อุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด ประวัติความเป็ นมา เขาสามร้อยยอด เป็นชื่อที่มีต านานเล่าว่า พื้นที่แถบนี้เคยเป็นทะเล มีหมู่เกาะน้อยใหญ่เรียงรายกัน ครั้งหนึ่งเคยมี เรือส าเภาจีนแล่นผ่านมาประสบลมพายุรุนแรงจนเรือใกล้อับปาง จึงแวะหลบภัยเข้ามาตามร่องน้ าด้านทิศตะวันตกของเกาะ แต่เนื่องจากไม่ช านาญพื้นที่ เรือได้ชนกับหินโสโครกอับปางลง ผู้คนจมน้ าตายจ านวนมากที่เหลือรอดตายขึ้นมาอาศัยอยู่บน เกาะประมาณ 300 คน จึงได้ตั้งชื่อว่า “เกาะสามร้อยรอด” ต่อมาระดับน้ าทะเลได้ลดลง เกาะกลายเป็นภูเขา ชาวบ้านเรียก คลาดเคลื่อนเป็น “เขาสามร้อยยอด” บริเวณที่สันนิษฐานว่าเรือจมนั้นชาวบ้านเรียกว่า “อ่าวทะเลสาบ” เคยมีผู้พบซาก เสากระโดงเรือโบราณในบริเวณนี้ด้วย บางข้อสันนิษฐานว่า เป็นเพราะมีต้นสามร้อยยอดขึ้นอยู่ หรือมียอดเขามากมายถึง 300 ยอด ในปี พ.ศ. 2505 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกประกาศกฎกระทรวง ฉบับที่ 100 ก าหนดพื้นที่ป่าเขาสามร้อย ยอดพื้นที่ประมาณ 99.50 ตารางกิโลเมตร ให้เป็นป่าสงวนตามพระราชบัญญัติคุ้มครองและสงวนป่า พ.ศ. 2481 ก่อน ซึ่ง เหตุผลของการประกาศพื้นที่ดังกล่าวเพราะมีพันธุ์ไม้ที่มีค่าขึ้นอย่าง หนาแน่นมาก เช่น ไม้จันทน์ มะค่า มะเกลือ แสมสาร และทิวทัศน์ที่สวยงามที่ควรสงวนไว้ ต่อมาพื้นที่ดังกล่าว พื้นที่ประมาณ 61.28 ตารางกิโลเมตร ได้ถูกประกาศให้เป็นอุทยาน แห่ง ชาติ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 83 ตอนที่ 53 เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2509 นับเป็นอุทยานแห่งชาติ ล าดับที่ 4 ของประเทศไทย และเป็นอุทยานแห่งชาติทางทะเลแห่งแรก ข้อมูลทั่วไป อุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด เป็นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ตอนล่างสุดของภาคกลาง หรือด้านเหนือสุดของภาคใต้ชายฝั่ง ทะเลด้านตะวันตกของอ่าวไทย ในท้องที่ของอ าเภอสามร้อยยอด และอ าเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ลักษณะภูมิประเทศ อุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด มีสภาพภูมิประเทศเป็นภูเขาหินปูนยุคเพอร์เมียน มีอายุประมาณ 280 - 230 ล้าน ปีมาแล้ว ที่มีความสูงชันริมฝั่งทะเลผสมกับที่ราบริมฝั่งทะเลที่เป็นหาดเลนและห้วงน้ าทะเลตื้น รวมตลอดถึงเกาะหินปูนที่ตั้ง เรียงรายใกล้ชายฝั่งทะเลซึ่งยาวจากเขากระโหลกทางทิศเหนือถึงเขาแร้งทางทิศใต้ประมาณ 30 กิโลเมตร ได้แก่ เกาะโคร า เกาะนมสาว เกาะระวาง เกาะระวิง เกาะสัตกูด และเกาะขี้นก มีพื้นที่ราบที่มีน้ าขังตลอดปีอยู่ทางด้านตะวันตกของอุทยานแห่งชาติคือ ทุ่งสามร้อยยอด ซึ่งในอดีตเคยเป็นทะเล หรืออ่าว ต่อมาถูกปิดกั้นด้วยตะกอนและสันทราย ทะเลถอยร่นออกไป ได้รับอิทธิพลน้ าจืดจากแผ่นดิน มีการสะสมของ ตะกอนที่ราบลุ่ม ค่อยๆ กลายเป็นทุ่งน้ ากร่อยและทุ่งน้ าจืดตามล าดับ น้ าจืดในทุ่งสามร้อยยอดส่วนหนึ่งมีแหล่งก าเนิดมาจาก เทือกเขาตะนาวศรีไหลผ่านห้วยโพระดก ห้วยขมิ้น ห้วยหนองคาง ห้วยไร่ตาพึง แล้วระบายลงสู่ทะเลตามคลองเขาแดง อีก ส่วนหนึ่งไหลจากเทือกเขาสามร้อยยอด ทุ่งสามร้อยยอดมีระดับน้ าลึกเฉลี่ย 3 เมตร
เนื่องจากสภาพทางธรณีของเขาสามร้อยยอดเป็นหินปูนที่มีความลาดชันสูง ท าให้เกิดเป็นหน้าผาสูงชันและหุบเหว ลึก มีความสูงของยอดเขาที่สูงที่สุดในเขตอุทยานแห่งชาติถึง 605 เมตรจากระดับน้ าทะเลปานกลาง ยอดเขาที่ส าคัญได้แก่ ยอดเขาชโลงฟาง เขากระโจม เขาใหญ่ เขาถ้ าประทุน เขาแดง เขาเทียน เขาหุบจันทร์ และเขาขั้นบันได ฯลฯ บริเวณนี้มี สภาพธรณีเป็นหินปูน มีหลายแห่งที่หินปูนถูกอิทธิพลของธรรมชาติกัดเซาะหรือผุกร่อนกลายเป็นถ้ าหรือปล่องหุบเหวขนาด ใหญ่ ที่ส าคัญได้แก่ ถ้ าแก้ว ถ้ าไทร ถ้ าพระยานคร เป็นต้น แผนที่ พืชพรรณและสัตว์ป่ า สภาพทั่วไปของอุทยานแห่งชาติทุ่งสามร้อยยอด ส่วนใหญ่มีสภาพเป็นเขาหินปูน ชายหาด ป่าชายเลย และทุ่งน้ าจืด ท าให้มีทรัพยากรสัตว์ป่า และพรรณพืชที่แตกต่างกัน สัตว์ป่าที่ส าคัญ ได้แก่ เลียงผา ลิงแสม ค่างแว่นถิ่นใต้ และนกนานา ชนิด พันธุ์ไม้ที่ส าคัญ ได้แก่ มะค่าโมง มะเกลือ กรวยป่า กุ่มบก พันธ์ไม้ป่าชายเลย เช่น โกงกางใบใหญ่ แสมทะเล และพืชน้ า เช่น กก อ้อ แขม และบัวชนิดต่างๆ
แหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจ ได้แก่ ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวสามารถติดต่อสอบถามข้อมูลได้ที่ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ซึ่งภายในมีเจ้าหน้าที่ให้บริการสอบถาม ข้อมูล และบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับอุทยานแห่งชาติสามร้อยยอด
เส้นทางศึกษาธรรมชาติป่ าชายเลน บริเวณที่ท าการอุทยานแห่งชาติ ทางอุทยานแห่งชาติได้จัดท าสะพานทางเดินศึกษาธรรมชาติป่าชายเลนไว้บริการ นักท่องเที่ยว นักเรียน นักศึกษา หรือผู้ที่สนใจสภาพป่าและสิ่งมีชีวิตในป่าชายเลน ตลอดทางเดินจะมีป้ายสื่อความหมาย เกี่ยวกับสภาพป่าและสิ่งมีชีวิตในป่าชายเลน เป็นระยะๆ คลองเขาแดง คลองเขาแดงอยู่ห่างจากที่ท าการอุทยานแห่งชาติประมาณ 1.5 กิโลเมตร กิจกรรมที่นักท่องเที่ยวนิยมได้แก่ การ ล่องเรือ โดยเช่าเรือจากบ้านเขาแดง ลงเรือที่ท่าน้ าหน้าวัดเขาแดงล่องไปตามล าคลองประมาณ 3-4 กิโลเมตร ใช้เวลา เดินทางไปกลับประมาณ 1 ชั่วโมง ในระหว่างล่องคลองชมวิวทิวทัศน์ป่าชายเลน จะเห็นนกนานาชนิด เวลาที่เหมาะสมที่จะ ล่องเรือชมธรรมชาติอีก เวลา 16.30–17.00 น. เพราะสามารถชมและถ่ายภาพพระอาทิตย์ตก
จุดชมวิวเขาแดง ในบริเวณนี้จะมีจุดชมวิวบนยอดเขาแดงที่อยู่สูงจากระดับน้ าทะเลปานกลาง 157 เมตร จุดชมวิวนี้อยู่ห่างจากที่ท า การอุทยานแห่งชาติ ไปตามถนนลาดยาง 400 เมตร แล้วเดินขึ้นเขาไปอีก 300 เมตร ใช้เวลาประมาณ 30 นาที เวลาที่ เหมาะแก่การขึ้นชมวิว คือ ตอนเช้ามืดประมาณ 05.30 น. เพราะสามารถชมพระอาทิตย์ขึ้นเหนือขอบทะเลบ้านเขาแดงและ ทัศนียภาพรอบๆ ได้ดี ตลอดจนชมนก ลิงแสม และค่างแว่นที่ออกหาอาหารในตอนเช้าตรู่ หาดสามพระยา อยู่ห่างจากที่ท าการอุทยานแห่งชาติไปทางทิศเหนือประมาณ 5 กิโลเมตร เป็นหาดทรายที่สวยงามสงบเงียบ ท่ามกลางดงสน ความยาวของหาดทรายประมาณ 1 กิโลเมตร สามารถกางเต็นท์พักแรมและมีอาหารบริการนักท่องเที่ยว หาดเจ้าพระยาบางปู และบ้านบางปู บ้านบางปูเป็นทางผ่านไปหาดเจ้าพระยาบางปูซึ่งเป็นจุดขึ้นเรือเพื่อไปยังถ้ าพระยานคร ที่บ้านบางปูจะได้เห็นวิถีชีวิต ของชาวประมงที่เรียบง่าย สองฝั่งคลองจะมีเรือประมงมาจอดไว้ยังท่าเรือหน้าบ้าน และในคลองยังเป็นแหล่งเลี้ยงสัตว์ทะเ- ลอีกหลายชนิด บริเวณในหมูบ้านบางปูมีโฮมสเตย์ริมน้ า ร้านอาหาร ไว้บริการนักท่องเที่ยวที่สนใจ
หาดแหลมศาลา เป็นหาดสนที่มีทรายขาว ล้อมรอบด้วยภูเขาเป็นรูปตัวยู ด้านหน้าเป็นชายทะเล มีเกาะสัตกูดบังคลื่นอยู่ด้านหน้า ท า ให้เกิดบรรยากาศอันเงียบสงบเหมาะส าหรับการพักผ่อน มีบ้านพัก เต็นท์ ห้องน้ า-ห้องสุขา เส้นทางศึกษาธรรมชาติและสิ่ง อ านวยความสะดวกอื่นๆ ไว้บริการ มีร้านอาหารของภาคเอกชน ซึ่งได้รับอนุญาตจากกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์ พืชแล้ว การเดินทางไปหาดแหลมศาลา หากเริ่มต้นที่ที่ท าการอุทยานแห่งชาติ ต้องมุ่งหน้าขึ้นเหนือไปหมู่บ้านชาวประมง 'บ้านบางปู' ระยะทางประมาณ 17 กิโลเมตร น ารถยนต์ไปจอดที่วัดบางปู (รถยนต์เข้าไม่ถึงหาด) จากนั้นต้องตัดสินใจว่าจะ เดินทางโดยวิธีการใดใน 2 ทางเลือกนี้ - ทางเรือ มีเรือหางยาวของชาวบ้านให้บริการรับ-ส่ง จากหาดบ้านปูไปหาดแหลมศาลา เป็นการเดินทางเลียบชายฝั่ง เหมาะ ส าหรับนักท่องเที่ยวที่มีสัมภาระมาก - ทางเท้า ให้สอบถามชาวบ้านหรือสังเกตป้ายบอกทางไปหาดแหลมศาลา เดินข้ามเขาไปตามทางเดินที่อุทยานแห่งชาติจัดท า ไว้ ระยะทางประมาณ 500 เมตร ใช้เวลาประมาณ 20 นาที หรืออาจมากกว่าเล็กน้อย ระหว่างทางสามารถชมทิวทัศน์ท้อง ทะเล หมู่บ้านชาวประมง และพันธุ์ไม้ที่ขึ้นอยู่ตามเทือกเขาหินปูน
ถ ้าพระยานคร เป็นถ้ าขนาดใหญ่อยู่ในบริเวณหาดแหลมศาลา มี 3 คูหา โดยสองคูหามีปล่องด้านบน ส่วนด้านล่างในถ้ าเป็นป่า ต้นไม้ค่อนข้างสูงชะลูด ถ้ าพระยานครถูกค้นพบโดยพระยานคร ผู้ครองเมืองนครศรีธรรมราช แต่ไม่ทราบนาม ในสมัยรัชการที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงทราบว่าถ้ านี้สวยงามมาก จึงมีพระราชประสงค์ใคร่จะเสด็จประพาส จึงให้นายช่างประจ าราชส านักก่อสร้างพลับพลาแบบจตุรมุขขนาดย่อยตั้ง ไว้บนเนินดินกลางถ้ า พระองค์เสด็จประพาสเมื่อ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2433 และพระราชทานนามพลับพลานี้ว่า “พระที่นั่งคูหาคฤหาสน์” ถ้ าพระยานครนี้จะต้องเดินเท้าขึ้นไป จากหาดแหลมศาลาอีกประมาณ 430 เมตร ถ ้าแก้ว อยู่ห่างจากที่ท าการอุทยานแห่งชาติ ไปทางบ้านบางปู ประมาณ 16 กิโลเมตร อยู่ในบริเวณหุบเขาจันทร์ เป็นถ้ าที่มี หินงอกหินย้อยที่สวยงาม ลักษณะเด่นของหินงอกหินย้อยที่ส่วนใหญ่ค่อนข้างใส และโปร่งแสง การเดินชมภายในถ้ าค่อนข้างล าบาก เนื่องจากภายในถ้ ามืดมาก และพื้นไม่เรียบเต็มไปด้วยหินใหญ่น้อยระเกะระกะ จ าเป็นต้องใช้ตะเกียงเจ้าพายุ หรือไฟฉาย การเที่ยวชมควรมีมัคกุเทศก์ท้องถิ่น หรือเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติน าทาง ใช้เวลา เที่ยวชมภายในถ้ า ประมาณ 2 ชั่วโมง นักท่องเที่ยวควรจัดเตรียมไฟฉายไปด้วย
ถ ้าไทร อยู่บริเวณคุ้งโตนด ห่างจากที่ท าการอุทยานแห่งชาติ 9 กิโลเมตร การขึ้นชมถ้ ามีระยะทางไม่ไกล สามารถน ารถยนต์ ไปจอดไว้ที่เชิงเขาแล้วเดินเท้าขึ้นเขาไปอีก 280 เมตร ใช้เวลาประมาณ 30 นาที ภายในถ้ าค่อนข้างมืดต้องใช้ไฟฉายหรือ ตะเกียงซึ่งจะมีบริการในวันหยุดราชการ หากเป็นวันธรรมดาสามารถติดต่อขอเช่าตะเกียงได้ที่บ้านคุ้งโตนด ลักษณะภายใน ถ้ าพบหินงอกหินย้อยที่สวยงาม ระยะเวลาที่เข้าชมภายในถ้ าประมาณ 1 ชั่วโมง ทุ่งสามร้อยยอด เป็นพื้นที่ชุ่มน้ าประเภทหนึ่ง มีพื้นที่ราบลุ่มกว้างใหญ่ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีน้ าขังหรือท่วมถึงตลอดทั้งปี มีทั้ง ส่วนที่เป็นน้ าจืดและน้ ากร่อย เป็นแหล่งที่มีองค์ประกอบทางชีวภาพและกายภาพ เป็นเอกลักษณ์ของระบบซึ่งมีความ หลากหลายชนิดของพืช สัตว์ และธาตุอาหาร ทุ่งสามร้อยยอดเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของนกนานาชนิด ทั้งนกประจ าถิ่นและนก อพยพตามฤดูกาล นับเป็นแหล่งดูนกที่ส าคัญอีกแห่งหนึ่งของประเทศบริเวณเชิงเขา มีศูนย์ศึกษาธรรมชาติทุ่งสามร้อยยอด สะพานทางเดินศึกษาธรรมชาติ และสถานที่กางเต็นท์ ไว้ให้บริการนัดท่องเที่ยว การเดินทางเข้าถึงสะดวกเป็นทางลาดยาง จนถึงศูนย์ศึกษาธรรมชาติ (ทางเข้าเดียวกับสถานีรถไฟสามร้อยยอด) หมู่เกาะ อุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด มีสภาพเป็นภูเขาหินปูนผสมกับที่ราบริมชายฝั่งทะเล มีหมู่เกาะหินปูนใกล้ชายฝั่ง ได้แก่ เกาะสัตกูด เกาะโคร า เกาะนมสาว เกาะระวิง เกาะระวาง และเกาะขี้นก ทางด้านตะวันออกของอทุยานแห่งชาติ
กิจกรรมส าหรับนักท่องเที่ยว เดินป่าศึกษาธรรมชาติ ชมพรรณไม้ ชมทิวทัศน์ ดูนก เที่ยวถ้ า/ธรณีวิทยา ล่องแพ/ล่องเรือ พายเรือแคนู/คยัค กิจกรรมชายหาด ชมประวัติศาสตร์ การเดินทาง อุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด ตั้งอยู่ในพื้นที่อ าเภอสามร้อยยอดและอ าเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยมีที่ ท าการอุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด อยู่ระหว่างหลักกิโลเมตรที่ 286-287 โดยห่างจากถนนเพชรเกษม ประมาณ 14 กิโลเมตร และห่างจากตัวอ าเภอปราณบุรี ประมาณ 37 กิโลเมตร การเดินทางจากกรุงเทพมหานคร สามารถเดินทางได้ 3 ทาง คือ เส้นทางที่ 1 จากกรุงเทพมหานครไปตามทางหลวงหมายเลข 35 (ถนนสายธนบุรี - ปากท่อ ) ผ่านจังหวัดสมุทรสงคราม เลี้ยวเข้าสู่ถนนทางหลวงหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ที่อ าเภอปากท่อ ผ่านจังหวัดเพชรบุรี อ าเภอชะอ า และเข้าสู่ อ าเภอหัวหินถึงอ าเภอปราณบุรี เมื่อถึงสี่แยกปราณบุรี เลี้ยวซ้ายไปตามถนนสายปากน้ า – ปราณบุรี 4 กิโลเมตร จะ เห็นป้ายบอกทางไปยังอุทยานฯ ให้เลี้ยวขวาไปตามถนน ซึ่งเป็นถนนลาดยางอีกประมาณ 31 กิโลเมตร จะถึงที่ท าการ อุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด เส้นทางที่ 2 จากกรุงเทพมหานครไปตามทางหลวงหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ผ่านจังหวัดนครปฐม จังหวัดราชบุรี จังหวัดเพชรบุรี อ าเภอหัวหิน ถึงอ าเภอปราณบุรี ไปอ าเภอกุยบุรี ก่อนถึงอ าเภอกุยบุรี ประมาณ 7 กิโลเมตร บ้านส า โหรงที่หลักกิโลเมตรที่ 286.5 มีทางแยกซ้ายไปประมาณ 14 กิโลเมตร จะถึงที่ท าการอุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด เส้นทางที่ 3 จากกรุงเทพมหานครไปตามทางหลวงสายธนบุรี – พุทธมณฑล – นครชัยศรี และเลี้ยวขวาเข้าทางหลวง หมายเลข 4 สู่จังหวัดเพชรบุรีเส้นชะอ า – บายพาส ตามเส้นทางถึงอ าปราณบุรีเมื่อถึงสี่แยกปราณบุรี เลี้ยวซ้ายไปตาม ถนนสายปากน้ า – ปราณบุรี 4 กิโลเมตร จะเห็นป้ายบอกทางไปยังอุทยานฯ ให้เลี้ยวขวาไปตามถนน ซึ่งเป็น ถนนลาดยางอีกประมาณ 31 กิโลเมตร จะถึงที่ท าการอุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด
สถานที่ตั้ง หมู่ที่ 2 บ้านเขาแดง ต าบลเขาแดง อ าเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ที่พัก แนะน าจองในเว็บไซต์ www.agoda.com เพราะสามารถเลือกตามที่เราสะดวกเรื่องงบและความชอบส่วนตัว อ้างอิง www.teeteawthai.com http://com2ine.com/travel http://www.deeryarch.me/huahin/huaimongkoltemple/
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: