ปรัชญาเต๋า 道教 TAOISM ETHICS จริลยัทศธาิเสต๋ตาร์ รายวิชา จริยศาสตร์ คุณธรรม จริยธรรม จัดทำโดย 1521201 Section 01 นางสาวพิมพกานต์ ใจแก้ว 62031030141 นางสาววชิราพรรณ ขะจวง 62031030147 นางสาวสุพัตรา จันเหลืง 62031030161
ความเป็นมาของ สัญลักษณ์ของศาสนาเต๋า มี 2 อย่างคือ ป รั ช ญ า เ ต๋ า รูปวงกลม ซึ่งแบ่งเป็นสองส่วนด้วยเส้นเว้า ซีก หนึ่งเป็นสีขาวมีวงกลมเล็กสีดำอยู่ภายใน อีกซีก ลัทธิเต๋า หรือ ศาสนาเต๋า เป็นปรัชญา หนึ่งเป็นสีดำ มีวงกลมเล็กสีขาวอยู่ภายใน และศาสนาที่มีต้นกำเนิดในประเทศจีน เน้นการ สัญลักษณ์นี้เป็นการแสดงว่าหยินกับหยางหรือ ใช้ชีวิตกลมกลืนกับเธรรมชาติ ศาสนาเต๋าเกิด สิ่งที่เราเห็นว่าเป็นสิ่งตรงกันข้ามนั้นแท้จริงแล้ว และพัฒนาในสมัยบ้านเมืองระส่ำระสายประเทศ จะอยู่ด้วยกันเสมอ ถ้ามีหยินก็จะต้องพบหยางใน จีนแตกออกเป็นแคว้นใหญ่ๆ หลายแคว้น มี ทุกสิ่ง คำว่า หยิน-หยาง สงครามที่ยืดเยื้อภายในประเทศสังคมมีแต่ หมายถึงสิ่งที่เป็นของคู่กันในธรรมชาติ คือ ความสับสนวุ่นวาย เหตุการณ์เลวร้ายเหล่านี้ ผลักดันให้นักปราชญ์จีนพยายามหาแนวทางที่ หยิน คือ เพศหญิง ความมืด จะปรับเปลี่ยนความคิดของนักปกครองเพื่ อให้ ความหนาวเย็น ความอ่อนแอ บ้านเมืองมีความสงบ หยาง คือ เพศชาย สัญลักษณ์ของศาสนา แสงสว่าง ความร้อน ความเข้มแข็ง รูปเล่าจื๊อขี่กระบือ หมายถึง การเดินทางไป ยังที่ต่างๆ ของเล่าจื้อมัก จะใช้ควายเป็นพาหนะ แม้ กระทั่ง การเดินทางครั้ง สุดท้ายไปยังพรมแดน ของจีนต่อกับทิเบตทาง ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ก็ใช้ ควายเป็นพาหนะ และก็ หายไปทั้งเล่าจื้อและ กระบือคู่ชีพ
ศาสดา ศ าสดาของศาสนาเต๋าชื่อเล่าจื๊ อ (Lao-Tzu, Lao = แก่, Tzu = อาจารย์) แปลว่า นักปราชญ์ ผู้เฒ่า เป็นชื่อสมญา ตำนานเล่าว่าเมื่ อเกิดมามีผมขาวโพลนชื่อจริงคือ ลี้ตัน เกิดในตระกูล ชาวนายากจนทางภาคกลางของจีนเมื่ อปี 605 ก่อนค.ศ. เล่าจื๊ อเป็นผู้ฉลาดตั้งแต่เด็ก ชอบ สังเกตธรรมชาติ นิยมการดำเนินชีวิตตามธรรมชาติ รักสันโดษ ได้รับตำแหน่งเป็นข้าราชการ ชั้นผู้ใหญ่ในกรมอาลักษณ์เป็นนักปราชญ์และนักประวัติศาสตร์ประจำราชสำนักเล่าจื๊ อท้อแท้ ใจกับการฉ้อราษฎร์บังหลวงกันทั่วไป จึงลาออกจากราชการเพื่ อไปหาความสงบอย่างสันโดษ มุ่งไปยังภูเขาทางทิศตะวันตก ตำนานเล่าว่าเมื่ อถึงประตูเมือง นายประตูผู้รักษาด่านพรมแดน ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือแห่งเมืองโฮนานจำท่านได้ ขอให้ท่านหยุดพักเพื่ อเขียนคำสอนทาง ปรัชญาไว้ให้คนรุ่นหลัง เล่าจื๊ อจึงเขียนคัมภีร์เต๋าเต็กเก็ง หรือ เต๋าเต๋อจิง เป็นอักษรจีน ประมาณ 5,000 คำ จากนั้นก็เดินทางต่อไป ตั้งแต่นั้นมาก็ไม่มีใครทราบเรื่องราวของท่านอีก เลย ปัจจุบันนี้คำสอนของเล่าจื๊ อยังคงมีอิทธิพลมหาศาล ไม่ว่าจะรู้จักกันในชื่อศาสนาเต๋า หรือ ปรัชญาเต๋า หรือลัทธิเต๋า ความรู้ที่นักปราชญ์ฝ่ายเต๋าได้ช่วยกันสะสมและถ่ายทอดสืบต่อกัน มาหลายชั่วคน ก็ได้กลายมาเป็นขุมทรัพย์ทางปัญญาอันลุ่มลึกและหลากหลาย ที่โลกปัจจุบัน กำลังพยายามศึกษาด้วยความทึ่งและนำมาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง กล่าวได้ว่าแทบจะไม่มี วิทยาการสาขาใดเลยในอารยธรรมอันยาวนานของประเทศจีน ที่ไม่ได้รับอิทธิพลของมรดก ทางปัญญาฝ่ายเต๋า รัฐศาสตร์ ศาสนา วิทยาศาสตร์ แพทยศาสตร์ จิตวิทยา จิตรกรรม ดนตรี วรรณคดี การละคร นาฏศิลป์ มัณฑศิลป์และยุทธศาสตร์ ล้วนมีความรู้แบบเต๋าเป็นรากฐาน หรือส่วนประกอบสำคัญทั้งสิ้น
คำ ส อ น ลักษณะคนดีและชีวิตที่มีสุขสูงสุด ห ลักจริยธรรมของเต๋าเน้นธรรมชาติและชีวิต เต๋าเชื่อว่า “ความดีสูงสุดเปรียบเสมือนน้ำก่อเกิดประโยชน์กับทุกสิ่งโดยไม่ แข่งขันกับใคร” หมายถึง สิ่งทั้งหลายเจริญเติบโตขึ้นมาด้วยน้ำ แต่น้ำไม่พยายามจะเลื่อนตัวเองให้ไปอยู่ระดับสูง แต่น้ำกลับ พอใจที่จะอยู่ในที่ต่ำ ปรัชญาในการดำเนินชีวิตตามหลักคำสอน ของศาสนาเต๋า มี 4 ประการ 1.จื้อไจ คือ การรู้จักตัวเองให้ถูกต้อง 2.จื้อเซง คือ ชนะตนเองให้ได้ 3.จื้อจก คือ มีความรู้จักพอด้วยตนเอง 4.จื้ออีเต๋า คือ มีเต๋าเป็นอุดมคติ ปรัชญาเต๋า จึงสอนให้มนุษย์มีความอ่อนน้อมถ่อมตน ต่อธรรมชาติ มีความเป็นอยู่อย่างเรียบง่าย ไม่ฟุ้งเฟ้อฟุ่มเฟือย ไม่ดิ้นรนไขว่คว้าไปตามแรงชักพาของกิเลส ไม่พยายามที่จะทำให้ เป็นปฏิปักษ์ต่อธรรมชาติ ไม่ประดิษฐ์ปั้ นแต่งธรรมชาติให้ผิด เพี้ยนไปจากความเป็นจริง แสวงหาคุณค่าภายในตัวเองให้เจอ เอาชนะตัวเองให้ได้ รู้จักพอไม่ทะเยอทะยาน พยายามทำตัวให้ อ่อนน้อมเหมือนน้ำที่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ได้ทุก รูปแบบแต่ไม่เคยสูญเสียความเป็นน้ำ หลักความเชื่อ และจุดหมายสูงสุด ปรัชญาเต๋า เชื่อว่าเต๋าเป็นธรรมชาติ ที่ศักดิ์สิทธิ์และเป็นพลังแห่งความดีงาม สูงสุด ทุกอย่าง เพราะฉะนั้นแต่ละคนควรมุ่ง เข้าถึงเต๋าและใครที่สามารถเข้าถึงเต๋า ก็จะ เป็นอมตบุคคล อมตบุคคลอาจเรียกได้หลาย อย่าง เช่น สัตยบุคคลบ้าง ฤาษีบ้าง เทพเจ้า บ้าง ผู้วิเศษบ้าง อมตบุคคลมี 2 แบบ คือ อมตบุคคลป่า และอมตบุคคลบ้าน
ห ลั ก คำ ส อ น สมบัติอันเป็นรัตนะ (แก้ว) 3 ประการ ที่ สำ คั ญ สิ่งที่ท่านเล่าจื๊อสอนให้บำเพ็ญ ให้เกิด ให้มี ในทุกๆ คน เพื่อความอยู่ดีของสังคม ก็คือ รัตนะ ชีวิตจะดีได้ต้องกลมกลืนกับ 3 ประการ ดังที่เล่าจื๊อได้กล่าวไว้ว่า ชาวโลกทั้งปวง ธรรมชาติ กล่าวว่าข้าพเจ้าเป็นนักปราชญ์ ข้าพเจ้าหาได้เป็น ดัง เล่าจื๊อสอนให้คนเราดำเนินชีวิตให้กลมกลืนกับ คำกล่าวของคนทั้งหลาย แต่ข้าพเจ้ามีสมบัติอันเป็น แก้ว 3 ประการ อยู่ในตัวข้าพเจ้า ที่คนทั้งหลายควร ธรรมชาติให้มากที่สุด คนจะทำดีและ ทำชั่วไม่ต้องมี ดูแลและรักษากันไว้ให้ดีคือ กฎหมายบังคับ แต่ปล่อยให้ธรรมชาติให้ลงโทษคุณ 1. ความเมตตากรุณา (เพราะมีความเมตตากรุณา เอง ให้เอาธรรมะเข้าสู้อธรรม เอาความสัตย์เข้าสู้ อสัตย์ เอาความดีเข้าสู่ความชั่ว หรือสอนให้เอา บุคคลก็ไม่ต้องกลัวอะไรทั้งนั้น) 2. ความกระเหม็ดกระแหม่ (เพราะมีความเมตตา ความอ่อนโยนสู้ความแข็งกร้าว ดังที่ว่า กรุณา บุคคลก็ไม่ต้องกลัวอะไรทั้งนั้น) \"คนที่ดีต่อเรา เราก็ดีต่อคนที่ไม่ดีต่อเรา 3. ความอ่อนน้อมถ่อมตนเพราะมีความอ่อนน้อม เราก็ดีต่อด้วยเพราะฉะนั้นทุกคน ถ่อมตน บุคคลก็สามารถมีสติปัญญาเจริญเต็มที่ได้ จึงควรเป็นคนดีคนที่ซื่อสัตย์ต่อเรา เราก็ซื่อสัตย์ต่อด้วยคนที่ไม่ซื่อสัตย์ต่อเรา ลักษณะคนดีและชีวิตที่ มีสุข เราก็ซื่อสัตย์ต่อด้วยเพราะฉะนั้นทุกคน สู ง สุ ด จึงควรเป็นคนซื่อสัตย์” เล่าจื๊ อสอนไว้ว่า หรือสอนให้เอาความอ่อนโยนสู้ความแข็งกร้าว ดัง ”คนดีที่สุดมีลักษณะเหมือนน้ำ น้ำทำ ที่ว่า ประโยชน์ให้แก่ทุกสิ่ง และไม่พยายาม ”เมื่อคนเราเกิดนั้น เขาอ่อนและไม่แข็งแรงแต่ แก่งแย่งแข่งดีกับสิ่งใดๆ เลย เมื่อตาย เขาแข็งและกระด้างเมื่อสัตว์ น้ำขังอยู่ในที่ต่ำที่สุด ซึ่งเป็นที่ใกล้เต๋า” และพืชยังมีชีวิต ก็อ่อนและดัดได้แต่เมื่อตาย (สิ่งทั้งหลายเจริญเติบโตขึ้ นมาด้วยน้ำ แต่น้ำ ก็เปราะและแห้งเพราะฉะนั้นความแข็ง ไม่พยายามจะเลื่ อนตัวเองให้ไปอยู่ระดับสูง และความกระด้าง จึงเป็นพวกพ้องของความตาย น้ำ ก ลั บ พ อ ใ จ อ ยู่ ใ น ที่ ต่ำ ที่ ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อ ย่ า ง ความอ่อนและความสุภาพ จึงเป็นพวกพ้อง พยายามหลีกเลี่ยง นี่แหละคือลักษณะหรือ ธรรมชาติของ “เต๋า“)ชีวิตที่เป็นไปง่ายๆ ของความเป็นด้วยเหตุนี้ เมื่อกองทัพแข็งกร้าว จึงแพ้ในสงคราม” ไม่มีการแก่งแย่งแข่งเด่นแข่งดี ปล่อยให้ เป็นไปตามวิวัฒนาการของธรรมชาติ ไม่มี การดิ้นรนเพื่ อแสวงหาตำแหน่งหน้าที่ ให้ “ เมื่อต้นไม้แข็ง จึงถูกโค่นลง เกิดอำนาจแก่ตน ทำประโยชน์ให้ ผู้อื่ นโดยไม่ สิ่งที่ใหญ่และแข็งแรง จะอยู่ข้างล่างสิ่งที่สุภาพและ หวังผลตอบแทนคือ ชีวิตที่มีสุขสูงสุด ตาม อ่อนโยน จะอยู่ข้างบน” ทรรศนะของเล่าจื๊ อ
ความบริสุทธิ์อันยิ่งใหญ่ 3 ปรัชญาในการดำเนินชีวิต 4ประการ ประการ มี 4 ประการ ชีวิตจะดีได้ จะต้องดำเนินในทาง เล่าจื๊ อสอนให้บุคคลเห็นและต้องถือเป็น ดังนี้ 1. จื้อไจ คือ รู้จักตัวของตัวเองใ หลักสำคัญของศาสนาเต๋า นั่นก็คือ ความ 2. จื้อเซง คือ ชนะตัวเองให้ได้ บริสุทธิ์อันยิ่งใหญ่ 3 ประการ ได้แก่ 3. จื้อจก คือ มีความรู้จักพอดี ด้วยตนเอง 1. สาระหรือรากฐานเดิม (ซิง) ข้อนี้มุ่งถึง 4. จี่อีเต๋า คือ มีเต๋าเป็นอุดมคติ สวรรค์ เรียกว่า วู ซิง-เทียนชุ น หรือ เทียน สาวกคนสำคัญ เปาชุ น โดยบุคลาธิษฐานเป็นมหาเทพ สถิต คือ จวงจื่อ เป็นจอมปราชญ์ อยู่ในอาณาจักรแห่งความบริสุทธิ์ มี จีน มีชีวิตเมื่อประมาณ 2,300 ปีที่ล่วงมา พระวรกายเป็นหยก ทรงเปล่งรัศมีดุจแสง ตรงกับยุคจั้นกว๋อ ท่านเป็นปราชญ์ใหญ่ผู้ รัง สรรค์แนวคิดอมตะที่ถูกจัดอยู่ในสำนัก ส ว่ า ง จ า ก ด ว ง อ า ทิ ต ย์ ใ ห้ ค น เ ห็ น ค ว า ม จ ริง ใ น คิดปรัชญาเต๋า เป็นปราชญ์รุ่นหลังเล่าจื๊อ ผู้รจนาคัมภีร์เต้าเต๋อจิงได้รับการยกย่อง โลก เป็นหนึ่งในสามจอมปราชญ์แห่งสำนักคิด 2. พลัง (ชี่) คือ พลังแห่งสติปัญญาความ ฝ่ายเต๋า จวงจื่อได้สืบทอดและพัฒนาต่อย สามารถ เรียกว่า วู ซี-เทียนชุ นโดย อดแนวคิดของเล่าจื๊ อ แนวคิดของท่านถูก รวบรวมไว้ในชื่อหนังสือ ซึ่งเป็นชื่อเดียวกับ บุคลาธิษฐานเป็นมหาเทพ สถิตอยู่ใน ท่าน คือ จวงจื่อ อาณาจักรแห่งความบริสุทธิ์ ทรงแบ่งเวลา ออกเป็นวัน คืน ฤดู ทรงเป็นเจ้าแห่ง ธรรมชาติคู่แห่งโลก คือ หยางและหยิน (ใน โลกนี้ล้วนมีคู่ เช่น มืด สว่าง, พระอาทิตย์ พระจันทร์, หญิง ชาย เป็นต้น) 3. วิญญาณ เรียกว่า ฟานซิง-เทียนชุ น หรือ เชนเปาชุ น โดยบุคลาธิษฐานเป็น จอมแห่ง วิญญาณทั้งหลาย สถิตอยู่ในอาณาจักรอัน เป็นอมตะของอมรทั้งปวง และเป็นผู้ทรง ความบริสุทธิ์ยิ่ง เป็นมหาเทพเท่ากับตัวเล่า จื๊ อผู้เป็นวิญญาณบริสุทธิ์อวตารลงมาสั่ง สอนมนุษย์ ถ้าจะเปรียบก็เท่ากับปรมาตมัน ห รือ พ ร ะ พ ร ห ม ใ น ศ า ส น า พ ร า ห ม ณ์ - ฮิ น ดู นิ ก า ย ลัทธิเต๋ามีอยู่ 2 นิกาย เต๋าเจีย มุ่งเข้าถึงเต๋า จิตจะมีแต่ความสงบสุขเพราะรู้เท่าทันความจริง เต๋าเจียว มุ่งเข้าหาเต๋า เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น ทำเสน่ห์เล่ห์กล ดูโชคชะตา รักษาโรค คงกะพันชาตรี และเหาะเหินเดินอากาศ
คั คัมภีร์เต๋าเต็กเก็ง ม ภี สำหรับเนื้อหาของคัมภีร์นั้น เป็นคัมภีร์ที่ไร้กาลเวลา มีเพียง ร์ การใช้คำแทนตัวว่า \"ข้าพเจ้า\" ที่มีเพียงไม่กี่บทเท่านั้น ภาษาที่ใช้ใน คัมภีร์ก็มีลักษณะคลุมเครือ มีการกล่าวถึง ภาวะสัจธรรมอันสูงสุดที่ อยู่นอกเหนือประสบการณ์มนุษย์ แต่ทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่า คัมภีร์นี้ จะเป็นคัมภีร์แห่งธรรมที่พ้นโลกออกไป แต่กลับสามารถตีความ และ เข้าใจในความหมายอื่ นได้ คัมภีร์เต้าเต๋อจิง ตำราแห่งศิลปะการเข้าถึงแก่นแท้ของชีวิต และการปกครอง ของผู้นำมนุษย์ต้องตระหนักได้ด้วยว่า คุณลักษณะในด้านใดที่จะ นำพาชีวิตให้ดำรงอยู่ได้อย่างยืนยงและดีงาม และนี่คือสิ่งสำคัญที่สุด อันก่อให้เกิด \"เต้าเต๋อจิง \" ขึ้นมา หรือที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่ง คือ \"คัมภีร์เต๋า\" เป็นคัมภีร์ซึ่งก่อกำเนิดจากแนวคิดของ \"เหลาจื่อ (เล่าจื๊อ)\"เต้าเต๋อจิง\" จึงเป็นที่แพร่หลายในหมู่ผู้อ่านชาวจีน และใน แถบประเทศตะวันออกมาทุกยุคสมัย ในฐานะ คัมภีร์แห่ง \"ลัทธิเต๋า\" คัมภีร์เต๋า จวงจื้อ คัมภีร์เต๋าที่ดีที่สุด โดยในเล่มได้รวบรวมหลักปรัชญาเต๋าหลาก หลายแนวคิดด้วยกัน ด้วยภาษาที่สละสลวยและงดงาม เปี่ ยมไปด้วย คุณค่าทางวรรณศิลป์ ที่จะทำให้คุณมองเห็นแนวคิดและมุมมอง ตลอดจนความรู้สึกนึกคิดหลักของปรัชญาและมีความเข้าใจ ธรรมชาติวิถีชีวิตมากขึ้น คัมภีร์เต๋า เลี่ยจื้อ เป็นพื้นฐานหลักในการศึกษาปรัชญาเต๋า และถูกจัดว่าเป็นเล่ม ที่อ่านทำความเข้าใจได้ง่ายที่สุด จุดเด่นของคัมภีร์นี้ อยู่ที่นิทานสั้นๆ จำนวนมาก ที่เต็มไปด้วยชีวิตชีวาและแทรกไว้ด้วยอารมณ์ขัน
พิ ธี ก ร ร ม พิธีปราบผีปีศาจ ศาสนิกชนเต๋าเชื่อว่า ลัทธิเต๋า ภูตผีปีศาจร้ายต่างๆ นั้น สามารถที่จะ ขับ ไล่และป้องกันได้ถ้ารู้จักวิธี เช่น ถ้าเดินป่าก็ พิธีบริโภคอาหารเจ ศาสนิกชนเต๋าในสมัย ต้องร้องเพลงหรือผิวปากให้เป็นเสียงเพลง ต่อมาได้มีลักษณะผิดเพี้ยนไปจากหลักการใน ผีเจ้าป่าไม่ชอบเสียงเพลง เมื่อได้ยินเสียง คัมภีร์เต้าเตกเกง คือมีทั้งเชื่อถือในเรื่อง เพลงก็จะหนีให้ห่างไกล เหมือนยุงกลัวควัน ไสยศาสตร์ ทั้งในทางที่ปรับให้มีความ ไฟ หรือถ้ากลัวว่าผีจะเดินตามเข้าไปในบ้าน ประพฤติปฏิบัติชอบโดยนำเอาศีล 5 ทาง ด้วย พอเดินมาถึงประตูบ้านก็ต้องหยุดยืน ศาสนาพุทธไปเป็นแนวปฏิบัติ และมีการ หมุนตัวสัก 2-3 รอบก่อนค่อยเข้าบ้าน บริโภคอาหาร แบบมังสวิรัติ คือไม่บริโภคเนื้อ เพราะถ้ามีผีตามมาจะทำให้มันหน้ามืด สัตว์ จัดให้มีเทศกาลของการบริโภคอาหารเจ ตาลาย ถึงกับวิ่งชนกำแพงหรือรั้วบ้านก็ได้ ประจำปีขึ้น ผู้ที่ถือเคร่งครัดอาจปฏิญาณตน หรือจะวาดรูปป่าไม้น้อยใหญ่ไว้ที่ประตูบ้าน ที่จะบริโภคอาหารเจเป็นประจำตลอดชีพ ผู้ที่ เมื่อภูตผีมารร้ายต่างๆ มาเห็นเข้าก็จะเข้าใจ ค่อนข้างเคร่งครัดจะเว้นอาหารเนื้อสัตว์ในวัน ว่าเป็นป่าใหญ่ซึ่งเป็นที่อยู่ของพวกมัน 1 ค่ำ และวัน 15 ค่ำ ของเดือนทางจันทรคติ มากกว่าที่จะเป็นช่องห้องหอของใครๆ แล้ว ของจีน แต่คนสามัญธรรมดาทั่วไป จะถือ ก็จะไม่ทำร้ายแก่ผู้ใด เป็นต้น บริโภคอาหารเจปีละ 1 ครั้ง เป็นเทศกาลกินเจ คือ ตั้งแต่วัน 1 ค่ำ เดือน 9 ติดต่อกันไปเป็น พิธีกราบไหว้บูชาวิญญาณของบรรพบุรุษ เวลา 10 วัน ซึ่งตกราวๆ เดือน 11 ของไทย พิธีกราบไหว้บูชาวิญญาณของบรรพบุรุษ และในการกินเจตามเทศกาลนี้ ผู้จะกินเจต้อง ชาวจีนไม่เฉพาะศาสนิกชนเต๋าเท่านั้น นิยม ล้างท้องก่อนถึงกำหนด 3 วัน และบางคน กราบไหว้บูชาวิญญาณของบรรพบุรุษ อาจกินเจปิดท้ายอีก 1-3 วัน อย่างลึกซึ้ง พวกเขามีความเชื่ออย่างมั่นคง ว่า สิ่งทั้งหลายได้มีวิญญาณสิงสถิตอยู่ ทั้งหมด และเชื่อว่าถ้าลูกหลานมีความ กตัญญูกราบไหว้วิญญาณบรรพบุรุษแล้ว วิญญาณเหล่านั้นจะต้องดูแลคุ้มครองลูกๆ หลานๆ ผู้ยังมีชีวิตอยู่ให้มีความเป็นอยู่ อย่างร่มเย็นเป็นสุข พิธีปฏิบัติก็คล้ายๆ กับ ที่ชาวจีนเมืองไทยประพฤติปฏิบัติกันใน แต่ละปี คือ จะพากันไปทำความสะอาดและ ตกแต่งฮวงซุ้ย จุดธูป เซ่นสังเวยดวง วิญญาณด้วยเหล้า และอาหาร อีกทั้งเผา กระดาษเงินกระดาษทองส่งไปให้ผู้ตายด้วย
พิธีส่งวิญญาณผู้ตาย คนจีนให้ความ พิธีกรรมไล่ผีร้าย ศาสนิกชนเต๋าเชื่อว่า สำคัญต่อบรรพบุรุษมาก ถือเรื่องสายโลหิต มีภูตผีปีศาจร้ายมากมายคอยหลอกหลอน เป็นสำคัญ ดังนั้นเมื่อมีญาติตายจะต้อง ทำร้ายผู้คน เช่น ปรากฏร่างน่าเกลียดน่า ประกอบพิธีกรรมเพื่อช่วยให้วิญญาณคน กลัว หรือทำเสียงแปลกๆ เป็นต้น ทำให้คน ตายไปสู่สุคติ อยู่อย่างเป็นสุข ไม่ถูกผีปีศาจ ถูกหลอกเจ็บป่วยได้ จึงเกิดกรรมวิธีไล่ผี ร้ายรบกวน การประกอบพิธีก็ลดหลั่นกันไป ร้ายขึ้นมา โดยมีพระเต๋าเป็นผู้ประกอบพิธี ตามฐานะผู้ตาย และเจ้าภาพ อย่างเช่น คน พระเต๋าแต่ละรูปที่มาประกอบพิธีจะสวม ชั้นสูงตาย และเจ้าภาพเป็นผู้มีฐานะดีก็อาจ หมวกติดดาว 7 ดวง และผ้ายันต์ เมื่อเริ่ม นิมนต์พระเต๋า มาประกอบพิธีถึง 49 รูป พิธี พระเต๋า 5 รูป จะถือ ธง 5 ธง คือ ธงสี และประกอบพิธีนานถึง 49 วัน แต่ถ้าคนชั้น เขียว สีแดง สีเหลือง สีขาว และสีดำ โดย กลางตาย ก็อาจนิมนต์พระเต๋าอย่างน้อย 1 แต่ละรูปจะยืนอยู่แต่ละทิศ คือ ทิศตะวัน รูป มาประกอบพิธีตั้งแต่ 1-3 วัน ตามแต่ ออก ตะวันตก กลาง และทิศเหนือ ในพิธีจะ ฐานะการเงินของเจ้าภาพ พระเต๋าจะ แขวนรูปเทพเจ้าของศาสนาเต๋าไว้ จุดธูป บรรเลงดนตรีและร่ายมนตร์ ซึ่งเชื่อกันว่า และนำน้ำมาทำน้ำมนต์ พระเต๋าจะบรรเลง จะช่วยให้คนตายพ้นจากถูกลงโทษในโลก เครื่องดนตรี พระเต๋ารูปหนึ่งถือดาบและน้ำ วิญญาณ ในการทำพิธี พระเต๋าจะใช้สีแดง อีก รูปหนึ่งจะถือธงมีดาว 7 ดวง และอีกรูป สดเขียนชื่อ วันเกิด วันตาย และที่อยู่ของผู้ หนึ่งจะถือแส้คอยขับไล่พวกผีปีศาจร้าย ตายลงบนกระดาษสีเหลือง 2 แผ่น และ พระเต๋าทั้งหมดยังจะต้องช่วยกันสวด ประทับตราประจำวัดลงบนกระดาษ ถือกัน อัญเชิญเทวดาต่างๆ ให้มาช่วยจับผีร้ายให้ ว่ากระดาษแผ่นนั้น จะเป็นเสมือนใบรับรอง หมดไปด้วย ผู้ตาย กระดาษแผ่นหนึ่งจะใส่ไว้ในโลง อีก แผ่นหนึ่งจะถูกเผา เชื่อกันว่าถ้าทำดังกล่าว จะช่วยให้วิญญาณผู้ตายไปถึงเทพเจ้า โดยตรง ไม่ต้องถูกวิญญาณท้องถิ่นคอย หน่วงเหนี่ยว และขณะที่หามโลงไปเผา ก็จะ มีพระเต๋าเดินนำหน้า คอยสั่นกระดิ่ง บรรเลงดนตรี และสวดมนต์ในขณะ เดียวกันด้วย
ศาสนสถาน Religious place วัดหรือสถานที่ทำพิธีกรรมของศาสนา นอกจากนี้ ยังมีการตั้งโต๊ะพิธีภายในศาลเจ้า เต๋ามีลักษณะเหมือนศาลเจ้าของจีนโดยทั่วๆ สำหรับเป็นที่วางของเซ่นไหว้ตามทิศทาง ไป เพียงแต่การตบแต่งภายในที่จะตั้งแท่นที่ ต่างๆ ภายในศาลเจ้าจะมีของเซ่นไหว้เฉพาะ บูชานั้น ออกจะพิถีพิถันและมีข้อกำหนดกฎ ทิศนั้นๆ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเทพเจ้าองค์ใดสถิตใน เกณฑ์มากมาย ที่ใด และถ้ามีการจัดพิธีกรรมใหญ่มากเท่าใด ก า ร ตั้ง โ ต๊ ะ ก็ จ ะ เ พิ่ ม ม า ก ขึ้ น จ น บ า ง ค รั้ง อ า จ จ ะ แม้ในไต้หวันซึ่งเป็นแหล่งที่มีผู้นับถือ เลยมาภายนอกศาลเจ้าได้ ศาสนาเต๋ามากก็ยังมีการปฏิบัติในเรื่องนี้ต่าง กันออกไป ระหว่างไต้หวันที่อยู่ตอนเหนือและ ตอนใต้ ทั้งนี้สืบเนื่ องมาจากความเชื่อในเรื่อง เทพเจ้า และไสยศาสตร์ และความต้องการที่ จะทำให้เกิดสิริมงคลแก่ผู้เคารพบูชา
บ ร ร ณ า นุ ก ร ม BIBLIOGRAPHY เสถียร โพธินันทะ. เมธีตะวัน, 2514 หน้า 181-182.2) Hume Robert E. The World's Living Religions, 1957 p. 147-148.3) โจเซฟ แกร์. ศาสนาทั้งหลายนับถืออะไร. แปลจาก What great religion believe , 2533 หน้า 110-111.4) คูณ โทจันธ์. วิถีแห่งเต๋า, 2537 หน้า 168.5) พจนา จันทร สันติ. วิถีแห่งเต๋า, 2523 หน้า 168.6) เสถียร โพธินันทะ. เมธีตะวันออก, 2514 หน้า 373-374.7) Liu Da. The Tao and Chinese Culture.1981 p.71.8) Hopfe Lewis M. Religions of the World. 1994 p.210-212. http://book.dou.us/doku.phpid=df404:7.ศาสนา เต๋า https://www.baanjomyut.com/library_3/exte nsion-2/ethics/03_4.html.แนวคิด หลักการ ทฤษฏี ทางคุณธรรมจริยธรรม http://www.satit.up.ac.th/BBC07/AroundThe World/reli/81.htm.ประวัติความเป็นมาลัทธิเต๋า
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: