือนักพูดที่มีชื่อเสียง เปนที่ยอมรับของสังคม ผูเรียนจะตองแสวงหาความรู ทักษะ ประสบการณเพิ่มเติมจากสถาบันการศึกษาท้ังภาครัฐและเอกชน ท่ีเปน หลักสตู รเฉพาะเร่ือง หรอื หากผูเ รยี นตอ งการศึกษาหาความรูเพ่ิมเติมในระดับการศึกษาที่สูงข้ึนก็จะ มีสถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย เชน คณะนเิ ทศศาสตร คณะวารสารศาสตร ฯลฯ ไดอีกทางเลือก หนึ่ง หรือในขณะที่ผูเรียนกําลังศึกษาอยูในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและตองการที่จะเรียนรูวิชา
133 ภาษาไทย เพื่อตอยอดไปสูชองทางการประกอบอาชีพไดจริง ผูเรียนสามารถเลือกเรียนวิชาเลือกตาม หลักสตู รในระดับเดยี วกนั ท่ีมเี นอื้ หาเฉพาะเรอ่ื งที่สนใจไดอกี ทางเลือกหน่ึงดว ย นอกจากท่ีผเู รยี นจะเลอื กวิธีการศึกษา หาความรูเพิ่มเตมิ โดยวิธศี กึ ษาเปนหลกั สูตรส้ัน ๆ เฉพาะเร่ือง หรือจะศึกษาตอเฉพาะสาขาวิชาในระดับการศึกษาท่ีสูงข้ึนก็ตาม แตส่ิงสําคัญท่ีผูเรียน ควรปฏิบัติอยางตอเนื่อง คือ การฝกฝนทักษะ ประสบการณในการเขียน หรือการพูดอยางสมํ่าเสมอ รวมทง้ั มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรูกับกลมุ คนท่ีมีความสนใจในอาชพี เดียวกันดว ย กจิ กรรมทายบท กจิ กรรมท่ี 1 ใหผเู รียนแสดงความคดิ เห็นถึงคุณคาของภาษาไทยวามอี ะไรบา ง กิจกรรมท่ี 2 ใหผ เู รยี นวเิ คราะหตนเองวา เปนผทู ี่มีความรคู วามสามารถในการเปนนักพูด หรือนกั เขียน หรอื ไม เพราะเหตุใด กิจกรรมที่ 3 ใหผเู รียนแสดงความคดิ เหน็ วา หากผเู รียนตอ งการจะเปนนกั เขียน หรือนักพูดทดี่ ีแลว ผูเ รยี นจะศึกษาหาความรู ทักษะ ประสบการณจ ากที่ใดไดบ า ง และเพราะเหตุใดจงึ ตดั สนิ ใจ เชนน้ัน
134 บรรณานุกรม การศกึ ษานอกโรงเรยี น, กรม ชุดวชิ าภาษาไทย หมวดวชิ าภาษาไทยระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ตามหลักเกณฑแ ละวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียนหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 2544: โรงพิมพอ งคก ารคา ของครุ ุสภา 2546 การศกึ ษานอกโรงเรียน, กระทรวงศึกษาธิการ ชดุ การเรยี นทางไกลระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย หมวดวิชาภาษาไทย 2546
135 หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 รายชื่อผูเขารวมประชุมปฏบิ ัติการพัฒนาหนังสือเรยี นวิชาภาษาไทย ระหวา งวันท่ี 10 - 13 กุมภาพันธ 2552 ณ บานทะเลสีครมี รสี อรท จงั หวัดสมุทรสงคราม 1. นางสาวพิมพใจ สิทธิสรุ ศักด์ิ ขา ราชการบาํ นาญ 2. นางพมิ พาพร อินทจกั ร สถาบัน กศน. ภาคเหนือ 3. นางกานดา ธวิ งศ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ 4. นายเริง กองแกว สาํ นกั งาน กศน. จังหวัดนนทบุรี รายช่อื ผูเขารวมประชุมบรรณาธิการหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ครั้งท่ี 1 ระหวา งวนั ท่ี 7 - 10 กันยายน 2552 ณ โรงแรมอทู องอินน จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา 1. นางสาวพิมพใ จ สทิ ธสิ ุรศักด์ิ ขา ราชการบาํ นาญ สํานักงาน กศน. จงั หวดั นนทบุรี 2. นายเรงิ กองแกว กลุม พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 3. นางนพรตั น เวโรจนเสรวี งศ ครั้งที่ 2 ระหวางวนั ท่ี 12 - 15 มกราคม 2553 ณ โรงแรมอทู องอินน จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา 1. นางสาวพิมพใ จ สิทธิสรุ ศักด์ิ ขา ราชการบํานาญ สาํ นกั งาน กศน. จงั หวัดนนทบุรี 2. นายเริง กองแกว กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 3. นางนพรตั น เวโรจนเ สรีวงศ
136 คณะผจู ดั ทํา ที่ปรกึ ษา บญุ เรือง เลขาธิการ กศน. อม่ิ สวุ รรณ รองเลขาธิการ กศน. 1. นายประเสริฐ จาํ ป รองเลขาธกิ าร กศน. 2. ดร.ชยั ยศ แกว ไทรฮะ ท่ีปรึกษาดา นการพัฒนาหลกั สูตร กศน. 3. นายวัชรินทร ตณั ฑวฑุ โฒ ผูอาํ นวยการกลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 4. ดร.ทองอยู 5. นางรักขณา กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน คณะทาํ งาน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 1. นายสรุ พงษ ม่ันมะโน กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 2. นายศภุ โชค ศรรี ตั นศลิ ป 3. นางสาววรรณพร ปทมานนท กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 4. นางสาวศรญิ ญา กุลประดิษฐ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 5. นางสาวเพชรนิ ทร เหลืองจิตวัฒนา กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น ผพู มิ พต นฉบบั กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 1. นางปยวดี คะเนสม กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 2. นางสาวเพชรินทร เหลืองจิตวฒั นา 3. นางสาวกรวรรณ กววี งษพ ิพฒั น 4. นางสาวชาลนี ี ธรรมธิษา 5. นางสาวอรศิ รา บานชี ผูอ อกแบบปก ศรรี ัตนศลิ ป นายศุภโชค
137 รายชื่อผเู ขารว มประชุมปฏิบตั กิ ารปรบั ปรงุ เอกสารประกอบการใชห ลกั สตู รและสอ่ื ประกอบการเรียนหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระหวางวันที่ 4 - 10 พฤศจิกายน 2554 ณ โรงแรมมิรามา กรุงเทพมหานคร สาระความรพู ้ืนฐาน (รายวิชาภาษาไทย) ผูพัฒนาและปรับปรงุ 1. นางอัชราภรณ โควคชาภรณ หนว ยศกึ ษานเิ ทศก ประธาน 2. นางเกลด็ แกว เจริญศกั ด์ิ หนว ยศกึ ษานิเทศก เลขานกุ าร ผูช วยเลขานุการ 3. นางนพรตั น เวโรจนเ สรีวงศ กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 4. นางสาวสมถวลิ ศรีจนั ทรวโิ รจน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 5. นางสาววันวสิ าข ทองเปรม กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
138 คณะผปู รบั ปรุงขอมลู เกีย่ วกบั สถาบนั พระมหากษตั ริย ป พ.ศ. 2560 ที่ปรกึ ษา จาํ จด เลขาธิการ กศน. หอมดี ผตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ 1. นายสรุ พงษ ปฏบิ ัตหิ นา ทรี่ องเลขาธกิ าร กศน. 2. นายประเสรฐิ สขุ สุเดช ผอู ํานวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 3. นางตรีนุช ผปู รบั ปรุงขอมูล นางสาวอนงค เช้อื นนท กศน.เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร คณะทาํ งาน 1. นายสรุ พงษ มนั่ มะโน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 2. นายศุภโชค ศรรี ตั นศลิ ป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 3. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาํ ไพศรี กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 4. นางเยาวรัตน ปนมณีวงศ กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 5. นางสาวสุลาง เพช็ รสวาง 6. นางสาวทพิ วรรณ วงคเ รอื น 7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวฒั น 8. นางสาวชมพนู ท สงั ขพิชัย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148