Computer Network เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ เครือข่าย LAN ไร้สาย (Wireless LAN)
Wireless LAN ระบบเครือข่ายทอ้ งถ่ินไร้สาย หรือ WLAN หรือ Wi-Fi คือระบบส่ือสารขอ้ มูลที่ส่ง ขอ้ มูลผา่ นอากาศโดยใชค้ ล่ืนวทิ ยหุ รือ แม่เหลก็ ไฟฟ้า ดงั น้นั จึงไม่จาเป็นตอ้ งติดต้งั สายสญั ญาณ ทาใหเ้ ครือข่ายมีความยดื หยนุ่ สูง สะดวกต่อการติดต้งั และใชง้ าน ส่วนใหญน่ ิยมนาไปติดต้งั เพิ่มเติม หรือไปแทนท่ีเครือข่ายทอ้ งถ่ินแบบใชส้ าย
Wi-Fi Wi-Fi (Wireless Fidelity) เป็นองคก์ รนานาชาติ ท่ีก่อต้งั ในปี 1999 เพื่อออกใบรับรองมาตรฐานการทางาน ร่วมกนั ของอุปกรณ์ WLAN หรืออุปกรณ์ที่ผลิตตามมาตรฐาน IEEE 802.11 เม่ือกล่าวถึง Wi-Fi กจ็ ะหมายถึง เครือข่ายไร้ สายหรือ Wireless LAN อุปกรณ์ที่ไดร้ ับมาตรฐาน Wi-Fi Certified จะเป็นอุปกรณ์ท่ีผใู้ ชม้ น่ั ใจไดว้ า่ สามารถทางานร่วมกบั อุปกรณ์ต่าง ยหี่ อ้ กนั ท่ีไดร้ ับรองมาตรฐานน้ีเหมือนกนั
จุดเด่นของ WLAN ความคล่องตวั (Mobility) สามารถเช่ือมต่อที่ไหนกไ็ ดท้ ี่มีสญั ญาณเขา้ ถึง ความสะดวกในการติดต้งั และจดั การง่าย ไม่ตอ้ งใชส้ ายสญั ญาณ ทาใหก้ ารติดต้งั รวดเร็วข้ึน ความยดื หยนุ่ (Flexibility) สามารถเขา้ ถึงจุดท่ีไม่สามารถเดินสายเขา้ ไปได้ ประหยดั คา่ ใชจ้ ่าย ในบางกรณีการติดต้งั สายสญั ญาณค่าใชจ้ ่ายอาจจะสูงกวา่ การเลือกใชเ้ ครือขา่ ยไร้สาย ความสามารถในการขยายเครือขา่ ย (Scalability) ใชไ้ ดต้ ้งั แต่เครือขา่ ยขนาดเลก็ ไปจนถึงขนาดใหญ่
จุดด้อยของ WLAN ความเสถียร (Reliability) เครือขา่ ยไร้สายถูกรบกวนสญั ญาณไดง้ ่าย เน่ืองจากใชค้ ลื่นสญั ญาณวทิ ยุ การรักษาความปลอดภยั (Security) ขอ้ มูลที่ถูกส่งดว้ ยคลื่นวิทยจุ ะถูกดกั จบั ขอ้ มูลไดง้ ่าย ระยะทาง (Range) ระยะสูงสุดที่ใชต้ ิดต่อส่ือสารกนั จะส่งไดเ้ ตม็ ที่ไม่เกิน 30-50 เมตร ความเร็ว (Speed) เครือข่าย WLAN โดยทว่ั ไปมีความเร็วท่ี 54-300 Mbps ซ่ึงต่ากวา่ แบบใชส้ าย
แบบอ้างองิ WLAN OSI Reference WLAN7 Application Media Access Control6 Presentation5 Session PLCP4 Transport PMD3 Network2 Data Link1 Physical แบบอา้ งอิง IEEE 802.11
คล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้า นอกจากการใชส้ ายเป็นส่ือกลางนาสญั ญาณแลว้ อากาศกเ็ ป็นส่ือนาสญั ญาณไดเ้ ช่นกนั ซ่ึงระบบที่ใชอ้ ากาศ เป็นส่ือนาสญั ญาณจะเรียกวา่ เครือข่ายแบบไร้สาย (Wireless) คลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้าเป็นสญั ญาณส่งขอ้ มูลในทุกๆการส่ือสารท้งั หมด ไม่วา่ จะเป็นแบบใชส้ ายและแบบไร้ สาย กล็ ว้ นแลว้ แต่ส่ือสารกนั โดยใชค้ ล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้าแทบท้งั สิ้น แต่จะแตกต่างกนั ท่ีสื่อในการนาสญั ญาณ ความถี่ ของคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้า และ เทคนิคในการส่งขอ้ มูลไปบนส่ือต่างๆ
คลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้าคุณลกั ษณะของคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้า ความเปราะบาง (Fragility) คือความสามารถในการทะลุทะลวงผา่ นวตั ถุของคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้า คล่ืนยง่ิ ความถ่ีต่ายงิ่ ทะลุไดด้ ี ในทางตรงกนั ขา้ ม ยงิ่ ความถี่สูง ยง่ิ ทาใหค้ วามสามารถในการเดินผา่ นวตั ถุนอ้ ยลง ทิศทางการเดนิ ทาง (Directionality) เช่นคล่ืนวทิ ยจุ ะแพร่กระจายไปทุกทิศ ส่วนคล่ืนท่ีมีความถ่ีสูงข้ึนลกั ษณะการ แพร่กระจายจะแคบลง ทาใหค้ ล่ืนความถี่สูงมีความสามารถในการรวมแสง (focus) ช่องความถี่ (Bandwidth) คือความกวา้ งของช่องสญั ญาณ มีหน่วยวดั เป็น Hz ซ่ึงเป็นช่องความกวา้ งของสญั ญาณที่ ใชใ้ นการส่งสญั ญาณ สาหรับช่องสญั ญาณท่ีใชก้ บั WLAN คือยา่ นความถ่ี 2.4GHz และ 5GHz
ISM Bandย่านความถีเ่ สรีทไ่ี ม่ต้องมใี บอนุญาต ISM – Industrial, Science and Medical Band คือยา่ นความถี่เสรีท่ีใชใ้ นงาน อุตสาหกรรม, วิทยาศาสตร์ และ ทาง กรแพทย์ ซ่ึงถูกกาหนดข้ึนเพื่อใหม้ ี ความถ่ีเสรีท่ีไม่ตอ้ งขอใบอนุญาตการ ใชค้ ล่ืนความถ่ีของทว่ั โลก เพื่อส่งเสริม การใชแ้ ละจาหน่ายอุปกรณ์ไร้สาย ต่างๆไดง้ ่ายข้ึน
ISM Band900 MHz ยา่ นความถี่ต้งั แต่ 900 – 928 MHz มีแบนวิธ ถูกใชใ้ นวงการ อุตสาหกรรม เนื่องจากความถ่ีไม่สูงมากนกั การผลิตเครื่องรับ ส่งจึงมีตน้ ทุนต่า ถูกใชก้ นั มากใน Microphone ไร้สาย แต่ดว้ ย แบนวิธที่มีใชใ้ ชเ้ พียง 26MHz น้นั ยงั ไม่เพียงพอต่อการส่ง ขอ้ มูลดิจิตลั ที่ความเร็วสูง หลายๆประเทศจึงไดจ้ ดั สรรคล่ืนน้ี ไวใ้ ชก้ บั โทรศพั ทม์ ือถือระบบ GSM
ISM Band2.4 GHz เป็นยา่ นความถี่ต้งั แต่ 2.4000 – 2.4835 มีแบนวิธ 83.5 MHz เป็นความถี่ท่ีใชก้ นั มากที่สุดในระบบ WLAN เพราะมีแบน วิธกวา้ ง สามารแบ่งช่องสญั ญาณไม่ใหท้ บั กนั ไดถ้ ึง 3 ช่องทาง อีกท้งั ยงั รวมไปถึงมาตรฐานไร้สายอ่ืนๆเช่น Bluet ooth เตาไมโครเวฟ และอุปกรณ์ Wireless อ่ืนๆ เช่น Mouse Keyboard Joystick
ISM Band5.8 GHz เป็นยา่ นความถี่ 5.725 – 5.875 มีแบนวิธกวา้ ง สูงถึง 150 MHz เป็นคลื่นความถี่ท่ีสูงมาก จึงยงั ไม่มีการใชง้ านในวงกวา้ ง มี เพียงอุปกรณ์เชื่อมต่อ WLAN และโทรศพั ทไ์ ร้สาย แต่เริ่มเป็น ท่ีนิยมเนื่องจากยา่ น 2.5 GHz มีผใู้ ชง้ านมากแลว้ จึงเร่ิมยา้ ยมา ความถี่ใหม่น้ี
โทโปโลยขี อง WLANAd Hoc Network บางคร้ังเรียกโทโปโลยนี ้ีวา่ Peer to Peer คือการใชง้ าน WLAN โดยที่ไม่ตอ้ งมี Access Point โดยแต่ละ เคร่ืองน้นั จะเชื่อมต่อกนั เอง เคร่ืองไหนท่ีตอ้ งการจะสื่อสารกบั เคร่ืองไหนกจ็ ะคน้ หาและติดต่อกนั เอง
โทโปโลยขี อง WLANInfrastructure Network เป็นมาตรฐานท่ีนิยมใชท้ วั่ ไป คือจะมี Access Point เป็นตวั กลางในการส่ือสารกนั ระหวา่ ง Client หรือ Network ในส่วนอ่ืนๆ เช่น Router หรือ Server เครื่อง Client ท่ีตอ้ งการเช่ือมต่อเขา้ กบั เครือขา่ ยกจ็ ะเชื่อมต่อผา่ น Access Point ท่ี เครื่อง Client เห็นในขณะน้นั ซ่ึงหลงั จากน้นั กอ็ าจจะมีการพสิ ูจน์ทราบตวั ตน และใชร้ หสั ผา่ น
โทโปโลยขี อง WLANPoint to Point เป็นโทโปโลยที ี่ใช้ Access Point เป็นตวั เชื่อมต่อไปยงั Access Point อ่ืนๆ ซ่ึงการทาหนา้ ท่ีเช่นน้ีบางที เรียกวา่ Bridge ซ่ึงหมายถึงทางเชื่อมระหวา่ งเครือขา่ ย เป็นการทางานท่ีเรียกวา่ การสื่อสารแบบ Point to Point
องค์ประกอบของ WLAN WLAN ประกอบดว้ ยคอมพิวเตอร์ท่ีติดต้งั Wireless Card และเช่ือมต่อเครือขา่ ยผา่ น Access Point และเครือขา่ ย WLAN น้ีจาเป็นตอ้ งเช่ือมต่อเขา้ กบั เครือข่ายหลกั ซ่ึงโดยปกติจะเช่ือมต่อผา่ นเครือขา่ ย Ethernet Access Point เป็นศูนยก์ ลางการส่ือสารสาหรับเครือข่าย WLAN ซ่ึงอุปกรณ์น้ีจะรับส่งสญั ญาณวทิ ยใุ นช่วง ความถี่ตามมาตรฐาน IEEE 802.11 เทคโนโลยที ่ีใช้ Client อุปกรณ์ทุกอยา่ งที่สามารถเชื่อมต่อเขา้ กบั WLAN ไดน้ ้นั จะเรียกวา่ Station แต่ละ Station จะมีส่วนท่ี เช่ือมต่อกบั WLAN ไดเ้ รียกวา่ WNIC (Wireless Network Interface Card) โดย Station แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ Access Point และ Client
มาตรฐาน WLANมาตรฐาน ยคุ ปี ทป่ี ระกาศ ความถ่ี(GHz) อตั ราการส่งข้อมูล (Mbps) ระยะทาง ระยะทาง Indoor Outdoor IEEE 802.11 Gen 1 1997 2.4 2 (m)IEEE 802.11b Gen 2 1999 5 11 (m)IEEE 802.11g Gen 3 2002 2.4 54 - 30IEEE 802.11n Gen 4 2007 2.4/ 5 72 – 600 35 120IEEE 802.11 ac Gen 5 2012 2.5/ 5 433 – 1700 38 140 70 160 30 120
มาตรฐาน WLANIEEE 802.11 ใชค้ ลื่น Infrared(IR) ในการส่งสญั ญาณ ในยคุ แรกน้นั ใหป้ ระสิทธิภาพการทางานที่ค่อนขา้ งต่า ท้งั ไม่มีการ รับรองคุณภาพ ของการใหบ้ ริการที่เรียกวา่ QoS (Quality of Service) และมาตรฐานความปลอดภยั ต่า เนื่องจากเป็นมาตรฐานแรกท่ีออกมา จึงทาใหม้ ีขอ้ บกพร่องหลายอบ่าง จนทาใหบ้ างคร้ังอุปกรณ์ท่ีผลิตจากต่าง บริษทั กนั ไม่สามารถทางานร่วมกนั ได้ และทาให้ WiFi ในยคุ แรกน้นั ไม่ไดร้ ับความนิยมเท่าที่ควรIEEE 802.11 a เป็นมาตรฐานที่ออกมาชา้ กวา่ IEEE 802.11b ใชเ้ ทคโนโลยที ี่เรียกวา่ OFDM (Orthogonal Frequency Division Multiplexing) สามารถส่งขอ้ มูลไดด้ ว้ ยความเร็วสูงสุด 54Mbps บนความถี่ 5Hz แต่ไม่ไดร้ ับความนิยมเท่าท่ีควร เนื่องจากระยะส่งทาไดแ้ ค่ 30m และอุปกรณ์มีราคาแพงกวา่ IEEE 802.11b
มาตรฐาน WLANIEEE 802.11b ใชเ้ ทคนิคการ Modulation แบบ DSSS (Direct Sequence Spread Spectrum) เพื่อปรับปรุงความสามารถของ อุปกรณ์ใหร้ ับส่งขอ้ มูลไดด้ ว้ ยความเร็วสูงสุดที่ 11 Mbps ผา่ นคลื่นวิทยคุ วามถ่ี 2.4 GHz เป็นยา่ นความถ่ีที่เรียกวา่ ISM – I ndustrial Scientific and Medical และสามารถส่งไดไ้ กลถึง 120 m
มาตรฐาน WLANIEEE 802.11g ใชค้ วามถี่ที่ 2.4GHz เช่นเดียวกบั IEEE 802.11b แต่สามารถส่งขอ้ มูลไดม้ ากถึง 54 Mbps สามารถใชง้ าน ร่วมกนั กบั IEEE 802.11b ได้ แต่จะไดค้ วามเร็วสูงสุดแค่ 11 Mbps โดยมาตรฐานน้ีปัจจุบนั ไดเ้ ขา้ มาแทนที่ 802.11b เป็ นที่เรี ยบร้อยแลว้ เทคนิคท่ีใชก้ บั IEEE 802.11g คือ OFDM เช่นเดียวกบั IEEE 802.11a ซ่ึงความเร็วสูงสุดท่ีไดน้ ้นั เท่ากนั คือ 54 Mbps แต่ใชค้ วามถ่ีคนละยา่ น
มาตรฐาน WLANIEEE 802.11n เป็นมาตรฐานท่ีกาหนดแบนวิธสูงสุดไวท้ ี่ 540 Mbps หรือเร็วข้ึน 10 เท่าของมาตรฐาน IEEE 802.11 a และ g และใหร้ ัศมีสญั ญาณควบคุมประมาณ 50 เมตร มาตรฐานน้ีพฒั นาต่อยอดจากของเดิมโดยเพิ่มเทคนิค MIMO (Multiple-Input Multiple-Output) ซ่ึงจะใชต้ วั ส่งสญั ญาณ (Transmitter Antenna) และตวั รับสญั ญาณ (Receiver Antenna) หลายตวั เพื่อใหส้ ่งขอ้ มูลไดป้ ริมาณมากข้ึน และมาตรฐานน้ีกร็ องรับการทางานของ มาตรฐานเดิมไดเ้ ช่นกนั โดยแบ่งโหมดการทางานดงั น้ี 1. Legacy (802.11 a, b, g) 2. Mixed (802.11 a, b, g, n) 3. Greenfield (802.11n only)
มาตรฐาน WLANIEEE 802.11ac เป็นมาตรฐาน Wi-Fi ล่าสุดท่ีออกมา รองรับ การใชช้ ่องสญั ญาณไดส้ ูงสุดที่ 160 MHz บนความถ่ี 5 GHz มีการปรับช่องสญั ญาณใหม้ ีขนาดใหญ่ข้ึน และสามารถรองรับการส่งขอ้ มูลไดพ้ ร้อมกนั ถึง 8 ชุด (8 spatial Streams) ทาใหม้ าตรฐานน้ีสามารถส่ง ขอ้ มูลไดส้ ูงสุด 6.93 Gbps (ในทางทฤษฎี) แต่ เทคโนโลยใี นปัจจุบนั ยงั สามารถทาการส่งพร้อมกนั ได้ 3 ชุดเท่าน้นั
ช่องความถ่ี ความถี่ท่ีใชก้ บั Wi-Fi มีดว้ ยกนั 2 ยา่ นคือ 2.4 GHz และ 5GHz แต่ในการใชง้ านจริงแลว้ แถบความถี่ น้ีจะถูกแบ่งออกเป็นช่องสญั ญาณอีก เหมือนกบั การ แบ่งคล่ืนความถี่ของสถานีวิทยโุ ทรทศั น์ แต่ละยา่ น ความถี่ของช่องสญั ญาณเรียกวา่ Channel โดยแต่ละ ช่องสญั ญาณท่ีใชค้ วามกวา้ งของสญั ญาณจะแตกต่าง กนั ข้ึนอยกู่ บั เทคนิคที่ใชใ้ นการ Modulate สญั ญาณ
ช่องความถี่2.4 GHZ ยา่ นความถี่ท่ี 2.4GHz จะถูกแบ่งออกเป็น 13 ช่อง โดยมียา่ นความถี่อยรู่ ะหวา่ ง 2.400-2.4835 GHz โดยแต่ละ ยา่ นความถี่จะห่างกนั 5MHz โดยช่องที่ 1 จะมีจุดศูนยก์ ลางอยทู่ ่ี 2.412GHz และช่องท่ี 13 จะมีจุดศูนยก์ ลางท่ี 2.472 GHz และในบางประเทศ เช่นประเทศญี่ป่ ุน จะเพ่ิมช่องท่ี 14 ท่ีความถ่ี 12 MHz และมีจุดศูนยก์ ลางท่ี 2.484 GHz การใชง้ านน้นั จะเลือกเอาช่องสญั ญาณที่ไม่ซอ้ นทบั กนั มาใช้ คือ 1, 6 และ 11 เพราะสญั ญาณที่ซอ้ นทบั กนั จะทา ใหก้ ารส่งสญั ญาณน้นั รบกวนซ่ึงกนั และกนั
ช่องความถ่ี5 GHz แต่ละช่องสญั ญาณจะห่างกนั 4 MHz และจานวนช่องสญั ญาณท่ีไดจ้ ะมีจานวนมากกวา่ 2.4 GHz ค่อยขา้ ง มาก การใชง้ านคล่ืน 5 GHz ในการใชง้ านจริงน้นั แต่ละประเทศจะมีกฎหมายควบคุมการใชง้ านที่แตกตา่ งกนั ในบาง ประเทศอาจไม่อนุญาตใหใ้ ชบ้ างช่องสญั ญาณ ดงั น้นั ก่อนการใชง้ านจริงจะตอ้ งตรวจสอบกฎหมายก่อนวา่ ไดร้ ับ อนุญาตใหใ้ ชค้ วามถี่น้นั ไดห้ รือไม่
WLAN AuthenticationAuthentication คือการพิสูจน์ทราบตวั ตน ซ่ึงตามมาตรฐานของ IEEE 802.11 แลว้ จะหมายถึง การพิสูจน์ทราบตวั ตนของเคร่ือง Client หรือ อุปกรณ์เครือขา่ ยไร้สาย ซ่ึงไม่ใช่การพิสูจน์ทราบตวั ตนของผใู้ ช้ Probe Request Probe Response Authentication RequestAuthentication Response Wire Network Association Request Association ResponseSSID (Service Set Identifier) คือชื่อของ WLAN ซ่ึง Access Point แต่ละเคร่ืองจะมี SSID ที่แตกต่างกนั โดยช่ือที่แตกต่างกนั น้ีทาใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถเลือกท่ีจะเช่ือมต่อกบั ผใู้ หบ้ ริการที่ตนตอ้ งการไดภ้ ายในบริเวณเดียวกนั
WLAN AuthenticationOpen Authenticationคือการพิสูจน์ทราบแบบเปิ ด เป็นวธิ ีที่ค่อนขา้ งง่าย และเช่ือมต่อไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ถา้ ไม่มีการเขา้ รหสั ขอ้ มูล ทุกๆ Client ที่ทราบ SSID กส็ ามารถเขา้ ถึงเครือข่ายไดเ้ ลย แต่ถา้ มีการเขา้ รหสั ขอ้ มูล กจ็ ะตอ้ งกรอกรหสั ลงไปก่อนถึงจะเช่ือมต่อได้ Probe Request Probe Response Authentication Request Authentication Response Wire Network Association Request Association Response WEP Data Encryption
WLAN AuthenticationMAC Address Authentication การพิสูจนท์ ราบโดยวิธีน้ี Access Point จะมีรายการของหมายเลข MAC Address ของ Client ท่ีอนุญาตให้เช่ือมต่อได้ โดยอาจเกบ็ ขอ้ มูลน้ีไวท้ ี่เครื่อง Access Point เอง หรือ อาจจะเกบ็ ไวท้ ี่ Server อ่ืนในเครือขา่ ยกไ็ ด้ ช่วยป้องกนั เครื่อง Client อื่นๆท่ีไม่ไดร้ ับอนุญาตเขา้ มาเชื่อมต่อขอ้ มูลไดเ้ ป็นอยา่ งดีAssociation RequestAssociation Response RADRIUASDIRUeSsRpoenqduest Wire Network RADIUS
WLAN AuthenticationIEEE 802.1xเป็น framework สาหรับพิสูจนต์ วั ตนของอุปกรณ์ต่างๆที่เช่ือมต่อเขา้ กบั เครือขา่ ยโดยไม่จากดั เฉพาะ WLANเท่าน้นั โดยกลไกการทางานจะไม่อนุญาตใหเ้ ขา้ ถึงเครือขา่ ยจนกวา่ จะผา่ นการพิสูจน์ทราบวา่ อุปกรณ์น้นั มีจริง Authenticator Authentication Server (RADIUS) Supplicant 1 2 3 Internetcloud.png Wireless Network
WLAN AuthenticationIEEE 802.1x การพิสูจนท์ ราบตวั ตนตามมาตรฐาน IEEE 802.1x ประกอบดว้ ย 3 องคป์ ระกอบคือ Supplicant คือ Client ท่ีเชื่อมต่อเขา้ กบั WLAN Authenticator คือ Access Point ท่ีทาหนา้ ท่ีเป็นตวั กลางในการพิสูจนต์ วั ตน Authenticator Server คือ Server ที่ทาหนา้ ที่พิสูจน์ทราบตวั ตน ซ่ึงส่วนใหญ่จะใชเ้ ป็น RADIUS Server RADIUS Server เป็นระบบสาหรับตรวจสอบผใู้ ชโ้ ดยเฉพาะที่ใชก้ นั อยทู่ ว่ั ไป โดยการแลกเปลี่ยนขอ้ มูลกนั ระหวา่ ง RADIUS Server และอุปกรณ์ WLAN จะเป็นไปตามโพรโตคอลท่ีเรียกวา่ EAP(Extensible Authentication Protocol)
การเข้ารหัสข้อมูลของ WLANWEP – Wired Equivalent Privacy เป็นการเขา้ รหสั ขอ้ มูลท่ีออกมาตอนแรกตามมาตรฐาน IEEE 802.11 การเขา้ รหสั ขอ้ มูลจะใชเ้ ทคนิคอลั กอริท่ึม RC4 โดยท้งั Client และ Access Point จะตอ้ งใชค้ ียเ์ ดียวกนั ในการเขา้ และถอดรหสั ขอ้ มูล เน่ืองจากเป็นระบบความปลอดภยั ที่สร้างข้ึนมาอยา่ งเร่งรีบ เพื่อท่ีจะไดผ้ า่ นมาตรฐานในสมยั น้นั ออกมาได้ เพื่อท่ีจะไดข้ ายสินคา้ ไดอ้ ยา่ งทนั ท่วงที ทาใหค้ ุณภาพของการเขา้ รหสั แบบ WEP ไม่เป็นท่ีน่าพอใจมากนกั โดยการ ทดสอบจะระบบสามารถถอดคีย์ WEP ท้งั แบบ 64 บิต และ 128บิต สามารถทาไดใ้ นเวลาไม่มากนกั
การเข้ารหัสข้อมูลของ WLANWPA – Wi-Fi Protect Access เน่ืองจากการทดสอบมาแลว้ วา่ WEP น้นั ไม่ปลอดภยั จึงไดอ้ อกแบบมาตรฐานความปลอดภยั ใหม่ภายใต้ มาตรฐาน 802.11i แต่เน่ืองจากมาตรฐานน้ีใชเ้ วลาในการพฒั นานานเกินไป ทาใหก้ ลุ่มบริษทั ผผู้ ลิตอุปกรณ์ WLAN ท่ีมี ชื่อวา่ Wi-Fi Alliance ไดใ้ ชม้ าตรฐานในฉบบั ร่างสร้างเป็นการเขา้ รหสั ขอ้ มูลที่เรียกวา่ WPA ออกมา WPA ใชก้ ารเขา้ รหสั ลบั แบบ TKIP (Temporal Key Integrity Protocol) มีการเขา้ รหสั คลา้ ยๆกบั WEP แต่จะมี การเปลี่ยนคียท์ ุกๆ Packet
การเข้ารหัสข้อมูลของ WLANWPA2 เป็นมาตรฐานการเขา้ รหสั ที่ประกาศใชห้ ลงั จากท่ี IEEE 802.11i พฒั นาเสร็จสิ้น เป็นระบบความปลอดภยั ท่ี พฒั นาเพิ่มเติมจากส่วนของ WPA เช่น การใชอ้ ลั กอริท่ึมท่ีแขง็ แกร่งกวา่ คือ CCMP การเขา้ รหสั โดยใช้ WPA2 จะมีความปลอดภยั มากกวา่ WPA และ WEP
Search
Read the Text Version
- 1 - 34
Pages: