ดร.นิรนาท วิทยโชคกิตคิ ณุ
ส่งั การรกั ษา (Doctor’s order)
เภสชั กร •จดั หายา •จัดเตรียมยา •กระจายยาตามคาสัง่ ใช้ยาของแพทย์ •ตรวจสอบความถูกตอ้ งของยาทีจ่ ัด ตามใบสัง่ ยา •ให้ข้อมูลเรอื่ งยา •ใหค้ าปรึกษาและแกป้ ัญหาท่เี กิดข้ึน จากการใช้ยา
จัดยา แจกยา เตรยี มยา สังเกตผลข้างเคยี งของยา
การจดั การ วางแผนให้ยา ชว่ ยเหลอื ชี้แนะ ติดตาม ประเมินผล และการให้ยาเข้าสรู่ า่ งกายโดยคานึงถึงความถกู ตอ้ งตามหลักการให้ยา ผู้ใชบ้ รกิ ารได้รบั ยาอย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้อง กบั วตั ถปุ ระสงค์ของการใหย้ า
การคดั ลอกหรือบันทกึ แผนการรกั ษาหมายถึง การบนั ทกึ แผนการรักษาลงในแบบฟอรม์ ตา่ งๆ เชน่ ใบบันทึกการใหย้ า(Medication Administration Recordหรือ MAR) เพ่ือการบริหารยาของพยาบาลและการสื่อสาร
การเบิกยาหมายถงึ กระบวนการสง่ แผนการรกั ษาไปยงั หอ้ งจ่ายยาผู้ปว่ ยในโดยนาใบแบบฟอรม์ คาสัง่ การรักษา (Copydoctor order sheet) ไปเบกิ ยา
การรับยาจากหอ้ งจ่ายยาผปู้ ว่ ยในมายงั หอผปู้ ว่ ยหมายถงึ กระบวนการการนาส่งยาจากหอ้ งจ่ายยาผู้ป่วยในมาให้กบั หน่วยงาน / หอผ้ปู ว่ ยทีถ่ ูกตอ้ ง ครบถว้ นและสอดคลอ้ งกับแผนการรักษา
การจัดเก็บรักษายาในหนว่ ยงานหมายถึง การรบั ยาหรือเวชภณั ฑ์ สารอาหารสาหรบั การรกั ษา มาจากหอ้ งจ่ายยาผปู้ ่วยในโดยมกี ารบริหารการจดั เก็บตามระบบ FI / FO(First in / First Out) มรี ะบบรักษาความปลอดภัยของยา
สถานท่กี ารจดั เกบ็ เหมาะสมตามประเภทของยาความพรอ้ มใชข้ องยาและจานวนทีจ่ ัดเก็บยาท่ใี ช้ในภาวะวิกฤตและฉกุ เฉิน และการจัดเกบ็ยาที่เหลอื ใช้ โดยมกี ารตดิ ตาม (Monitor) เพอ่ืสะดวกและเพยี งพอตอ่ การใชง้ าน
การตรวจสอบความถกู ตอ้ งหมายถึง กระบวนการตรวจสอบความถูกตอ้ งในการบริหารยา โดยพยาบาลวิชาชีพในหน่วยงาน / หอผปู้ ่วยเมอื่ รับยาจากห้องจา่ ยยาผู้ปว่ ยใน ทาการตรวจสอบทั้งชอื่ -สกลุ ผ้ปู ว่ ย HN ชนิดของยา ชอ่ื ยาความเขม้ ข้นและขนาด รูปแบบยา และจานวน
ถา้ เปน็ ยาใหม่ที่ไม่คุน้ เคย หรือข้อมลู ยาระบุวา่ เปน็ ยาที่ไมต่ รงตามแผนการรกั ษาใหต้ รวจสอบกลบั ไปยงั ห้องจ่ายยาผูป้ ว่ ยในเพอ่ื ยนื ยันความถูกต้องของยาทุกครง้ั กรณีไมม่ ฉี ลากยาให้ส่งคนื หอ้ งจ่ายยาทันที
การจดั เตรียมยาหมายถึง กระบวนการจัดเตรยี มยาซึง่ ตอ้ งมีการตรวจสอบความถกู ตอ้ งในการจัดเตรยี มยา โดยเฉพาะกรณยี าฉีดจะตอ้ งมกี ารอ่านฉลากยา เพื่อตรวจสอบความถกู ต้องกอ่ นผสมยา
การตรวจสอบความถกู ตอ้ งก่อนใหย้ าหมายถึง กระบวนการตรวจสอบความถูกต้องกอ่ นใหย้ าผู้ป่วย ซง่ึ ต้องมีการตรวจสอบความถูกตอ้ งตามหลกั 6 Rให้เป็นไปตามแผนการรกั ษาของแพทย์
Right drug ถกู ต้องตามชนิดของยาRight dose ถกู ตอ้ งตามขนาดRight route/method ถูกต้องตามวิถีทางRight time ถกู ต้องตามเวลาRight patient ถกู ตอ้ งตรงกับตัวผปู้ ่วยRight documentation บนั ทึกการให้ยาถูกตอ้ งตรง กับผปู้ ่วย
การใหย้ าตามแผนการรักษาหมายถึง กระบวนการให้ยาผ้ปู ว่ ยตามแผนการรกั ษาโดยยดึ หลัก 6 R ด้วยความระมัดระวงั การเกิดความเสี่ยงทางยา
การตดิ ตามอาการหลังใหย้ าหมายถึง กระบวนการตดิ ตามผลการใชย้ า(Monitoring) เพอ่ื เฝา้ ระวัง และจดั การแกไ้ ขอาการทไี่ มพ่ ึงประสงคจ์ ากฤทธ์ขิ องยาตั้งแต่เกดิอาการเร่ิมตน้ รวมท้งั ปอ้ งกนั การเกดิ อาการไมพ่ ึงประสงค์ ที่รนุ แรง และนาขอ้ มูลการแพ้ยาไปใชใ้ นการวางแผนการป้องกนั ในผู้ปว่ ย / ผใู้ ชบ้ ริการรายอ่นื ๆ
การบันทกึ การให้ยาหมายถึง บันทึกรายการยา ลงลายมอื ชอื่ พยาบาลผใู้ หย้ าและพยาบาลผู้ตรวจสอบความถกู ต้องตามหลัก 6 R หลังจากการใหย้ าผูป้ ่วยในแบบฟอรม์บนั ทกึ การใหย้ า (ใบ MAR) / เอกสาร
รวมถงึ มีการบนั ทกึ ปฏกิ ิรยิ าของผู้ปว่ ยกระบวนการพยาบาลในการดแู ลผ้ปู ่วยก่อนและหลังการได้รบั ยาในบนั ทึกทางการพยาบาลโดยบนั ทกึ อาการสาคญั ทเ่ี กี่ยวข้องตามชนดิของยาท่กี าหนดไวใ้ นแนวทางปฏบิ ัติเพ่อืตดิ ตามอาการไม่พงึ ประสงค์จากการใชย้ า
พยาบาลวชิ าชพี มบี ทบาทในการบรหิ ารยาดงั นี้1.ซกั ประวตั กิ ารแพย้ าของผู้ปว่ ย กอ่ นทจ่ี ะให้ยา และลงบันทึกไว้อย่างชัดเจน2.ประเมนิ ภาวะของผปู้ ่วยกอ่ นที่จะใหย้ า เช่น การวัด BP หรือการฟังเสยี งการทางานของปอด กอ่ นใหย้ าขยายหลอดลม3. สังเกตอาการก่อนและหลงั การให้ยา
• ให้ผปู้ ว่ ยรับประทานยาต่อหนา้ พยาบาลไมว่ างท้งิ ไว้ขา้ งเตียง ลงบันทึกหลงั จากทีใ่ ห้ยาแก่ผปู้ ่วยเรยี บรอ้ ยแล้ว ช่วยให้ผู้ปว่ ยไดร้ ับยาง่ายข้ึน เชน่ กรณียาทมี่ ีรสขม หรอื รส เฝอ่ื นอาจจดั เตรียมของเปรย้ี ว หรอื นา้ ไว้ ประเมนิ ประสิทธภิ าพของยาท่ีให้ เชน่ ยาแก้ปวดสามารถลด อาการปวดได้เพียงใด• สังเกตอาการกอ่ นและหลงั การใหย้ า จดั เก็บยาใหถ้ ูกต้องตามคาแนะนา
การเฝา้ ระวังผลขา้ งเคยี งจากการใชย้ า (Adverse drug reaction)ปฏกิ ริ ยิ าไม่พึงประสงคห์ รอื อาการไมพ่ ึงประสงค์ที่เกิดจากยาซึ่งโดยท่วั ไปหมายรวมถึง การแพย้ า(drug allergy/drug hypersensitivity)
ประเภท ความหมายDrug allergy เกิดจากภมู ิคุ้มกันของรา่ งกายตอ่ ตา้ นยาADR เปน็ อันตราย / ไม่ได้ตัง้ ใจใหเ้ กดิ ขน้ึ / เกดิ ข้นึ ใน ขนาดการใช้ตามปกติ / ไม่รวมการได้รับยาเกิน ขนาด หรอื การจงใจใชย้ าในทางทผ่ี ิดSide effect ผลใดๆ ทไ่ี ม่ไดจ้ งใจให้เกดิ ขน้ึ / เกดิ ขนึ้ ในการใช้ ยาตามขนาดปกติ / สัมพนั ธ์กับคุณสมบตั ิทาง เภสัชวิทยาของยา
อย. กาหนดใหส้ ่งรายงาน ADR สง่ เฉพาะอาการที่รุนแรง ซึ่งหมายถงึ อาการทผ่ี ู้ปว่ ยเกิดเหตกุ ารณ์ข้อใดขอ้ หนึ่งดังต่อไปนี้ • เสียชวี ิต (death) • อนั ตรายถงึ ชีวติ (life-threatening) • เข้ารับการรกั ษาใน รพ.หรอื เพม่ิ เวลาในการนอน รพ.ให้ นานข้ึน (hospitalization-initial / prolonged) • พิการ (disability) • เกิดความผดิ ปกตแิ ตก่ าเนดิ (congenital anomaly)
•การซกั ประวัติผปู้ ว่ ยหน้าหอ้ งตรวจ•การบรกิ ารผู้ปว่ ยหลังพบแพทย์ หากมผี ปู้ ่วยรายใดสงสัยวา่ เคยมี ประวตั ิแพ้ยา หรือสงสยั ให้สง่ ผูป้ ว่ ย พรอ้ มกบั บตั รตรวจโรคไปพบเภสัชกร เพอ่ื ทาการประเมินทกุ คร้งั
http://healthy.in.th/drug/ http://www.mims.com
ท่มี า/ความสาคัญในปี พ.ศ. 2545 องค์การอนามยั โลกประเมนิ วา่ “มากกว่าครง่ึ หน่ึงของการใชย้ า เปน็ ไปอยา่ ง ไม่เหมาะสม และมากกวา่ คร่งึ หน่ึงของผูป้ ว่ ย ไมส่ ามารถใชย้ าทตี่ นเองไดร้ บั อย่างถูกต้อง”
มากกวา่ ครึ่งหน่งึ ของการส่ังยาโดยแพทย์ การจา่ ยยาโดยเภสชั กร และการขายยาท่ี ร้าน เป็นการใชย้ าอย่างไม่เหมาะสม(ไม่สมเหตผุ ล)
ยา 5 อนั ดบั แรกที่ทาใหเ้ กิดการแพท้ ่ผี ิวหนงั รุนแรงไดบ้ ่อยทีส่ ุดในประเทศไทย กลมุ่ อาการสตีเวนส์-จอห์นสัน กลมุ่ อาการเท็น (TEN) ขอบคุณ ศ. ดร.วจิ ติ รา ทัศนียกลุ สาหรบั กราฟที่ใช้ประกอบภาพ
“การใชย้ าโดยมขี อ้ บ่งชี้ เป็นยาทม่ี ีประสทิ ธิภาพจริงสนับสนุนดว้ ยหลกั ฐานที่น่าเชือ่ ถือ ให้ประโยชน์กบั ผปู้ ว่ ยมากกวา่ ความเสีย่ งจากการใช้ยาอย่างชดั เจน มีราคาเหมาะสม ค้มุ คา่ ตามหลกั เศรษฐศาสตรส์ าธารณสขุ เป็น การใช้ยาตามข้ันตอนท่ีถูกตอ้ งตามแนวทางการ พจิ ารณาการใชย้ า โดยใช้ยาในขนาดท่พี อเหมาะกับ ผูป้ ่วยในแตล่ ะกรณี
ดว้ ยวิธกี ารใหย้ าและความถใี่ นการใหย้ าที่ถูกต้องตาม หลกั เภสชั วทิ ยาคลินิก ดว้ ยระยะเวลาการรักษาท่ี เหมาะสม ผู้ปว่ ยใหก้ ารยอมรบั และสามารถใชย้ า ดงั กล่าวไดอ้ ยา่ งถูกต้องและตอ่ เนื่อง อีกทงั้ กองทนุ ใน ระบบประกนั สขุ ภาพหรอื ระบบสวัสดกิ ารสามารถให้ เบกิ จา่ ยค่ายานนั้ ไดอ้ ย่างยง่ั ยนื ไมเ่ ลือกปฏบิ ตั ิ เพื่อให้ผู้ปว่ ยทกุ คน สามารถใช้ยาได้อย่างเทา่ เทยี มกัน และไม่ถูก ปฏิเสธยาที่สมควรได้รับ”
ใช้ยาโดยไมม่ ขี ้อบง่ ชี้ ใชย้ าทีไ่ มเ่ ป็นประโยชน์จริงต่อผปู้ ่วย ใช้ยาทมี่ ีอันตรายมากกวา่ ประโยชน์ ใช้ยาโดยขาดความคานึงถงึ ความคุ้มค่า ใช้ยาผดิ ขนาด ใช้ยาโดยขาดความตระหนักถงึ ปัญหาเชื้อด้ือยา ใชย้ านอกกรอบบัญชียา
คา่ ใช้จา่ ยด้านสขุ ภาพสูงอย่างตอ่ เนื่องส่งผลตอ่ ความยงั่ ยนื ของระบบประกนั สขุ ภาพมีปญั หาการดื้อยาจากการใช้ยาต้านจลุ ชพี ในคน สตั ว์และเกษตรกรรมทง้ั เคมีภัณฑ์ และยาสาเร็จรูปประชาชนไมป่ ลอดภยั จากการใชย้ าและมียาไม่ ปลอดภยั กระจายอยู่ในชมุ ชนการใช้ยาในสถานพยาบาลและชุมชนไม่สมเหตผุ ล
สถานการณป์ ระเทศไทย ประเทศสญู เสยี คนไทยใช้ยา ทางเศรษฐกิจ ปฏิชีวนะ ปลี ะ40,000 ลา้ นบาท 10,000 ลา้ นบาท เสียชีวติ ติดเช้อื ด้อื ยาปฏชิ วี นะ30,000 คน/ปี 100,000 คน/ปี
ยาระบาย นามาใชเ้ ปน็ ยาลดความอ้วน ไม่มีข้อบง่ ใช้ ไมม่ หี ลกั ฐานทางวิชาการสนับสนุน กลไกการออกฤทธิไ์ มส่ นับสนนุพาราเซตามอล ปกติกินวนั ละไมเ่ กิน 4 กรัม กินตดิ ต่อกันไม่เกนิ 5 วนั หลกี เลีย่ งการใชใ้ นคนทเ่ี ปน็ G-6PD ผู้ทีด่ ่ืมสรุ าหรือสบู บหุ รี่ ปัญหาท่ีเจอ: กนิ ตดิ ตอ่ กนั ทุกวนั มกี ารกินยาในคนทดี่ มื่ สุรา กินยาเกนิ ขนาด
ไม่สบายต้องฉดี ยาจึงจะหาย การหยดุ ยาเอง หรือปรับยาเอง การกินยาปฏิชวี นะพรา่ เพรือ่ ◦ ท้องเสยี เจบ็ คอ การฉีดยาให้ผิวขาว ◦ กลตู า ◦ วติ ามินซี
วางนโยบาย รพ.ใชย้ าอยา่ งสมเหตุสมผลสธ. เผยไทยใช้ยามูลค่าสูงถึง 1.4 แสนลา้ นบาท โตกว่าจีดีพีประเทศ 5-6% ตอ่ ปี เปน็ การใช้ยาเกนิ ความจาเปน็ ถงึ2,370 ลา้ นบาท และใช้อยา่ งมีขอ้ สงสยั ต่อประสทิ ธภิ าพอกี4,000 ล้านบาท ประกาศนโยบายให้ทุก รพ.สง่ เสรมิ “การใช้ยาอยา่ งสมเหตุสมผล” กาหนดเป็นแผนพัฒนาระบบบริการสขุ ภาพ (Service plan) สาขาท่ี 15
กญุ แจสาคญั 6 ประการ (PLEASE)1.คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบาบัด (Pharmacy and Therapeutics Committee)2.ฉลากยาและข้อมลู ส่ปู ระชาชน (Labeling and Leaflet)3.เคร่ืองมือจาเป็ นเพ่ือการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Essential RDU tools)4.ความตระหนักรู้ของบุคลากรทางการแพทย์และผู้ป่ วย (Awareness of RDU in health personnel and patients)5. การดูแลด้านยาเพ่ือความปลอดภยั ของประชากรกลุ่มพเิ ศษ (Special population Care)6. จริยธรรมในการส่งั ใช้ยา (Ethics in prescription)
1. คณะกรรมการเภสชั กรรมและการบาบดั(Pharmacy and Therapeutics Committee) (PTC) รับทราบนโยบาย ใหก้ าลงั ใจ ใหค้ วามร่วมมือในการปฏิบัติ
2. ฉลากยาและข้อมูลสปู่ ระชาชน (Labeling and Leaflet) ใชข้ อ้ มลู ในฉลากยา ฉลากยาเสริม แนะนาขอ้ มูลยาสูผ่ ปู้ ว่ ย/ผ้ดู ูแล ให้ข้อมูลยอ้ นกลบั เพอ่ื พฒั นาระบบ
Search