Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตัวอย่างเปลือกหอยเพื่อการศึกษา

ตัวอย่างเปลือกหอยเพื่อการศึกษา

Published by นุสราสินี ณ พัทลุง, 2019-11-27 17:30:09

Description: ตัวอย่างเปลือกหอยเพื่อการศึกษา

Search

Read the Text Version

ตัวอยา่ งเปลือกหอยเพื่อการศึกษา โดย นางสาวนสุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ ตาแหน่งครู วทิ ยฐานะครชู านาญการ ภาควชิ าประมง วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

1 ตวั อยา่ งเปลอื กหอยเพื่อการศึกษา คานา เอกสารตัวอย่างเปลือกหอยเพื่อการศึกษา ผู้เขียนได้รวบรวมข้อมูลหอยฝาเดียวและหอยสองฝา โดยรวมทั้งหอยน้าจืดและหอยทะเลจากสถานที่ต่างๆ เพื่อใช้เป็นแหล่งเรียนรู้สาหรับการจัดการเรียนการสอน ให้กับนักเรียนนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานีและบุคคลภายนอกท่ีสนใจ ซ่ึงจะมี ตัวอย่างเปลอื กหอยจัดแสดงโชวอ์ ยใู่ นตู้ภายในอาคารศนู ยว์ ิทยบรกิ ารของวทิ ยาลยั ผ้เู ขยี นไดศ้ กึ ษารายละเอียดจากเอกสาร หนังสอื ตารา สือ่ อินเตอร์เน็ต หวงั ว่าเอกสารเอกสารตัวอย่าง เปลือกหอยเพื่อการศึกษาเล่มนี้ คงอานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอนและผู้ที่สนใจตามสมควร หากมี ข้อผิดพลาดประการใด ผู้เขียนยินดีรับฟังข้อคิดเห็นต่าง ๆและจะนาไปปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง และ ขอขอบคณุ มา ณ โอกาสน้ี นางสาวนุสราสนิ ี ณ พทั ลุง มกราคม 2561 รวบรวมขอ้ มูลโดย ครนู ุสราสินี ณ พัทลงุ วิทยาลยั เทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

2 ตัวอยา่ งเปลอื กหอยเพ่ือการศึกษา หอยหวาน ท่มี า: https://th.wikipedia.org/wiki/ ถ่ายภาพโดย: นสุ ราสินี (2561) ชื่อสามญั ไทย: หอยหวาน หรือ หอยตุ๊กแก หรอื หอยเทพรส ชอ่ื สามัญอังกฤษ: Spotted Babylon ชื่อวทิ ยาศาสตร์: Babylonia areolata ลกั ษณะทั่วไป: เป็นหอยทะเลฝาเด่ียวชนิดหน่ึงมีเปลือกที่ค่อนข้างหนารูปไข่ ผิวเรียบสีขาวมีลวดลายสี นา้ ตาลเข้ม มีหนวด 1 คู่ ตา 1 คู่ มีทอ่ มีเท้าขนาดใหญ่ใช้สาหรับเคล่ือนที่ อาศัยอยู่ตาม อาหาร: พน้ื ทะเลที่เปน็ ทรายหรอื ทรายปนโคลน ในระดับความลึกต้ังแต่ 2–20 เมตร พบได้ท้งั ฝ่ัง อ่าวไทยและทะเลอันดามัน ในต่างประเทศพบได้ที่ ทะเลฟิลิปปินส์ ทะเลจีนใต้ และ ไต้หวัน กินอาหารโดยใช้อวัยวะที่เป็นท่อสีขาวยื่นออกมา โดยจะย่ืนปลายท่อไปยัง อาหารและส่งน้าย่อยออกไปและดูดอาหารกลับทางท่อเข้าร่างกาย หลังกินอาหารแล้ว ก็จะเคล่ือนท่ีไปฝังตัวใต้ทราย ซ่ึงอาหารได้แก่ ซากพืช ซากสัตว์ชนิดต่าง ๆ มีขนาดโต เต็มที่ประมาณ 40–100 มิลลิเมตร ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ โดยหอยตัวเมียจะวางไข่ เป็นฟัก วางไข่ครั้งละประมาณ 20–70 ฝัก โดยวางไข่ได้ท้ังปี ระยะเดือนมกราคมถึง มีนาคม จะวางไข่ได้มากที่สุด ฝักไข่มีความกว้างเฉล่ีย 10.32 มิลลิเมตร ความยาวเฉลี่ย 29.31 มิลลิเมตร มีก้านยึดติดกับวัตถุในพ้ืนทะเล เช่น เม็ดทราย ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัว ประมาณ 5–7 วัน ลูกหอยวัยอ่อนจะดารงชีวิตแบบแพลงก์ตอน คือ ลอยไปมาตามกระ แสน้า ระยะเวลาเตบิ โตจนเป็นวยั เจรญิ พันธ์ุประมาณ 1 ปี กินแพลงก์ตอนเป็นอาหาร รวบรวมขอ้ มลู โดย ครูนุสราสนิ ี ณ พัทลงุ วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี

3 ตวั อยา่ งเปลอื กหอยเพื่อการศึกษา หอยสงั ขห์ วี ท่มี า: http://www.biogang.net/animal_view.php?uid=19188&id=123814 https://www.google.com/search?q=หอยสังข์หวี&client=avast&source ถา่ ยภาพโดย: นสุ ราสนิ ี (2561) ชอ่ื สามญั ไทย: หอยสังขห์ วี ช่ือสามัญองั กฤษ: Venus Comb Murex ชอ่ื วทิ ยาศาสตร:์ Murex pecten ชอ่ื วงศ:์ MOLLUSCA ลักษณะ: เปลือกมีสีครมี ช่องปากเปดิ เป็นรปู ไข่ ด้านนอกมีหนามเป็นแงย่ น่ื ยาวเรียงกนั เปน็ แถว คลา้ ยซห่ี วีหรอื กา้ งปลา ขนาดความยาวประมาณ 12 เซนตเิ มตร ประโยชน:์ หอยสวยงาม ฤดกู าลใชป้ ระโยชน:์ ตลอดปี ศกั ยภาพการใช้งาน: มีบางพนื้ ที่ พบเปน็ จานวนน้อย รวบรวมข้อมูลโดย ครูนสุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

4 ตวั อย่างเปลอื กหอยเพ่ือการศึกษา หอยสงั ขห์ นามเล็ก ท่ีมา: https://dictionary.sanook.com/search/dict-fish/ ถ่ายภาพโดย: นุสราสนิ ี (2561) ชอ่ื สามัญไทย: หอยสงั ข์หนามเล็ก ชื่อสามัญอังกฤษ: Stout-Spine Murex ชื่อวทิ ยาศาสตร:์ Murex trapa ลักษณะทว่ั ไป: ลกั ษณะของหอยสังขห์ นามเล็ก เปลือกหอยชนดิ นม้ี ีสัณฐานป้อม มหี นามยาวตรง ตอนยอดสูงและตรงปากยาวตรงและเรียวออก นับว่าเปน็ หอยท่มี รี ูปลกั ษณส์ วยงาม ถ่นิ อาศยั : ชนิดหนงึ่ เพราะประกอบด้วยโครงสรา้ งทาใหเ้ ปลือกหอยมีลักษณะแปลกตา ปาก อาหาร: ตรงบรเิ วณที่มลี กั ษณะเรียวนัน้ มคี วามยาวเกือบ 2 เท่า ของลาตวั มีหนามยาวอยู่ ขนาด: ข้างละ 4 อนั หนามบนลาตวั จะมขี นาดต่างกัน ใหญ่บ้างเล็กบ้างสลับกัน หนามอนั ยาวมกั จะโค้งกลับหลงั และเรียงรายเป็นแถวเหมือนหวี แหลง่ ทพี่ บหอยสังข์หนามเล็กพบในอา่ วไทยท่เี กาะเสมด็ ปากนา้ แขมหนู แหลมสงิ ห์ และอา่ วบางเบดิ จังหวดั จันทบุรี หอยสังขห์ นามเล็กกินหอยสองฝา ความสงู ประมาณ 5-10 เซนติเมตร รวบรวมขอ้ มูลโดย ครูนสุ ราสินี ณ พัทลุง วทิ ยาลยั เทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

5 ตัวอยา่ งเปลอื กหอยเพ่ือการศึกษา หอยสงั ขม์ ะระ ทีม่ า: https://www4.fisheries.go.th/local/file_document/20170427105828_file.PDF https://th.wikipedia.org/wiki/ หอยสังขม์ ะระ ถ่ายภาพโดย: นุสราสินี (2561) ชื่อสามญั ไทย: หอยสงั ขม์ ะระ ช่ือสามญั องั กฤษ: Murex shell, Ramose murex, Branched murex ชอ่ื วทิ ยาศาสตร:์ Chicoreus ramosus ลกั ษณะทว่ั ไป: เป็นหอยฝาเดยี วจาพวกหอยสงั ข์ จัดอยูใ่ นวงศ์หอยหนาม เปน็ หอยฝาเดียวขนาดกลางทม่ี ีเปลือกหนา ด้านปากมหี นามย่ืนยาวออกไปและมีร่องลึก บนเปลือกมีหนามจานวน 3 แถว เรียงตัวตามความยาว หนามแต่ละอันพับเป็นราง ปลายไม่แหลมและไม่แผ่แบน โดยแถวท่ีอยู่ขอบด้านนอกมีแง่ย่ืนออกไปทางด้านข้าง มากกว่าแถวอ่ืน ช่องเปิดปากกว้าง ความยาวเปลือกประมาณ 25 เซนติเมตร พ้ืนผิว เปลือกสีขาว พบอาศัยอยู่ตามแนวปะการัง ใต้เขตน้าขึ้น-น้าลงพบกระจายพันธ์ุอย่าง กว้างขวางในเขตอินโด-แปซิฟิก และพบถึงยังแอฟริกาใต้, ทะเลแดง, อ่าวโอมาน, มอริเชียส, อ่าวไทย, โปลนิ เี ซีย, ตอนใต้ของญปี่ ุ่น, นวิ แคลิโดเนีย และรฐั ควีนสแ์ ลนด์ ใน ออสเตรเลยี ประโยชน:์ เปน็ หอยทน่ี ิยมนาเน้ือมารับประทาน และเปลือกใชใ้ นการทาเคร่อื งประดับเพื่อความสวยงาม รวบรวมข้อมูลโดย ครนู ุสราสินี ณ พัทลงุ วิทยาลยั เทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

6 ตวั อยา่ งเปลอื กหอยเพ่ือการศึกษา หอยสงั ขเ์ ปลอื กหนา ทมี่ า: https://www4.fisheries.go.th/local/file_document/20170427105828_file.PDF ถ่ายภาพโดย: นุสราสนิ ี (2561) ชื่อสามัญไทย: หอยสงั ข์เปลือกหนา ชอ่ื สามัญองั กฤษ: ชื่อวทิ ยาศาสตร:์ Marginate conch ชื่อพอ้ ง: Strombus marginatus (Linnaeus,1758) Dolomena marginata (Linnaeus,1758) Family: Strombus robustus Sowerby,1874 ทีอ่ ย่อู าศยั : Strombus septimus Duclos,1844 Strombus succinatus Linnaeus,1767 Strombidae บริเวณแนวปะการัง พ้นื ท้องทะเลเปน็ พืน้ ทรายหรอื ทรายปนโคลน รวบรวมขอ้ มลู โดย ครนู ุสราสินี ณ พัทลงุ วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี

7 ตวั อยา่ งเปลอื กหอยเพ่ือการศึกษา หอยสงั ขจ์ ักรนารายณ์ ท่มี า: http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/5-4/no22/hoy03.html ถา่ ยภาพโดย: นุสราสนิ ี (2561) ชื่อสามัญไทย: หอยสังขจ์ กั รนารายณ์ ชือ่ สามยั องั กฤษ: Orange Spider Conch ชอ่ื วทิ ยาศาสตร:์ Lambis crocata ลกั ษณะทั่วไป: เป็นหอยชนิดหน่ึงที่เรียกกันว่าสังข์แกลบ แต่ชาวบ้านมักจะไม่ค่อยเติมคาว่าสังข์ นาหน้าเวลาเรียกช่ือมัน หอยสงั ขจ์ ักรนารายณ์จะพบเห็นได้ทัว่ ไปในน่านนา้ ไทยและ ถิ่นอาศยั : กล่าวกันว่ายังมีจานวนไม่น้อย หอยชนิดนี้เปลือกหนาหนัก ช่องปากเปิดกว้าง ขอบ ขนาด: ปากยื่นออกเป็นแง่ง 6 แง่ง คนตั้งชื่อคงมองดูแล้วเห็นเป็นเหมือนรูปจักรของพระ นารายณ์ ผิวนอกของหอยจักรนารายณ์ขรุขระมีสีน้าตาลอ่อน แต้มด้วยจุดสีน้าตาล ไหมป้ ระปรายอยทู่ วั่ ไป หอยชนดิ นี้ มีรปู รา่ งใหญ่กว่าหอยชนิดอ่นื ชอบอาศัยแถวๆโขดหนิ แถบชายฝ่ังทะเลนา้ ต้ืน ความยาวของเปลือกตกประมาณ 20 เซนติเมตร รวบรวมขอ้ มูลโดย ครูนสุ ราสนิ ี ณ พทั ลุง วิทยาลัยเทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี

8 ตวั อย่างเปลือกหอยเพ่ือการศึกษา หอยมกุ ปกี นก ทม่ี า: https://web.facebook.com/DMCRTH/photos/a.240910415956463/518520701528765/ https://www.fisheries.go.th/marine/research/files/th/3_2553_% หอยทะเลสองฝาบริเวณจังหวดั ระยอง ถา่ ยภาพโดย: นุสราสนิ ี (2561) ช่ือสามัญไทย: หอยมกุ ปีกนก ชื่อสามญั องั กฤษ: Giant wing Oyster ชอ่ื วทิ ยาศาสตร:์ Pteria pengium ชื่อท้องถนิ่ : หอยมกุ กลั ปงั หา ลกั ษณะ: หอยสองกาบที่มเี ปลอื กค่อนข้างบาง กาบทั้งสองทีป่ ระกบกันมลี กั ษณะแบนด้าน นอกมี สนี า้ ตาลดา ดา้ นในมีชั้นมกุ เป็นมันวาว บาง ตัวอาจมีมกุ อยดู่ ้วย ขนาดความ ประโยชน:์ ยาวเปลอื กประมาณ 20 เซนติเมตร ฤดกู าลใชป้ ระโยชน:์ เปน็ อาหาร ถิ่นอาศยั : ตลอดปี มกั พบเกาะอยู่กบั ปะการัง ชายฝ่ังทะเลที่ปนโคลน แพร่กระจายในน่านนา้ ไทย ระยอง ประจวบครี ีขันธ์ พงั งา รวบรวมขอ้ มูลโดย ครนู ุสราสินี ณ พทั ลงุ วทิ ยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

9 ตัวอย่างเปลอื กหอยเพื่อการศึกษา หอยสงั ขป์ กี นางฟา้ ชอ่ื สามัญไทย: ท่มี า: https://th.wikipedia.org/wiki/หอยปกี นางฟ้า ชื่อสามัญองั กฤษ: ถ่ายภาพโดย: นสุ ราสินี (2561) ชอ่ื วทิ ยาศาสตร:์ วงศ:์ หอยสังขป์ ีกนางฟ้า หรอื หอยปีกนางฟ้า ลักษณะทว่ั ไป: Lister's conch Mirabilistrombus listeria อาหาร: Strombidae ขนาด: เป็นหอยฝาเด่ยี วมเี ปลือกแข็งมีวงก้นประมาณ 9-10 วง ปากยาว มีขอบเปลอื กแผ่ ถ่นิ อาศยั : ยื่นกว้างออกมาจากลาตัวเปน็ ปกี ดูสวยงาม และทต่ี ัวเปลอื กจะมลี วดลายสวยงาม กินซากอินทรยี สารทเ่ี น่าเปอ่ื ยเป็นอาหาร ประโยชน:์ มีความยาวเตม็ ที่ประมาณ 10-13 เซนตเิ มตร จะพบได้ในเขตนา้ ลกึ ของมหาสมุทรอนิ เดียเท่านน้ั โดยมักพบบรเิ วณไหลท่ วปี อยู่ ตามพ้ืนทะเลทเ่ี ป็นโคลน พบมากทางทะเลอนั ดามันและอา่ วเบงกอล เป็นหอยทมี่ ีความสวยงามมากชนดิ หนงึ่ จึงนิยมท่ีจะใช้ทาเครือ่ งประดบั และเก็บ สะสม รวบรวมขอ้ มลู โดย ครนู สุ ราสินี ณ พทั ลุง วิทยาลัยเทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี

10 ตัวอย่างเปลอื กหอยเพ่ือการศึกษา หอยเบยี้ โปง่ ลายเสือ ท่ีมา: https://www.oocities.org/undersea_thailand/D5.htm http://www.biogang.net/animal_view.php?uid=19183&id=124196 https://www.facebook.com/Num.and.Jang/posts/2253275788238181/ ถา่ ยภาพโดย: นสุ ราสนิ ี (2561) ชื่อสามัญไทย: หอยเบี้ยโปง่ ลายเสอื ชื่อสามญั อังกฤษ: Tiger Cowry ชื่อวทิ ยาศาสตร:์ Cypraea tigris (Linnaeus) Family: CYPRAEIDAE ลักษณะท่ัวไป: หอยเบี้ยโป่งลายเสือเป็นหอยกาบเดี่ยวขนาดกลาง เปลือกเป็นรูปไข่ผิวเรียบมัน นูน ขนาดความยาวประมาณ 8 เซนติเมตร ด้านปากเป็นร่องตามความยาวมี ถิ่นอาศยั : รอยหยักเป็นฟนั พื้นผวิ เปลือกสคี รมี แต้มด้วยจุดสีนา้ ตาลแดงคล้ายลาย ประโยชน:์ เสอื ดาว ขณะอาศัยอยูต่ ามธรรมชาตจิ ะยืน่ แมนเตลิ ออกมาคลมุ เปลือกเอาไว้ ฤดกู าลใชป้ ระโยชน:์ ส่วนของแมนเติลมีต่งิ ยาวย่ืนออกมาคลา้ ยหนวดจานวนมาก ศกั ยภาพการใช้งาน: พบอาศัยอยู่ตามพนื้ แนวปะการัง ทั้งในอ่าวไทยและฝ่ังทะเลอนั ดามัน หอยสวยงาม ตลอดปี มีบางพื้นท่ี รวบรวมขอ้ มลู โดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

11 ตัวอย่างเปลือกหอยเพ่ือการศึกษา หอยนางรมหนาม ที่มา: http://www.biogang.net/animal_view.php?uid=2296&id=99353 ถ่ายภาพโดย: นสุ ราสินี (2561) ชื่อสามญั ไทย: หอยนางรมหนาม ชอ่ื สามญั อังกฤษ: Thorny Oyster ชอ่ื วทิ ยาศาสตร:์ Spondylus sp. ลักษณะทว่ั ไป: หอยสองกาบท่ีมีเปลือกหนา กาบดา้ นซ้ายยึด ติดกับพ้นื อีกดา้ นหนงึ่ อา้ ปดิ เปิดได้ เปลอื กมีหนามลกั ษณะแบนแหลมคมยื่นออกมา และมีสสี ันแตกต่างกันได้แก่สม้ ขาว ขนาด: และมว่ ง ถน่ิ อาศยั : ความยาวเปลือกประมาณ 7 เซนติเมตร ทะเล พบมากบรเิ วณทะเลบางแสน รวบรวมขอ้ มูลโดย ครูนุสราสินี ณ พทั ลงุ วทิ ยาลัยเทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี

12 ตวั อย่างเปลอื กหอยเพ่ือการศึกษา หอยนมสาว ทมี่ า: https://www4.fisheries.go.th/local/file_document/20170427105828_file.PDF https://dictionary.sanook.com/search/dict-fish/หอยนมสาว ถา่ ยภาพโดย: นุสราสินี (2561) ชือ่ สามญั ไทย: หอยนมสาว ชอ่ื สามญั องั กฤษ: Maculated top ชื่อวทิ ยาศาสตร:์ Trochus maculatus Linnaeus,1758 ช่ือพอ้ ง: Tectus maculatus Linnaeus,1758 Trochus verrucosus Gmelin,1791 Family: Trochidae ช่ือไทยอนื่ ๆ: หอยอฐู ลักษณะทวั่ ไป: ลักษณะของหอยนมสาว เป็นหอยทรงกลมชนดิ หนึ่งท่มี รี ูปร่างลกั ษณะเหมือนกับ เจดีย์หรอื ถันของสตรเี พศดา้ นบนเปน็ ยอดด้านลา่ งเป็นฐาน ช่องปากเบ้ียวหรอื รี ถ่นิ อาศยั : ปกตแิ ล้วเปลือกจะมสี ีขาวปนดา แตเ่ ม่อื ขัดผวิ ออกจะพบสีพื้นแดงเรื่อ ๆ และมีลาย ดาจากยอดจนถงึ ปาก อาหาร: หอยนมสาวพบมากที่บริเวณเกาะคราม เกาะรัง เกาะสรุ นิ ทร์ เกาะสมิ ลิ ัน ตามแนว ขนาด: ปะการงั หอยนมสาวกินสาหรา่ ยขนาดเลก็ ทเ่ี กาะตามหิน เม่อื โตเตม็ ทส่ี ูงประมาณ 3-5 เซนตเิ มตร รวบรวมข้อมลู โดย ครนู สุ ราสินี ณ พัทลุง วิทยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี

13 ตวั อย่างเปลอื กหอยเพื่อการศึกษา หอยเทา้ ชา้ ง ชอ่ื สามญั ไทย: ที่มา: https://www.kaidee.com/product-132549983 ชื่อสามัญอังกฤษ: https://dictionary.sanook.com/search/dict-fish/ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร:์ ลกั ษณะท่ัวไป: ถ่ายภาพโดย: นสุ ราสินี (2561) ถิ่นอาศัย: หอยเท้าช้าง อาหาร: HORNED HELMET SHELL Cassis cornuta ขนาด: ลักษณะของหอยเท้าช้าง เป็นหอยเปลือกหนามีขนาดใหญ่ บริเวณขอบด้านในของ ช่องเปิดจะมีหินปูนจับเป็นแผ่นหนา ปากเป็นรูปสามเหลี่ยม ลาตัวมีรอยคว่ันขนาด ใหญ่ 3 รอย ส่วนท่ีเป็นสันของรอยคว่ันมีลักษณะโค้งคล้ายหวี ลาตัวส่วนบนเป็นสี ครมี อมชมพู บริเวณช่องเปิดมีสีน้าตาลแกมส้มและมฟี นั สีขาว แหลง่ ทพี่ บหอยเท้าช้างอย่ตู ามแนวปะการัง พบท้งั ในอ่าวไทยและฝง่ั ทะเลอันดามัน หอยเท้าช้างกินเม่นทะเล และปลาดาวหนาม วิธีการจับอาหารนั้น หอยเท้าช้างจะ ทาให้เม่นทะเลหยุดการเคล่ือนไหว โดยปล่อยสารที่ต่อมน้าลายสร้างข้ึนมา แล้ว พยายามเคล่ือนตัวใช้เปลือกท่ีหนาและหนัก ทับหนามและเปลือกของเม่นทะเลให้ หกั แล้วใช้งวงเข้าไปตรงเปลือกท่ีแตกของหอยเมน่ เพื่อดูดกนิ ประมาณ 18-35 เซนติเมตร รวบรวมขอ้ มลู โดย ครูนุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปตั ตานี

14 ตัวอยา่ งเปลือกหอยเพื่อการศึกษา หอยเงาะ ทมี่ า: https://dictionary.sanook.com/search/dict-fish/%E0%B8% ถา่ ยภาพโดย: นุสราสนิ ี (2561) ช่ือสามญั ไทย: หอยเงาะ ชอ่ื สามญั องั กฤษ: ROCK SHELL ช่ือวทิ ยาศาสตร:์ Chicoreus ramosus ลกั ษณะทวั่ ไป: ลกั ษณะของหอยเงาะ เปน็ หอยทรงกลม เปลอื กนอกตะปุ่มตะปา่ หวั กลม ค่อนขา้ ง เล็กมลี กั ษณะเป็นปุ่มแหลมและจะเรยี วลงไปจนถึงตอนหาง บริเวณตอนหลงั มหี นาม ถิ่นอาศยั : แยกเป็น 3 แฉก ขอบแยกอันริมสดุ มลี ักษณะเรยี ว แหลมและแขง็ แรง และยาวกว่า อาหาร: หนามอันอื่น เปลอื กดา้ นลา่ งมสี ขี าว ลาตวั ของหอยเป็นเนื้ออ่อนขดอยภู่ ายใน สีของ ขนาด: เปลอื กโดยทัว่ ไปเปน็ สีคล้า หรอื อาจปรับให้สีใกล้เคยี งกบั สภาพแวดลอ้ ม แหลง่ ทีพ่ บหอยเงาะอยู่ตามบริเวณขา้ งเกาะ โขดหนิ กลางทะเลซ่ึงมีพน้ื ใต้นาเป็นหิน ทราย และมีกล่มุ ปะการงั หอยเงาะกนิ หอยสองฝา ยาวท่สี ดุ ประมาณ 25 เซนตเิ มตร รวบรวมข้อมลู โดย ครูนสุ ราสนิ ี ณ พัทลงุ วิทยาลยั เทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

15 ตัวอยา่ งเปลือกหอยเพ่ือการศึกษา หอยทะนน ท่ีมา: https://www.sci.psu.ac.th/chm/biodiversity/mollusc_fam_Neritidae_007.html ถ่ายภาพโดย: นุสราสนิ ี (2561) ช่อื สามัญไทย: หอยทะนน ชอื่ สามญั องั กฤษ: Nerite ชอ่ื วทิ ยาศาสตร:์ Neritina sp. ช่อื วงศ:์ Neritidae ลกั ษณะ: หอยฝาเดียว ขนาด 15-25 มิลลิเมตร เปลอื กหนา รปู รา่ งกลมคลา้ ยหมวก ส่วนยอด ตื้น แบนลง วงสดุ ทา้ ยหรือวงท่ีตวั หอยอาศัยอยู่มขี นาดใหญ่ กลม ด้านนอกเปลือก นเิ วศวทิ ยา: เรยี บเป็นมนั แผน่ ปดิ เป็นหนิ ปนู และมีฟันอยู่ที่ขอบด้านในใชย้ ึดกับขอบช่องเปิด เปลือก อาหาร: หอยทะเล อาศยั บริเวณทรายปนโคลน ในเขตนา้ ขึน้ นา้ ลง เปลือกหนา เกบ็ ความช้นื ไดด้ ี มักพบตามซากใบไมใ้ นป่าชายเลน ขูดกนิ สาหรา่ ยขนาดเล็กเป็นอาหาร รวบรวมข้อมูลโดย ครูนุสราสินี ณ พัทลงุ วิทยาลยั เทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

16 ตัวอย่างเปลือกหอยเพื่อการศึกษา หอยเตา้ ปนู ลายงู ทม่ี า: https://www4.fisheries.go.th/local/file_document/20170427105828_file.PDF https://phuketaquarium.org/หอยเต้าปูนความงามทีอ่ ันตราย ถ่ายภาพโดย: นุสราสนิ ี (2561) ชื่อสามัญไทย: หอยเต้าปนู ลายงู ชอ่ื สามัญองั กฤษ: Episcopal Cone ชอ่ื วทิ ยาศาสตร:์ Conus episcopus Family: Conidae ลักษณะท่ัวไป: เปลือกค่อนข้างหนารูปทรงกระบอกยาว พื้นผิวมีลวดลายสีน้าตาลไหม้สลับขาว ปลายยอดเป็นรูปเจดีย์สามเหล่ียม ขนาดความยาวเปลือก ประมาณ 10 เซนติเมตร นับเป็นหอยท่ีมีพิษ หากคนโดนหอยเต้าปูนปล่อยพิษใส่อาจเป็นอันตรายถึงชีวิต รวบรวมขอ้ มูลโดย ครูนสุ ราสนิ ี ณ พทั ลุง วิทยาลัยเทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี

17 ตวั อย่างเปลือกหอยเพ่ือการศึกษา หอยเตา้ ปนู ลายสม้ ปากมว่ ง ทม่ี า: https://www4.fisheries.go.th/local/file_document/20170427105828_file.PDF https://phuketaquarium.org/หอยเตา้ ปูนลายส้ม ถา่ ยภาพโดย: นสุ ราสนิ ี (2561) ชื่อสามัญไทย: หอยเตา้ ปนู ลายส้ม ชอ่ื สามัญองั กฤษ: Tessellate Cone ช่อื วทิ ยาศาสตร:์ Conus tessulatus Family: Conidae ลกั ษณะทวั่ ไป: มีลักษณะเป็นกรวยแหลมมีลวดลายสวยสะดุดตา เป็นสัตว์ท่ีมีความสวยงามเหมือน หอยท่ัวไป เป็นหอยฝาเดียวท่ีมีพิษรุนแรงที่สุด ออกล่าเหย่ือตอนกลางคืน น่านน้า ไทยพบมากกว่า 300 ชนิด โดยจะอยู่ตามพ้ืนทะเล ใกล้แนวปะการังท่ีชายฝ่ังความ ลึกประมาณ 1-2 ฟุต หรอื อาจอยลู่ ึกเปน็ 10 ฟตุ รวบรวมข้อมูลโดย ครูนุสราสนิ ี ณ พัทลุง วิทยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี

18 ตัวอย่างเปลือกหอยเพ่ือการศึกษา หอยตาววั ทมี่ า: http://www.arri.chula.ac.th/Academic/karu_abstract/53-Poster/21_Poster_Panida.pdf ถา่ ยภาพโดย: นุสราสินี (2561) ชื่อสามัญไทย: หอยตาววั ชื่อสามญั อังกฤษ: turban shell ชื่อวทิ ยาศาสตร:์ Turbo bronrus Family: Turbinidae ลักษณะทว่ั ไป: เป็นสัตว์ทะเลที่พบบริเวณหาดหิน ในช่วงเวลาน้าลงมักจะซ่อนตัวอยู่ตามซอกหิน ลักษณะเปลือกหนาไม่เรียบสีน้าตาลดาหรือสีเขียวอ่อนๆ ซ่ึงขึ้นอยู่กับสภาพแหล่งท่ี ทีอ่ ยู่อาศยั : อยู่อาศัยและสารที่มาเคลอื บเปลือกไว้ มีลายประกายสีขาวทั่วเปลือก มีแนวเสน้ เป็น ขนาด: สันวนรอบเปลือกที่ชัดเจน รูปร่างคล้ายหอยขมแต่มีขนาดใหญ่กว่า ฝาปิดเปลือก อาหาร: หอยมลี กั ษณะเป็นก้อนแขง็ กลมๆสีเขยี วลอ้ มดว้ ยสีขาวมองดคู ลา้ ยลูกนยั น์ตาวัว อาศยั อย่ตู ามแนวปะการัง ยาวประมาณ 3-8 เซนติเมตร กนิ สาหรา่ ยและสารอินทรียเ์ ป็นอาหาร รวบรวมขอ้ มูลโดย ครูนสุ ราสินี ณ พทั ลุง วิทยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี

19 ตวั อย่างเปลือกหอยเพื่อการศึกษา หอยตะกาย ทมี่ า: https://www4.fisheries.go.th/local/file_document/20170427105828_file.PDF ถ่ายภาพโดย: นสุ ราสินี (2561) ชอื่ สามญั ไทย: หอยตะกาย ชอ่ื สามญั อังกฤษ: Tiger moon snail ชือ่ วทิ ยาศาสตร:์ Natica tigrina Family: Niticidae ลักษณะทวั่ ไป: เปลอื กหอยมีลักษณะเรยี บ มีลายจุดสีนา้ ตาลแตม้ ท่ีอย่อู าศยั : พบตามพื้นท้องทะเลที่เป็นทราย รวบรวมขอ้ มลู โดย ครูนสุ ราสินี ณ พทั ลุง วทิ ยาลยั เทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

20 ตวั อย่างเปลือกหอยเพ่ือการศึกษา หอยงวงชา้ ง ท่ีมา: https://th.wikipedia.org/wiki/หอยงวงช้าง ถา่ ยภาพโดย: นสุ ราสินี (2561) ชอ่ื สามัญไทย: หอยงวงช้าง ชอ่ื สามัญองั กฤษ: Pearly nautilus ชือ่ วทิ ยาศาสตร:์ Nautilus pompilius Family: Nuatilidae ลกั ษณะทวั่ ไป: มลี กั ษะเหมือนหมึกผสมกบั หอยฝาเดี่ยว เป็นสัตว์ทวี่ อ่ งไว ว่ายน้าได้ดี ตาไม่มคี อร์ เนยี และเลนส์ เป็นแอง่ บุม๋ จากลาตัวเข้ามา มีน้าทะเลเข้ามาอาบในช้ันเรตินาจึงรบั ขนาด: ภาพไม่ได้ เยือ่ แมนเทลิ มีกล้ามเนือ้ หนา มหี นวดท่ีมากถึง 63–94 เสน้ ซงึ่ มากกวา่ อาหาร: หมึกเสยี อีกและมีประสาทสมั ผสั ท่ีทาหน้าทเี่ หมือนเซนเซอร์สาหรับสมั ผสั และรับรู้ ความเคลื่อนไหวต่าง ๆ เช่น การหาอาหารและหลบหลกี ศตั รู หอยงวงช้าง เปน็ สตั ว์ ที่หากนิ ในเวลากลางคนื โดยในเวลากลางวนั จะหลบซอ่ นตัวอยู่ในท่ลี ึก เป็นหอยท่ี อาศยั อยู่ในน้าลกึ ประมาณ 400–600 เมตร และสามารถดานา้ ได้ลกึ ถึง 3 กโิ ลเมตร 10-25 เซนตเิ มตร อาหารที่ชอบกินได้แก่ ปลา, กุ้ง ทีว่ า่ ยนา้ อยู่ใกล้พน้ื ทะเล รวบรวมข้อมลู โดย ครูนสุ ราสนิ ี ณ พทั ลุง วทิ ยาลัยเทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี

21 ตวั อย่างเปลือกหอยเพ่ือการศึกษา หอยโขง่ เหลอื ง ทีม่ า: https://th.wikipedia.org/wiki/% https://www4.fisheries.go.th/local/file_document/20170427105842_file.PDF https://dictionary.sanook.com/search/dict-fish/หอยโขง่ เหลอื ง ถา่ ยภาพโดย: นสุ ราสินี (2561) ช่อื สามัญไทย: หอยโข่งเหลือง,หอยสังขท์ ะนาน ชอ่ื สามัญอังกฤษ: Indian volute ชือ่ วทิ ยาศาสตร:์ Melo melo Family: Volutidae ลกั ษณะทว่ั ไป: มเี ปลอื กทรงกลม ดา้ นปากจะยาวรี มีรอยเว้าเขา้ ด้านในและดา้ นท้ายกลมโค้งมาก เปลอื กมีสเี หลืองอมแดงมจี ดุ สีมว่ งดาอยปู่ ระปราย สว่ นเนื้อมสี ีดาอมม่วงแก่มเี สน้ อาหาร: ขวางอมเหลืองพาดอยู่ทั่วไป ถ่นิ อาศยั : กนิ หอยชนดิ อื่นทีม่ ีขนาดเลก็ รวมทง้ั เมน่ ทะเลและปลิงทะเล เป็นอาหาร พบกระจายพนั ธ์ทุ วั่ ไปในทะเลในภูมภิ าคเอเชยี อาคเนย์ เช่น พมา่ , ไทย ขนาด มาเลเซีย และทะเลจีนใต้ รวมถงึ ทะเลฟลิ ิปปนิ ส์ มกั พบในพ้ืนทะเลที่เปน็ โคลน หรอื โคลนปนทราย พบในบริเวณใกล้ชายฝงั่ เปน็ หอยทนี่ ิยมนาเน้อื มารบั ประทาน สว่ นเปลือกใชท้ าเครื่องประดับตา่ ง ๆ ความยาวเต็มทีป่ ระมาณ 25 เซนตเิ มตร รวบรวมข้อมูลโดย ครูนุสราสินี ณ พทั ลุง วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปตั ตานี

22 ตวั อย่างเปลือกหอยเพ่ือการศึกษา หอยโขง่ ทะเลเปลอื กบาง ท่ีมา: https://www4.fisheries.go.th/local/file_document/20170427105828_file.PDF ถา่ ยภาพโดย: นสุ ราสินี (2561) ชอ่ื สามญั ไทย: หอยโขง่ ทะเลเปลือกบาง ชอ่ื สามัญองั กฤษ: Spotted tun ชอ่ื วทิ ยาศาสตร:์ Tonna dolium (Linnaeus,1758) Family: Tonnidae ลักษณะทวั่ ไป: ลักษณะภายนอกเปลือกบางผิวไมเ่ รยี บมีลายแต้มสีน้าตาล ถิ่นอาศยั : อาศัยอยู่ตามพื้นท้องทะเลที่เปน็ ทรายละเอยี ดและมโี คลนปน รวบรวมข้อมลู โดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ วิทยาลัยเทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี

23 ตวั อยา่ งเปลือกหอยเพื่อการศึกษา หอยชกั ตนี ชอ่ื สามัญไทย: ท่ีมา: https://th.wikipedia.org/wiki/หอยชักตีน ชือ่ สามัญอังกฤษ: https://dictionary.sanook.com/search/dict-fish/ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร:์ Family: ถา่ ยภาพโดย: นสุ ราสินี (2561) ลักษณะทว่ั ไป: หอยชกั ตนี ขนาด: Wing shell อาหาร: Strombus canarium Strombidae ลักษณะของหอยชักตนี มีรูปร่างคล้ายผลสาล่เี ปลือกบางเรยี บและมสี ีขาว เหตทุ ่ี เรียกวา่ \"สังข\"์ กเ็ พราะมีลกั ษณะภายนอกคล้ายหอยสงั ข์ท่ีใช้รดน้าในงานมงคล สมรส แต่หอยชกั ตนี หรอื สังข์ มีขนาดเล็กกว่า มคี วามสูงระหวา่ ง 3.5–5 เซนตเิ มตร ขูดกนิ สาหร่ายและซากอินทรีย์สารตา่ ง ๆ เป็นอาหาร รวบรวมขอ้ มูลโดย ครนู ุสราสินี ณ พัทลงุ วิทยาลยั เทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

24 ตัวอย่างเปลอื กหอยเพื่อการศึกษา หอยมอื เสอื ที่มา: https://dictionary.sanook.com/search/dict-fish/หอยมอื เสอื ถ่ายภาพโดย: นสุ ราสินี (2561) ชอ่ื สามัญไทย: หอยมอื เสือ ชือ่ สามญั อังกฤษ: Giant clam ช่อื วทิ ยาศาสตร:์ Tridacna squamosa ลกั ษณะทว่ั ไป: ลักษณะของหอยมอื เสือ เปน็ หอยกาบชนิดหนึง่ ซ่งึ มลี กั ษณะเหมือนหอยกาบทั่วไป คือต้องอาศยั กลา้ มเนื้อในการปิดเปดิ ฝา มีเปลอื กหอยสองฝา สามารถอ้าแลว้ หบุ เข้า ขนาด: หากันได้ด้วยกาลังของกล้ามเน้อื ขนาดใหญ่ ฝาทัง้ สองดา้ นเปน็ สขี าวปนดา เกดิ จาก อาหาร: หินปูนหรอื ธาตแุ คลเซยี มในน้าทะเล สว่ นเน้ือซึ่งซ่อนอยู่ระหวา่ งเปลือกหอยน้ันจะ เป็นสีขาว เหลอื ง มว่ ง แดงปนดา สวยงามคล้ายกนั กับดอกไม้ทีอ่ ยู่ในนา้ หอยมือเสอื จะอา้ ปากเพ่ือกนิ อาหารอยู่ตลอดเวลา ใหญท่ ส่ี ดุ ของเปลือกมีความยาวกว่า 1 เมตร หนกั เปน็ จานวนรอ้ ย ๆ กิโลกรมั แต่ โดยปกติแลว้ ยาวประมาณ 40-50 เซนตเิ มตร หอยมือเสอื กนิ อนิ ทรีย์สาร แพลงกต์ อนพชื และอาศยั สารอาหารส่วนมากจาก สาหรา่ ยเซลล์เดยี วพวก Zooxanthalae ทอ่ี ยู่ในเซลแมนเทิลแบบ Symbiosis รวบรวมข้อมลู โดย ครูนุสราสินี ณ พัทลงุ วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี

25 ตัวอยา่ งเปลอื กหอยเพ่ือการศึกษา หอยจอบ ท่ีมา: http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=34&chap=5&page=t34-5-infodetail05.html ถ่ายภาพโดย: นสุ ราสนิ ี (2561) ชือ่ สามญั ไทย: หอยจอบ หรือหอยซองพลู ช่อื สามัญอังกฤษ: Flag pen shell ช่ือวทิ ยาศาสตร:์ Atrina vexillum (Born, 1778) ลักษณะทว่ั ไป: เปลือกรูปคลา้ ยสามเหลย่ี ม ด้านหนา้ แหลม และแผ่ขยายออกไปทางด้านท้าย บาน พับเปน็ แนวตรงยาว สขี องเปลอื กแตกตา่ งกันตามแต่ชนิด เชน่ สีน้าตาลอ่อน นา้ ตาล ถิ่นอาศยั : เขม้ เทา หรอื ดา เปลอื กอาจเรียบหรือมสี นั ตามความยาวของเปลือก ดา้ นในเปลือก มีชั้นมกุ บางๆ อาศัยตามพืน้ ทะเล บริเวณที่เป็นพนื้ อ่อน เชน่ ดนิ เลน โคลน และโคลนปนทราย ต้ังแต่ชายฝ่ังจนถึงระดบั ลึก ประมาณ ๕๐ เมตร รวมถึงแหลง่ หญ้าทะเล โดยใช้ ปลายด้านหนา้ ฝงั ลงไปในแนวตงั้ จนเกอื บมิด ย่ืนส่วนท้ายข้ึนมาเหนอื ผิวพืน้ เพียง เล็กน้อย ท่ีปลายดา้ นหนา้ มกี ระจกุ เส้นใยสีดาเหนียวชว่ ยยดึ กบั พน้ื ปกตหิ อยจะแง้ม เปลือกไวเ้ ลก็ น้อย เพ่ือใช้เปน็ ช่องทางเข้าออกของนา้ และอาหาร แพรกระจายใน นา่ นนา้ ไทย ระยอง เพชรบรุ ี ประจวบครี ีขันธ ปตตานี ภูเก็ต รวบรวมขอ้ มูลโดย ครนู สุ ราสินี ณ พทั ลุง วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปตั ตานี

26 ตัวอยา่ งเปลอื กหอยเพื่อการศึกษา หอยแครง ท่มี า: https://dictionary.sanook.com/search/dict-fish/หอยแครง ถ่ายภาพโดย: นสุ ราสินี (2561) ชอ่ื สามัญไทย: หอยแครง ช่อื สามัญอังกฤษ: COCKLE ชอื่ วทิ ยาศาสตร:์ Anadara granosa ลักษณะทว่ั ไป: ลักษณะของหอยแครง เปน็ หอยสองฝาลักษณะค่อนขา้ งกลม เปลือกหนา ด้านนอก ของเปลือกเป็นสนั โค้งด้านละ 20 สนั ด้านบนของสนั จะสงู แล้วลาดลงไปถงึ ฝาเปดิ ถิ่นอาศยั : ปดิ โดยปกติเปลือกมสี นี า้ ตาลอมดา แต่ถา้ หอยอยใู่ นบริเวณที่น้าตื้นและแห้งเสมอ ฝาด้านบนจะมีสีขาว ขนาด: พนื้ ท้องทะเลชายฝั่งตนื้ ๆ ท่ีเป็นโคลนหรอื โคลนเหลว พบมากท่ีชลบรุ ี เพชรบุรี อาหาร: สรุ าษฎรธ์ านี ปตั ตานี ความยาวประมาณ 6-7 เซนตเิ มตร หอยแครงกนิ ส่ิงมีชวี ิตเล็ก ๆ ในทะเล รวบรวมข้อมลู โดย ครนู ุสราสินี ณ พัทลุง วิทยาลัยเทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี

27 ตัวอย่างเปลอื กหอยเพ่ือการศึกษา หอยนางรม ท่มี า: https://th.wikipedia.org/wiki/หอยนางรม ถา่ ยภาพโดย: นสุ ราสนิ ี 2561 ชื่อสามัญไทย: หอยนางรม ชอ่ื สามัญองั กฤษ: Oyster ชอ่ื วทิ ยาศาสตร:์ Crassostrea belcheri ลกั ษณะทวั่ ไป: หอยนางรมเปน็ หอยทะเลกาบ2 ฝา มีกาบหนาแขง็ ซึ่งฝาทั้งสองมีขนาดไมเ่ ท่ากัน บางชนิดมีสีนา้ ตาลหรือสีเทา กาบบนจะใหญ่และแบนกวา่ กาบลา่ ง สว่ นกาบล่างที่มี ถน่ิ อาศยั : ลกั ษณะโคง้ เวา้ น้จี ะเปน็ ส่วนท่ีมีตัวหอยติดอยู่ พบโดยทวั่ ไปตามบริเวณน้าต้ืนชายฝั่งทะเล ปากแม่นา้ ลาคลองท่ีสรุ าษฎร์ธานี รวบรวมข้อมลู โดย ครนู สุ ราสินี ณ พัทลงุ วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี

28 ตัวอยา่ งเปลอื กหอยเพื่อการศึกษา หอยทบั ทมิ ที่มา: http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=34&chap=5&page=t34-5-infodetail04.html ถา่ ยภาพโดย: นุสราสนิ ี (2561) ชื่อสามัญไทย: หอยทบั ทิม ช่ือสามัญองั กฤษ: Button Top Shell ชื่อวทิ ยาศาสตร:์ Umbonium vestiarium (Linnaeus, 1758) Family: Cirridae ลักษณะทว่ั ไป: เปน็ เปลือกหอยขนาดเล็ก เปลือกค่อนข้างบางแต่ละตัวมีสีและลายแตกต่างกนั บาง ตัวมีลายเปน็ แถบ บางตัวมสี ีชมพูคลา้ ยสีทบั ทิม จึงเปน็ ทีม่ าของชือ่ หอยทบั ทิม ถิน่ อาศยั : อาศัยตามชายหาดท่เี ป็นทรายและทรายปนโคลน โดยฝงั ตัวอยูใ่ ตพ้ น้ื ในระดับทน่ี ้า ท่วมถึง เคยพบมากที่จังหวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ หาดพัทยา จงั หวัดชลบุรี สงขลา อาหาร: ปตั ตานี กนิ สารอินทรีย์และตะกอนตามพน้ื รวบรวมขอ้ มูลโดย ครูนสุ ราสินี ณ พทั ลุง วทิ ยาลัยเทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี

29 ตัวอย่างเปลอื กหอยเพื่อการศึกษา หอยสงั ข์ ทม่ี า: https://th.wikipedia.org/wiki/หอยสังข์ ถ่ายภาพโดย: นุสราสินี (2561) ช่อื สามญั ไทย: หอยสงั ข์ ชอ่ื สามญั องั กฤษ: Indian Chank ชอ่ื วทิ ยาศาสตร:์ Turbinella pyrum ลกั ษณะทว่ั ไป: เป็นหอยที่มีเปลือกหนาหนัก ชั้นนอกสุดมีสนี ้าตาล ถ่นิ อาศยั : พบในทะเลอนั ดามนั และอา่ วไทย อาหาร: กนิ สารอินทรีย์และตะกอนตามพื้น รวบรวมข้อมลู โดย ครูนุสราสินี ณ พทั ลงุ วทิ ยาลัยเทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี

30 ตัวอย่างเปลอื กหอยเพ่ือการศึกษา หอยแครงบดิ ทม่ี า: https://www.fisheries.go.th/marine/research/files/th/3_2553_% หอยทะเลสองฝาบริเวณจงั หวดั ระยอง ถา่ ยภาพโดย: นุสราสนิ ี (2561) ชื่อสามัญไทย: หอยแครงบิด ช่อื สามญั อังกฤษ: Propellor ark ชื่อวทิ ยาศาสตร:์ Trisidos tortuosa ลักษณะท่วั ไป: เปลือกหอยคลายรูปสเ่ี หล่ียมคางหมูฝาหอยทั้งสองฝามขี นาดไมเทากัน ฝาหอยซายมี ขนาดใหญกวาฝาหอยขวา โดยฝาหอยขวาซอนอยูบนฝาหอยซาย มีรอยบิดอยูบนฝา ถิ่นอาศยั : หอยทางดานทาย มากกวาทางดานหนา ฝาหอยซายมีรอยบิดมากกวาฝาหอยขวา ทางดานทายมีขนาดใหญและกวางกวาทางดานหน้ามาก มอี ัมโบโคงมาทางดานหนา ทาใหเปลือกหอยเปน inequilateral มี ligament แคบ ผิวเปลือกหอยภายนอกปก คลมุ ดวยเสนใยทีห่ นาคลายไหมสีนา้ ตาล เปนแบบ cancellate sculpture บานพับ ตรง มีฟน เล็กๆ เปนจานวนมากเรียงเปนระเบียบอยูบนบานพับ เปนแบบ taxodont teeth ผิวภายในฝาหอยเปนสีขาว ขอบผิวดานลางเรียบไมมีรอยหยัก มี รอยกลามเนอ้ื ยึดฝาทงั้ ดานหนาและดานทาย ชายฝงทะเลทเี่ ปนทราย แพรกระจายในนา่ นนา้ ไทย ระยอง เพชรบุรี ปตตานี รวบรวมขอ้ มลู โดย ครนู สุ ราสินี ณ พัทลุง วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

31 ตัวอย่างเปลือกหอยเพื่อการศึกษา หอยพดั ราชา ท่ีมา: http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/5-4/no22/hoy14.html http://www.biogang.net/animal_view.php?uid=19183&id=124331 ถ่ายภาพโดย: นุสราสนิ ี (2561) ชอ่ื สามญั ไทย: หอยพดั ราชา,หอยเชลล์ ชือ่ สามัญอังกฤษ: King Scallop ชื่อวทิ ยาศาสตร:์ Cryptopecten pallium ลกั ษณะทวั่ ไป: หอยชนิดนม้ี ลี วดลายและสสี ันสวยสดมรี ูปรา่ งคล้ายพดั และมขี นาดพอๆกับหอยพัด ธรรมดา แต่พืน้ ผวิ ค่อนข้างขรุขระมสี ีน้าตาลเข้มกวา่ ประกอบด้วยสันเปลอื ก ถิ่นอาศยั : พาดแทยงไปตามความยาวของลาตวั แตม้ ด้วยลวดลายสมี ว่ งแดงสลบั ขาวซง่ึ จะเหน็ ขนาด: ไดช้ ัดเจนบริเวณก้นหอย พบทั่วไปแถบชายฝง่ั มหาสมุทรอินเดีย พบตามพืน้ ทรายใกลแ้ นวปะการังทางดา้ นทะเลอันดามันหรือมหาสมุทรอนิ เดยี ขนาดโตเต็มทป่ี ระมาณ 7-8 เซนติเมตร รวบรวมข้อมูลโดย ครูนุสราสินี ณ พัทลงุ วิทยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี

32 ตัวอย่างเปลอื กหอยเพ่ือการศึกษา หอยแมลงภู่ ทมี่ า: https://www.fisheries.go.th/marine/research/files/th/3_2553_% หอยทะเลสองฝาบรเิ วณจงั หวัดระยอง ถา่ ยภาพโดย: นสุ ราสินี (2561) ช่ือสามัญไทย: หอยแมลงภู่ ช่อื สามญั องั กฤษ: Green mussel ช่อื วทิ ยาศาสตร:์ Perna viridis (Linnaeus, 1758) ลกั ษณะทว่ั ไป: เปลือกหอยเปนรูปไขพอง ฝาหอยทั้งสองฝามีขนาดเทากัน ทางดานหนามีชองเล็กๆ สาหรับให byssus โผลออกมา มีอัมโบอยูปลายสุดดานหนาทาใหเปลือกหอยเปน ถน่ิ อาศยั : inequilateral มีอัมโบอยูชิดกันมากทาใหเห็น ligament แคบเปนสีน้าตาลผิว เปลือกหอยภายนอกเรียบ เปนสีเขยี วเหลือบน้าตาล บริเวณทางดานลางลงมาเปนสี เขียวเปนแบบ concentric บานพับตรง มีฟนเล็กๆ 1 อัน (dysodont teeth) ผิว ภายในฝาหอยมีสีขาวเงาเหมือนมุก มีรอยของกลามเนื้อยึดฝาอยูท้ังดานหนาและ ดานทาย มี pallial line ไมมี pallial sinus ขอบดานในฝาหอยเรยี บไมมีรอยหยัก บริเวณทะเลที่เป็นโคลน แพร่กระจายในน่านน้าไทย ระยอง จันทบุรี ตราด สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช สงขลา ปตตานี ระนอง พังงา ภเู ก็ต ตรงั รวบรวมข้อมลู โดย ครูนสุ ราสินี ณ พัทลุง วิทยาลัยเทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี

33 ตวั อยา่ งเปลือกหอยเพ่ือการศึกษา หอยแครงปีกนกฮกู ท่มี า: https://www.fisheries.go.th/marine/research/files/th/3_2553_% หอยทะเลสองฝาบรเิ วณจงั หวดั ระยอง ถ่ายภาพโดย: นุสราสินี (2561) ชอ่ื สามัญไทย: หอยแครงปกนกฮูก ช่อื ท้องถน่ิ : หอยกีบมา ชื่อสามัญอังกฤษ: Indo-Pacific ark ชอื่ วทิ ยาศาสตร:์ Arca navicularis (Bruguiere, 1789) ลักษณะทว่ั ไป: เปลือกหอยคลายรูปสี่เหล่ียมคางหมู ฝาหอยทั้งสองฝามีขนาดไมเทากัน มีชองตื้น อยูบรเิ วณตรงกลางขอบดานลางสาหรับให byssus ย่นื ออกมา มอี ัมโบลักษณะ ถนิ่ อาศยั : เปนตะขอโคงมาทางดานหนา ทาใหเปลือกหอยเปน inequilateral ผิวเปลือกหอย ภายนอกมีขนปกคลุมคลายกามะหยี่สีน้าตาล เปนแบบ radial ribs มี 26 เสน บริเวณทางดานหนาและทางดานทายจะมีเสนใหญกวาบริเวณตรงกลางลาตัวหอย บานพับ ตรงและยาว ต้ังแตดานหนาถงึ ดานทาย มีฟนเลก็ ๆเปนจานวนมากเรยี ง เปนระเบยี บอยูบนบานพบั มลี กั ษณะ คลายหวเี ปนแบบ taxodont teeth ผิวภายในฝาหอยเปนสีขาวเหลือบสีสม มรี อยกลามเนอื้ ยดึ ฝาทง้ั ดานหนาและดาน ทาย มี pallial line ไมมี pallial sinus กองหิน แนวปะการงั แพรกระจายในนา่ นน้าไทย ระยอง เพชรบรุ ี ชุมพร สรุ าษฎรธานี ปตตานี ภเู ก็ต รวบรวมขอ้ มูลโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ วิทยาลัยเทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี

34 ตัวอย่างเปลือกหอยเพ่ือการศึกษา หอยรงั นก ทีม่ า: http://www.biogang.net/animal_view.php?uid=1528&id=96655 http://www.thaigoodview.com/node/216692 ถา่ ยภาพโดย: นุสราสนิ ี (2561) ชอ่ื สามญั ไทย: หอยรังนก ช่ือสามญั อังกฤษ: Fig shell ชอื่ วทิ ยาศาสตร:์ Ficus gracillis ลักษณะทว่ั ไป: หอยรังนกไดช้ อื่ มาจากการที่หอยมีทรงเปลือกคลา้ ยกับรงั นก เช่น รังของนก กระจาบ คือ มีทรงเปลือกป้อมดา้ นก้นหอย และเรียวคอดแคบเขา้ ทางสว่ นท้ายของ ถิ่นอาศยั : เปลอื ก ปากมีทรงกว้าง เนอื้ เทา้ มีขนาดใหญ่ หอยรงั นกเปลอื กบางเบาสีน้าตาลอ่อน อาหาร: พืน้ ผวิ มีสนั เล็ก ๆ จัดเรยี งตวั ตามขวาง ชอ่ งเปดิ ปากกวา้ งไปตามความยาวจดปลาย ขนาด: ปาก หอยรังนกส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในแนวนา้ ลกึ มักฝงั ตัวภายใตผ้ ืนทรายโดยพบมากใน แนวทรายปนเลน เปน็ หอยกนิ เนื้อ (Carnivorous) โดยจากการศึกษาพบวา่ หอยรงั นกกินสตั ว์ในกลมุ่ ปลิงทะเลเป็นอาหารหลัก โดยหอยรงั นกจะล่าปลิงทะเลกินท้ังเปน็ ยาวประมาณ 8 เซนติเมตร รวบรวมขอ้ มลู โดย ครนู สุ ราสินี ณ พัทลงุ วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี

35 ตัวอยา่ งเปลือกหอยเพื่อการศึกษา หอยไข่ ทมี่ า: www.google.com ถ่ายภาพโดย: นุสราสนิ ี (2561) ช่ือสามญั ไทย: หอยไข่ ชอื่ สามญั องั กฤษ: Dimidiate auger ช่อื วทิ ยาศาสตร:์ Terebra dimidiata ลักษณะทว่ั ไป: เป็นหอยทีม่ องผวิ เผินจะดูคลา้ ยกลุม่ หอยเบ้ีย แตไ่ ม่ไดจ้ ัดอยูใ่ น Family เดยี วกบั หอยเบยี้ ซง่ึ จากลักษณะภายนอกที่เหมอื นกันคือมักใชแ้ ผ่นเนื้อเยื่อ (mantle) คลุม ถ่นิ อาศยั : ตวั ไว้ตลอดเวลาทาให้เปลือกเรยี บเปน็ มันวาวเหมือนกนั อาหาร: พบอาศัยอยู่ตามพนื้ แนวปะการงั ทงั้ ในอา่ วไทยและฝ่งั ทะเลอนั ดามนั หอยไข่จะกินฟองนา้ เปน็ อาหาร รวบรวมขอ้ มลู โดย ครูนุสราสนิ ี ณ พทั ลุง วทิ ยาลัยเทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี

36 ตวั อยา่ งเปลอื กหอยเพ่ือการศึกษา หอยเจดยี ์ ที่มา: http://www.thaigoodview.com/node/216744 http://siamensis.org/node/3703 https://dictionary.sanook.com/search/dict-fis/หอยมวนพลู ถา่ ยภาพโดย: นสุ ราสินี (2561) ชื่อสามญั ไทย: หอยเจดยี ์หรือหอยมวนพลู ชอ่ื สามัญองั กฤษ: AUGER TERRITELLA ชื่อวทิ ยาศาสตร:์ Territella terebra (Linnae us, 1758) Family : Terebridae ลักษณะทว่ั ไป: เปลือกหอยเจดีย์มีทรงกรวยยาวบิดเป็นเกลียวกระชั้นจนแลดูเหมือนแท่งหนามทรง แหลม-ตรง การสร้างเปลือกแบบนี้มีที่มา จากแหล่งอาหารสาคัญ คือพวกหนอน ถิ่นอาศยั : ทะเลที่ฝังตัวอาศัยอยู่ใต้ผืนทราย เม่ือหอยต้องล่าเหย่ือในแหล่งอาศัยแบบนี้หอยจึง ปรับวิวัฒนาการ ของทรงเปลือกให้มีทรงเรียวยาวเพื่อสามารถมุดลงใต้แนวทรายได้ โดยมีแรงตา้ นน้อยที่สุด อาศัยอยใู่ นพ้ืนทรายที่มนี ้าไหลผ่านและอดุ มไปด้วยอาหารพวกหนอนทะเลและ หอยฝาเด่ียว หอยสองฝาเล็กๆ ตลอดชีวิตใชช้ ีวติ อยู่ใตผ้ ืนทราย หอยตระกลู นี้จึง วิวัฒนาการรปู ทรงเปลอื กใหเ้ รยี วยาวเพ่ือลดแรงเสียดทานในการ มดุ ตวั ลงผืนทราย รวบรวมขอ้ มลู โดย ครูนุสราสนิ ี ณ พัทลงุ วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

37 ตวั อยา่ งเปลอื กหอยเพื่อการศึกษา หอยตลับ ท่ีมา: https://www.fisheries.go.th/marine/research/files/th/3_2553_% หอยทะเลสองฝาบรเิ วณจงั หวดั ระยอง ถา่ ยภาพโดย: นสุ ราสินี (2561) ชอื่ สามญั ไทย: หอยตลับ ชื่อสามัญองั กฤษ: Luzon troughshell, Plan surf clam ชือ่ วทิ ยาศาสตร:์ Mactra mera (Reeve, 1854) ลกั ษณะทวั่ ไป: เปลือกหอยมรี ปู ทรงเปนรูปสามเหลีย่ มหนา ฝาหอยทงั้ สองฝามีขนาดเทากัน มีอัมโบ สีดาเดนอยเู ฉยี งมาทางดานหนาทาใหเปลอื กหอยเปน inequilateral ผิวเปลอื ก ถิ่นอาศยั : หอยภายนอกเปนสีนา้ ตาลเทาเปนแบบ concentric บานพบั มีฟนเปนแบบ heterodont teeth คอื มี cardinal teeth 3 อนั มี lateral teeth ขางละ 2 อนั ผิวภายในฝาหอยเปนสนี า้ ตาล มีรอยของกลามเน้ือยึดฝาท้ังดานหนาและดานทาย มี pallial line และ pallial sinus ขอบผวิ ดานลางเรยี บ ชายฝงทะเลท่ีเปนทราย แพรกระจายในน่านน้าไทย ระยอง ชุมพร รวบรวมขอ้ มูลโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พัทลุง วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปตั ตานี

38 ตัวอย่างเปลือกหอยเพื่อการศึกษา หอยมะเฟอื ง ที่มา:http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=34&chap=5&page=t34-5-infodetail04.html ถา่ ยภาพโดย: นสุ ราสินี (2561) ชื่อสามญั ไทย: หอยมะเฟืองหรือหอยพณิ ชอ่ื สามัญองั กฤษ: Harp shell ช่ือวทิ ยาศาสตร:์ Harpa articularis Family : Harpidae ลักษณะทว่ั ไป: เปลือกเปน็ มันวาวมีสันป้านจานวนมาก เรียงเปน็ แนวขนานกันตามความยาวเปลอื ก คล้ายกลีบมะเฟือง มสี แี ละลายสวยงาม มักมีพื้นเปน็ สนี ้าตาลออ่ น มีแถบสีนา้ ตาล ถิ่นอาศยั : เขม้ คาดอย่บู นสัน ระหวา่ งสนั มีลายเป็นเสน้ หยกั สีขาว ชอ่ งเปลอื กกวา้ ง ไม่มีแผ่นปดิ อาหาร: อาศัยโดยฝังตัวอยู่ใต้พ้ืนทราย ในระดับท่ีไมล่ ึกนัก อาหารส่วนใหญ่คือ ก้งุ และปูขนาดเลก็ และออกหาอาหารในเวลากลางคนื รวบรวมข้อมูลโดย ครนู สุ ราสินี ณ พัทลุง วิทยาลัยเทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี

39 ตัวอย่างเปลือกหอยเพื่อการศึกษา หอยกาบ ท่มี า: https://www.fisheries.go.th/if-center/web2/images/pdf/new6.pdf ถา่ ยภาพโดย: นุสราสินี (2561) ชื่อสามัญไทย: หอยกาบหรือหอยกาบกี้ ชอ่ื สามญั อังกฤษ: Steamers ชือ่ วทิ ยาศาสตร:์ Pilsbryoconcha lemeslei (Morelet, 1875) ลักษณะทว่ั ไป: เปลอื กยาว บอบบางและแบนขางมาก เปลอื กสีเขียวอมน้าตาล และจะเปลี่ยนเปนสี ดาเมื่ออายุมากข้นึ ไมมีฟนซูโดคารดินลั และไมมีฟนแลเทอรลั ถ่นิ อาศยั : ฝังตวั อย่ใู นโคลนใต้พืน้ ท้องนา้ รวบรวมขอ้ มูลโดย ครูนุสราสนิ ี ณ พทั ลุง วิทยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี

40 ตวั อย่างเปลอื กหอยเพ่ือการศึกษา หอยเบยี้ มว้ นทอง ทีม่ า: http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=34&chap=5&page=t34-5-infodetail04.html ถ่ายภาพโดย: นสุ ราสินี (2561) ชอ่ื สามัญไทย: หอยเบย้ี ม้วนทอง หอยกระดุม หรือหอยเม็ดขนุน ชอ่ื สามัญอังกฤษ: Olive shell ชอื่ วทิ ยาศาสตร:์ Oliva miniacea Family : Olividae ลักษณะทวั่ ไป: มเี ปลือกเปน็ รปู ทรงกระบอก ผวิ เปลือกเรยี บเปน็ เงามนั ยกเว้นช่องปากท่ีปรากฎ เป็นลอนเล็กน้อยแตล่ ะชนิดมีสีและลายสวยงาม แตกต่างกันไป ออกหาอาหารใน ถน่ิ อาศยั : เวลากลางคนื ตนี มีขนาดใหญ่จึงสามารถเคลื่อนท่ีไปตามพน้ื ได้ค่อนขา้ งรวดเร็ว หอย อาหาร: กระดุมมอี วัยวะรับกล่นิ ที่มีประสิทธภิ าพสูง สามารถได้กลน่ิ อาหารหรือกล่นิ ของศัตรู ท่อี ย่หู า่ งออกไปหลายเมตร หอยกระดุมอาศยั ตามชายฝัง่ ท่ีเป็นหาดทรายและทรายปนโคลน ในเวลากลางวันจะ ซ่อนตวั อยใู่ ต้พ้ืน แลว้ ยนื่ งวงข้ึนมาเหนอื พื้นเลก็ น้อย อาหารเปน็ สัตว์ท่ยี ังมชี ีวิตขนาดเลก็ เช่น หอยกาบคู่ กงุ้ ปู และซากสตั ว์ที่อยู่ตาม ชายหาดและพ้นื ทะเล รวบรวมข้อมูลโดย ครูนุสราสินี ณ พัทลงุ วทิ ยาลยั เทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

41 ตวั อย่างเปลือกหอยเพ่ือการศึกษา หอยกระจก ท่ีมา: https://www.fisheries.go.th/marine/research/files/th/3_2553_% หอยทะเลสองฝาบริเวณจงั หวดั ระยอง ถ่ายภาพโดย: นุสราสนิ ี (2561) ชื่อสามญั ไทย: หอยกระจก ชื่อสามญั องั กฤษ: Windowpane oyster ชอื่ วทิ ยาศาสตร:์ Placuna placenta (Linnaeus, 1758) ลักษณะทว่ั ไป: เปลือกหอยมีรูปรางกลม ลักษณะโปรงแสงเพียงคร่ึงหน่ึง ขอบผิวบางและหักงาย หอยทั้งสองฝามขี นาดเทากนั ระยะจากกึ่งกลางอมั โบลงมายังดานลางแบงฝาหอยทั้ง ถิ่นอาศัย: สองดานไมเทากัน ทาใหเปลือกหอยเปน inequilateral ผิวเปลือกหอยภายนอกมีสี น้าตาลออนใส ผิวเปนเกล็ดซอนกันเปนชั้นๆ (lamellae) เปนแบบ concentric มี ลายเสนเปนแบบ radial ทล่ี ะเอยี ดจานวนมาก บานพบั โคงตามรูป ฝาหอยมฟี น ขนาดใหญอยู 2 อันเปนรูปตัววี (V-shaped) ผิวภายในฝาหอยเงาเปนสีขาวออก น้าตาล มีรอยของกลามเนอ้ื ยึดฝาอยูตรงกลางเพียงอันเดียว ชายฝงทะเลที่เปนทราย แพรกระจายในน่านนา้ ไทย ชลบุรี ระยอง ตราด สุราษฎรธานี ปตตานี ภูเก็ต รวบรวมขอ้ มูลโดย ครนู ุสราสินี ณ พัทลุง วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

42 ตัวอยา่ งเปลอื กหอยเพื่อการศึกษา หอยกระโปรง ชอ่ื สามัญไทย: ที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Rapana_rapiformis ชื่อสามญั องั กฤษ: ถา่ ยภาพโดย: นุสราสินี (2561) ชอ่ื วทิ ยาศาสตร:์ Family: หอยกระโปรง ลกั ษณะทว่ั ไป: Turnip-shaped rapa Rapana rapiformis ขนาด: Muricidae ถน่ิ อาศยั : เปลอื กค่อนข้างบางเบา ช่องเปดิ เปลอื กกว้างมาก ยอดเปน็ มมุ ปา้ น ดา้ นนอกของ เปลอื กสีนา้ ตาลเหลือง และมีหนามเป็นปมุ่ ตามขอบของแนวเวียน ความยาวเปลือกประมาณ 6-8 เซนตเิ มตร แพรกระจายในน่านน้าไทย รวบรวมข้อมูลโดย ครูนุสราสินี ณ พทั ลุง วิทยาลัยเทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี

43 ตวั อย่างเปลอื กหอยเพ่ือการศึกษา หอยกระต่าย ทม่ี า:https://www4.fisheries.go.th/local/file_document/20170427105842_file.PDF ถ่ายภาพโดย: นุสราสนิ ี (2561) ชื่อสามญั ไทย: หอยกระตา่ ย ช่ือสามญั อังกฤษ: Gray bonet ชอ่ื วทิ ยาศาสตร:์ Phalium glaucum (Lineuas,1758) Family: Cassidae ลกั ษณะทว่ั ไป: เปลือกค่อนข้างบางเบา ยอดเปน็ มมุ แหลม ดา้ นนอกของเปลอื กสนี ้าตาลเหลอื ง และ มีหนามเปน็ ปุ่มตามขอบของแนวเวยี น ถ่ินอาศยั : พบตามพ้นื ท้องทะเลท่เี ปน็ ทราย รวบรวมขอ้ มลู โดย ครูนสุ ราสินี ณ พัทลุง วทิ ยาลัยเทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook