Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงานวิทยาศาสตร์

โครงงานวิทยาศาสตร์

Published by นุสราสินี ณ พัทลุง, 2019-12-21 03:35:01

Description: โครงงานวิทยาศาสตร์

Search

Read the Text Version

รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรอื่ ง ผลของการเสรมิ ขมิน้ ชันในอาหารตอ่ การ เจรญิ เติบโตและอัตราการรอดของปลาสอด (Xiphophorus hellerii ) โดย 1. นางสาวนูรีซัน อิบรอเฮง 2. นางสาวนัสเราะห์ มเี ลาะ 3. นางสาวปนดั ดา กโู น ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพช้นั สูง (ปวส.) ปีพุทธศกั ราช 2562 วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปตั ตานี อาชวี ศกึ ษาจงั หวดั ปัตตานี สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ผลของการเสริมขมน้ิ ชันในอาหารต่อการ เจรญิ เตบิ โตและอตั ราการรอดของปลาสอด (Xiphophorus hellerii ) โดย 1. นางสาวนรู ีซัน อิบรอเฮง 2. นางสาวนสั เราะห์ มีเลาะ 3. นางสาวปนดั ดา กูโน ครทู ีป่ รกึ ษา 1. นางสาวนุสราสนิ ี ณ พทั ลุง 2. นางสาวชวารี ชว่ ยนุกูล 3. นางธีริศรา คงคาลิมนี ท่ีปรึกษาพิเศษ นายปรีชา เวชศาสตร์ นายประวิทย์ ออ๋ งสวุ รรณ

(ก) ชื่อโครงงาน: ผลของการเสรมิ ขมิ้นชนั ในอาหารต่อการเจริญเตบิ โตและอตั ราการรอด ช่อื ผู้จัดทา: ของปลาสอด (Xiphophorus hellerii ) 1. นางสาวนูรซี ัน อิบรอเฮง ครทู ่ีปรึกษา: 2. นางสาวนัซเราะห์ มีเลาะ 3. นางสาวปนดั ดา กูโน ปที จ่ี ัดทาปีการศกึ ษา: 1. นางสาวนุสราสินี ณ พทั ลุง สถานศกึ ษา: 2. นางสาวชวารี ช่วยนกุ ลู 3. นางธรี ศิ รา คงคาลิมนี 2562 วิทยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี บทคดั ยอ่ ผลของการเสรมิ ขม้ินชันในอาหารต่อการเจริญเติบโตและอัตราการรอดของปลาสอด มี วตั ถุประสงค์เพื่อศกึ ษา ปรมิ าณขม้นิ ชนั ที่เหมาะสมต่อการเจรญิ เติบโตและอตั ราการรอดของปลาสอด มีการวางแผนการทดลองแบบสมุ่ ตลอด CRD ( Completely Randomized Design ) ในการทดลอง แบง่ ออกเป็น 4 ชดุ การทดลอง แต่ละชดุ การทดลองมี 3 ซ้า โดยชุดการทดลองท่ีศึกษามีดังน้ี ชุดการ ทดลองที่ 1 ทดลองเล้ยี งปลาสอดโดยใช้อาหารสา้ เรจ็ รปู ปลาสวยงามจา้ นวน 500 กรัม (ชุดควบคุม) ชดุ การทดลองที่ 2 ทดลองเล้ียงปลาสอดโดยใชอ้ าหารส้าเรจ็ รูปปลาสวยงามจ้านวน 500 กรัม ผสม ขม้ินชัน 0.5 กรัม ชดุ การทดลองท่ี 3 ทดลองเล้ียงปลาสอดโดยใช้อาหารสา้ เรจ็ รปู ปลาสวยงามจ้านวน 500 กรัม ผสมขม้ินชัน 1 กรัม ชุดการทดลองที่ 4 ทดลองเลยี้ งปลาสอดโดยใช้อาหารส้าเร็จรูปปลา สวยงามจา้ นวน 500 กรมั ผสมขม้ินชัน 1.5 กรัม ด้าเนินการทดลองในระหว่างวันท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ.2562 ถงึ วนั ที่ 30 มถิ นุ ายน พ.ศ.2562 ณ โรงเพาะฟักสตั วน์ ้าจืด วทิ ยาลัยเทคโนโลยีการเกษตร และประมงปัตตานี ผลจากการทดลองพบวา่ ผลของการเสริมขม้นิ ชันในอาหารตอ่ การเจริญเติบโตและอัตราการ รอดของปลาสอด พบว่าชดุ การทดลองที่ 2 มีความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและอัตราการรอด ของปลาสอดดที ี่สุด โดยการวดั การเจริญเตบิ โตทางดา้ นน้าหนักพบว่ามีน้าหนกั เฉลี่ย 15.30 กรัม วัด การเจริญเติบโตทางด้านความยาวมีความยาวเฉล่ีย 8.03 เซนติเมตร อตั ราการตายนอ้ ยทสี่ ุดมีค่าเฉล่ีย 1 ตวั รองลงมาชุดการทดลองที่ 4 มนี ้าหนักเฉล่ยี เทา่ กับ 13.67 กรัม วัดการเจริญเติบโตทางด้าน ความยาวมีความยาวเฉลี่ย 7.67 เซนติเมตร อตั ราการตายมคี า่ เฉลี่ย 1.66 ตัว รองลงมาชดุ การทดลอง ที่ 1 มนี า้ หนกั เฉล่ียเท่ากับ 11.50 กรมั วดั การเจรญิ เตบิ โตทางดา้ นความยาวมีความยาวเฉลี่ย 6.43

(ข) เซนติเมตร อัตราการตายมีคา่ เฉล่ยี 3 ตวั และชุดการทดลองท่ี 3 มีนา้ หนักเฉลี่ยเทา่ กับ 11 กรัม วัด การเจริญเติบโตทางด้านความยาวมคี วามยาวเฉลย่ี 5.67 เซนตเิ มตร อัตราการตายมีค่าเฉลี่ย 4 ตัว ตามลา้ ดับ ผลการวเิ คราะหท์ างสถติ เิ ม่ือเปรยี บเทียบพบว่าปริมาณของขมิ้นชันมีความแตกต่างกัน อย่างมนี ัยสา้ คัญทางสถติ ิ (P≤0.05) ดังนนั้ ชุดการทดลองท่ี 2 ทดลองเล้ยี งปลาสอดโดยใช้อาหารสา้ เรจ็ รูปปลาสวยงามจ้านวน 500 กรมั ผสมขมิ้นชนั 0.5 กรัม ปลาสอดมีการเจริญเติบโตและอัตราการรอดดีที่สุด โดยมีค่า นา้ หนักเฉลย่ี เทา่ กบั 15.30 กรัม วัดการเจริญเติบโตทางด้านความยาวมีความยาวเฉลี่ย 8. 03 เซนตเิ มตร อัตราการตายนอ้ ยท่สี ุดมีค่าเฉล่ีย 1 ตวั ค้าส้าคญั : ปลาสอด การเจริญเติบโต อัตราการรอด ขมน้ิ ชัน

(ค) กิตติกรรมประกาศ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ เรอื่ งศกึ ษาผลของการเสรมิ ขมน้ิ ชันในอาหารต่อการเจริญเติบโตและ อตั ราการรอดของปลาสอด (Xiphophorus hellerii ) สา้ เร็จลุล่วงไปได้ด้วยความเมตตาช่วยเหลือ อยา่ งดยี ่ิงจากทา่ นผอู้ ้านวยการ และรองผู้อ้านวยการทกุ ทา่ น ของวทิ ยาลยั เทคโนโลยีการเกษตรและ ประมงปตั ตานี รวมท้งั คณุ ครนู สุ ราสินี ณ พัทลุง คุณครูชวารี ชว่ ยนกุ ูล และคุณครูธีรศิ รา คงคาลิมีน ท่ีให้คา้ แนะนา้ และใหก้ ารสนบั สนุนการดา้ เนินการศกึ ษา อกี ทงั้ การจัดเตรียมสถานท่ี วัสดุ - อุปกรณ์ การวางแผนการด้าเนินงาน การเขียนรายงานผลการทดลอง และการจัดท้ารูปเล่ม รวมท้ังคณะครู วิทยาลยั เทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี ทกุ ทา่ นทไ่ี ด้ให้คา้ แนะนา้ และข้อคิดเห็นต่างๆ ของ การด้าเนนิ งานมาโดยตลอด การด้าเนนิ งานโครงงานวิทยาศาสตรค์ รง้ั น้ไี ดร้ ับการสนับสนุนเงินทุนจาก วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปตั ตานี จึงขอขอบพระคณุ ทุกๆ ทา่ นทไี่ ดส้ นับสนนุ การด้าเนินงาน และใหก้ ้าลงั ใจแกผ่ ู้จัดท้าโครงงาน เสมอมา จนกระทง่ั โครงงานครัง้ นส้ี า้ เร็จลลุ ว่ งไปได้ด้วยดี และความดอี นั เกิดจากการด้าเนินโครงงาน ครั้งนี้ ขอมอบแด่ บดิ า มารดา ครู อาจารย์ และผู้มพี ระคุณทกุ ท่าน นรู ซี ัน อิบรอเฮง นัสเราะห์ มเี ลาะ ปนดั ดา กูโน มถิ ุนายน 2562

สารบัญเนื้อหา (ง) เร่ือง หน้า บทคดั ย่อ (ก) กติ ตกิ รรมประกาศ (ค) สารบัญเนอื้ หา (ง) สารบัญตาราง (ฉ) สารบัญภาพ (ช) สารบญั ภาพภาคผนวก (ซ) บทท่ี1 บทน้า 1 ท่ีมาและความส้าคญั ของโครงงาน 1 จดุ มงุ่ หมายของการศกึ ษาคน้ ควา้ 1 สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า 2 ขอบเขตของการศึกษาคน้ ควา้ 2 ตัวแปร 3 นิยามเชงิ ปฏิบตั ิการ 4 บทท่ี 2 เอกสารทีเ่ กยี่ วข้อง 5 ปลาสอด 5 การจ้าแนกทางอนกุ รมวิธาน 6 การคดั เลือกพ่อแมพ่ นั ธ์ุ 6 บอ่ เพาะพนั ธุ์ 7 การเพาะพันธุ์ปลาสอด 8 การอนุบาลลูกปลาสอด 8 โรคท่เี กิดขนึ้ กบั ปลาสวยงาม 11 ขม้นิ ชนั 12 ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ 14 อาหารส้าเร็จรูปปลาสวยงาม 16 เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเก่ยี วข้อง

สารบญั เนอ้ื หา (ตอ่ ) (จ) เรอ่ื ง หน้า บทท่ี 3 อุปกรณ์และวธิ ีการศกึ ษาค้นควา้ 18 18 วสั ดุ-อุปกรณ์ 18 วิธดี า้ เนนิ การทดลอง 19 ขนั้ ตอนการทดลอง 20 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 20 การวิเคราะห์ขอ้ มูล 20 สถานทที่ า้ การทดลอง 21 บทท่ี 4 ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ 26 บทที่ 5 สรปุ และอภิปรายผลการศกึ ษาค้นคว้า 26 สรุปผล 26 อภิปรายผล 27 ประโยชน์ 27 ขอ้ เสนอแนะ 28 เอกสารอ้างอิง 29 ภาคผนวก

(ฉ) สารบัญตาราง หนา้ ตารางที่ 21 22 1 นา้ หนักของปลาสอดเมื่อท้าการทดลองครบ 8 สัปดาห์ 24 2 ความยาวเฉลย่ี ของปลาสอดเมอื่ ทา้ การทดลองครบ 8 สัปดาห์ 3 แสดงอัตราการตายของปลาสอดเม่ือท้าการทดลองครบ 8 สัปดาห์ ตารางผนวกที่ 42 1 ผลการวิเคราะห์ทางสถติ ิการเจริญเตบิ โตดา้ นนา้ หนกั 44 2 ผลการวิเคราะห์ทางสถิติการเจรญิ เตบิ โตดา้ นความยาว

(ช) สารบญั ภาพ หนา้ 5 ภาพที่ 11 1 แสดงลักษณะปลาสอด 14 2 ขม้นิ ชัน 19 3 อาหารสา้ เร็จรปู ยี่ห้อOPTIMUM 4 แผนการทดลองแบบสุม่ ตลอด(Completely Randomize Design:CRD)

สารบัญภาพภาคผนวก (ซ) ภาพภาคผนวกท่ี หนา้ 1 กระถางทใ่ี ช้สา้ หรับการทดลอง 30 2 เครือ่ งชงั่ ดจิ ิตอล 30 3 ถาดอลูมิเนียม 31 4 เครื่องปัน่ 31 5 แท่งแกว้ 32 6 บ้กิ เกอร์ขนาด 1000 ml 32 7 ชอ้ นตกั สาร 33 8 เตาอบไมโครเวฟ 33 9 อาหารสา้ เรจ็ รปู ปลาสวยงาม 34 10 ขมน้ิ ชัน 34 11 อบขม้ินชนั 35 12 ชง่ั น้าหนักอาหารปลาสวยงาม 35 13 ช่ังนา้ หนักขม้ินชัน 36 14 อาหารและผงขมน้ิ ชนั ส้าหรับน้าไปป่ัน 36 15 ปั่นอาหารและผงขมน้ิ ชัน 37 16 น้าอาหารทป่ี ่ันเสร็จแลว้ ผึง่ ลมใหแ้ ห้ง 37 17 บรรจอุ าหารใส่ถงุ ตามชดุ การทดลอง 38 18 เตรยี มชุดการทดลอง 38 19 ปล่อยปลาสอดตามชุดการทดลอง 39 20 ให้อาหารปลาตามชดุ การทดลอง 39 21 ครูทป่ี รกึ ษานิเทศและให้คา้ ปรึกษา 40 22 เก็บข้อมลู วดั การเจรญิ เตบิ โตโดยการช่งั น้าหนกั 40 23 เก็บขอ้ มลู วัดการเจรญิ เตบิ โตโดยการวดั ความยาว 41 24 ผู้ทา้ โครงงาน 41

บทท่ี 1 บทนา ทมี่ าและความสาคญั ของโครงงาน ปลาสอดมีแหล่งก้าเนิดอยใู่ นทวีปอเมรกิ ากลาง ประเทศเมก็ ซิโก ในธรรมชาตชิ อบอาศัยอยู่ในแหล่งน้า จืดหรือนา้ กร่อยทีม่ นี า้ ไหลแรง น้าค่อนข้างใสโดยเฉพาะในล้าธารต้ืนๆ บริเวณท่ีมีพรรณไม้น้าขึ้น ประปรายจะพบปลาชนิดน้อี าศัยอยูม่ าก ปลาสอดเปน็ ปลาสวยงามชนิดหน่ึง ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง และจะแยกตัวในช่วงฤดูการผสมพนั ธ์ุ ปลาสอดเป็นปลาทมี่ สี นั สวยงาม เป็นปลาท่ีนิยมเล้ียงกันอย่าง แพร่หลายเน่อื งจากปลาสอดเป็นปลาที่เล้ียงงา่ ย เหมาะกับการเพาะเลย้ี งปลาสวยงามของนักเลี้ยงปลา มอื ใหม่ แต่ในการเลี้ยงปลาสอดมักจะพบปัญหาด้านการเจริญเติบโต เน่ืองจากปลาสอดมีการ เจรญิ เตบิ โตทีไ่ ม่เท่ากนั และตามรายงานมีการรายงานว่า ขมิ้นชนั มีผลตอ่ การเจริญเติบโตของสัตว์น้า และปลาสวยงามตลอดจนสามารถช่วยปอู งกันโรคได้ จึงเป็นเหตจุ ูงใจให้กลุ่มของขา้ พเจา้ คดิ ท้าโครงงานวิทยาศาสตร์ ศึกษาผลของการเสริมขม้ินชันใน อาหารในปริมาณท่เี หมาะสมต่อการเจรญิ เติบโตของปลาสอดเพ่ือจะเป็นประโยชน์ต่อการเพาะเล้ียง ปลาสวยงามและสามารถเผยแพร่ความร้ทู ี่ได้จากการศึกษาใหก้ บั ผทู้ ี่สนใจที่จะเล้ียงปลาสวยงามได้ จุดมงุ่ หมายของการศกึ ษาคน้ คว้า เพอ่ื ศึกษาปรมิ าณขมน้ิ ชนั ทเี่ หมาะสมต่อการเจรญิ เตบิ โตและอัตราการรอดของปลาสอด สมมติฐานของการศกึ ษาค้นคว้า ขมิ้นชนั มีผลต่อการเจริญเติบโตและอัตราการรอดของปลาสอด

กรอบแนวคิดและตวั แปรที่เกี่ยวขอ้ งในโครงงาน การทดลองครั้งน้ีผศู้ กึ ษาได้ด้าเนนิ การศึกษาปรมิ าณขม้นิ ชันที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และอัตราการรอดของปลาสอด โดยมภี าพแสดงกรอบแนวคิดการทดลองดังนี้ ตวั แปรต้น ตัวแปรตาม สง่ิ ทดลองท่ี1 การเจริญเติบโตและ สง่ิ ทดลองท่ี 2 อตั รารอดของปลาสอด สิ่งทดลองที่ 3 สิ่งทดลองที่4 ขอบเขตของการศึกษาคน้ คว้า 1. รูปแบบของการศกึ ษา การศกึ ษาครง้ั น้ีเปน็ การวิจยั ทดลอง (Experimental research) 2. กลุ่มตวั อยา่ ง ปลาสอด 3. ตัวแปรที่ศึกษา - ตัวแปรตน้ ( Independent variable) ได้แก่ ขมนิ้ ชัน - ตวั แปรตาม (Dependent variable) ไดแ้ ก่ การเจริญเติบโตและอตั รารอดของปลาสอด - ตวั แปรควบคมุ (Controlled Variable) ไดแ้ ก่ พันธ์ปุ ลาสอด อายปุ ลาสอด น้าหนักและเพศปลาสอด จา้ นวนของปลาสอด ปรมิ าณขม้ินชนั ปริมาณอาหาร ขนาดของกระถางที่ใช้ ทดลอง ปรมิ าตรน้า 4. พื้นทีก่ ารวจิ ัย บริเวณโรงเพาะฟักสัตวน์ ้าจืด วทิ ยาลัยเทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี หม2ู่ ต้าบลบางตาวา อา้ เภอหนองจกิ จังหวดั ปัตตานี 94170

นิยามเชิงปฏบิ ัติการ 1. ปลา สอดหา งดาบ หมา ยถึง ปลา น้า จืดขนา ดเล็กสกุลหน่ึง ใน อัน ดับปลา ออกลูกเป็น ตวั (Cyprinodontiformes) ในวงศ์ปลาสอด (Poeciliidae) ใช้ช่ือสกุลว่า Xiphophorus จัดอยู่ใน วงศ์ย่อย Poeciliinae นับเป็นปลาสกุลหนึ่งเช่นเดียวกับสกุล Poecilia ที่นิยมเล้ียงกันเป็นปลา สวยงาม 2. อาหารเม็ด หมายถงึ อาหารส้าเรจ็ รูปที่ใช้เล้ียงปลาสวยงามทม่ี ีจ้าหน่ายในท้องตลาด 3. ขมิน้ ชนั หมายถงึ ไม้ลม้ ลกุ มีเหง้าใต้ดิน เนื้อในสีเหลืองอมส้ม มีกลิ่นหอม ตามหลักฐานทาง สมนุ ไพร เราจะใชเ้ หง้าใต้ดนิ บดเป็นผง รักษาแผล แมลงกดั ตอ่ ย กลากเกล้ือน ปูองกันและรักษาแผล ในกระเพา ะอา หา ร และ รักษาอาการท้องเสีย โดยสารส้าคัญของขม้ินชันท่ีเป็น สาร ออก ฤทธิ์ คอื curcumin 4. อตั ราการเจริญเตบิ โต หมายถงึ ค่าอตั ราการเปล่ียนอาหารเป็นเนื้อก่อนการทดลองและหลังการ ทดลอง โดยการวดั ความยาวและชงั่ น้าหนักเมื่อทา้ การทดลองครบ 8 สปั ดาห์ 5. อตั ราการรอดตาย หมายถงึ สัดสว่ นท่ปี ลาสอดจา้ นวน 10 ตัวต่อกระถางทเี่ ล้ยี ง ทป่ี ล่อยลงเล้ียงใน แตล่ ะชุดการทดลอง มจี า้ นวนอตั ราการรอดตายสูงเมอ่ื ส้ินสุดการทดลอง ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ 1. ทา้ ใหท้ ราบปริมาณขม้ินชันท่ีเหมาะสมตอ่ การเจริญเติบโตและอัตราการรอดของปลาสอด 2. สามารถน้าขมิน้ ชนั ไปทดลองกับปลาชนดิ อืน่ ๆได้ 3. เพ่อื น้าขอ้ มลู จากการวิจยั ไปเผยแพรส่ ูเ่ กษตรกร ชมุ ชน และผ้ทู ่ีสนใจ สามารถน้าไปทดลองใช้กับ ปลาสวยงามชนิดอน่ื ได้ 4. ชว่ ยลดคา่ ใช้จ่ายสามารถนา้ พืชสมุนไพรราคาถกู ที่มีในพ้นื ทีม่ าใช้ให้เกิดประโยชน์

บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี กี่ยวขอ้ ง การศกึ ษาวจิ ยั เร่อื งผลของการเสรมิ ขมิ้นชันในอาหารตอ่ การเจริญเติบโตและอตั ราการรอดของปลา สอด (Xiphophorus hellerii ) ซงึ่ การศึกษาในคร้งั นีผ้ ู้วจิ ยั ได้ท้าการศกึ ษาเอกสารและงานวิจัยที่ เกี่ยวขอ้ งกับเรอื่ งที่ทา้ การวิจยั ดังน้ี 1. ปลาสอด 2. การจ้าแนกทางอนุกรมวธิ าน 3. การคัดเลือกพ่อแม่พนั ธ์ุ 4. การเพาะพนั ธุ์ 5. การอนบุ าลปลาสอด 6. โรคทเ่ี กดิ กับปลาสวยงาม 7. ขม้นิ ชนั 8. ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ 9. อาหารส้าเร็จรูปปลาสวยงาม 10. เอกสารและงานวิจัยทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง

ภาพท่ี1 ลักษณะของปลาสอดหางดาบ ทีม่ า: https://www.google.co.th/search? การจาแนกทางอนุกรมวิธาน Heckel, 1848 ไดจ้ ัดลา้ ดับชั้นของปลาสอดไว้ดังน้ี Phylum: Chordata Class: Actinopterygii Order: Cyprinodontiformes Family: Poeciliidae Genus: Xiphophorus Species: Xiphophorus hellerii ชอ่ื สามัญไทย: ปลาสอด ชือ่ สามัญองั กฤษ: Swordtail ชอื่ วทิ ยาศาสตร:์ Xiphophorus hellerii ช่ือพอ้ งคอื : Mollinesia hellerii มีแหลง่ กา้ เนดิ อยใู่ นทวปี อเมรกิ ากลาง ประเทศเมก็ ซิโก ในธรรมชาตชิ อบอาศัยอยู่ในแหล่งน้าจืดหรือ นา้ กรอ่ ยทม่ี ีน้าไหลแรง นา้ คอ่ นขา้ งใสโดยเฉพาะในล้าธารตื้นๆ บริเวณที่มีพรรณไมน้ ้าขึ้นประปรายจะ พบปลาชนดิ น้ีอาศยั อยูม่ าก ปลาในธรรมชาตจิ ะมีตวั สเี งินอมเขยี วบริเวณหลังสีเขียวอ่อน ส่วนท้องสี ขาวหรือสเี งิน ลา้ ตัวมลี กั ษณะยาวเรยี ว แบนข้างเล็กนอ้ ย บรเิ วณดา้ นข้างล้าตัวมีแถบสีแดงทอดยาว ขนานกันไปกบั ล้าตัว สีของปลาเพศผู้และเพศเมียจะไม่แตกต่างกัน แต่มีลักษณะที่สังเกตความ แตกตา่ งระหว่างเพศผแู้ ละเพศเมียไดช้ ัดเจน นอกเหนอื จากโกโนโพเดียม คือปลาเพศผู้จะมีขอบล่าง ของครบี หางยื่นออกไปเปน็ รูปคล้ายดาบ และบรเิ วณดา้ นลา่ งของสว่ นที่ยืน่ ยาวออกไปน้ีจะมีแถบยาว สดี ้าทอดไปตลอดความยาวอกี ด้วย ขนาดปลาเพศผูท้ ่ีโตเตม็ ทีย่ าวประมาณ 10 เซนติเมตร ส่วนปลา

เพศเมียยาวประมาณ 12 เซนติเมตร ชอบอาศัยในน้าท่ีมีสมบัติเป็นด่างเล็กน้อย ( pH 7.0-7.5 ) อณุ หภูมนิ า้ ประมาณ 20 ถึง 26 องศาเซลเซียส สามารถทนต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติของน้าได้ดี เป็นปลาท่กี นิ อาหารไดท้ กุ ชนดิ (omnivorous) แตใ่ นธรรมชาตชิ อบกินสัตว์น้าที่มีขนาดเล็กมากกว่า อาหารชนิดอ่นื ๆ ปลาสอดหรือปลาหางดาบน้มี ีผูน้ ้าปลามาจากธรรมชาติมาเล้ียงเป็นปลาสวยงาม ในปี พ.ศ.2452 เป็น ปลาทีเ่ ล้ยี งง่าย เจรญิ เตบิ โตเร็ว เพาะพันธุ์ได้งา่ ยท้าให้มนี กั เพาะเลี้ยงพยายามคัดพันธุ์จนได้สายพันธุ์ ใหมๆ่ ข้ึนมาหลายสายพันธ์ุเชน่ กนั แม้วา่ จะมีสีสนั และลวดลายไม่มากสีเท่ากับปลาหางนกยูง แต่ก็ ได้รับความนยิ มไม่นอ้ ยเช่นกนั ปัจจุบันปลาธรรมชาติหาดูได้ยาก ปลาท่ีซื้อขายกันเป็นปลาที่ได้จาก การคัดพันธ์ทุ งั้ สิน้ การคดั เลอื กพอ่ แม่พันธ์ุ การดูอวัยวะเพศปลาสอดแดงทั้งตัวผู้ และตวั เมีย คอื ปลาตวั ผู้ลา้ ตวั คอ่ นขา้ งแบน ปลายหาง เรียวยาว ยืน่ ออกมาเรียกว่าหางดาบ (swardtail) ส่วนครบี ก้นมีลักษณะพุ่งแหลมชี้ขนานไปตามแนว ลา้ ตวั เปน็ อวยั วะส้าหรบั ผสมพนั ธ์ุเรียกว่า gonopodium ปลาตัวเมียขนาดล้าตัวปูอมส้ันกว่าตัวผู้ โดยเฉพาะบริเวณท้องขยายกวา้ งใหญ่ สว่ นครบี หาง และ ครีบก้นโค้งมน ไม่พุ่งแหลมเหมือนกับ ตัวผู้ ลกั ษณะทสี่ า้ คญั ของปลาสอดท่ีผดิ แปลกไม่เหมือนกับปลาบางประเภท คือ ตัวเมียบางตัวสามารถ แปลงเพศเป็นตัวผไู้ ด้ท้ังนกี้ ข็ ้นึ อย่กู บั สภาวะแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมบางประการด้วย แต่ตัวผู้ไม่สามารถ แปลงเพศได้เหมอื นตัวเมยี ผูเ้ พาะพนั ธุค์ วรคดั พ่อแม่พันธุ์ท่ีมรี ูปรา่ งสมบูรณแ์ ข็งแรง สสี นั สดใสไม่มีสีอื่นๆ มาแทรก ซึ่ง ทา้ ให้เกิดต้าหนริ อยด่าง ควรเลือกพอ่ แมพ่ ันธุ์ทีม่ ีลา้ ตวั ใหญ่ ครบี หาง ครบี อก ฯลฯ ไม่ฉีกขาด และไม่ ควรนา้ ปลาทีอ่ ยู่ในคอกเดียวกันมาผสม เพราะทา้ ใหล้ ูกปลาทีเ่ กิดใหม่มสี ายเลือดชดิ เกินไป บ่อเพาะพันธ์ุ โดยปกตแิ ลว้ ในบอ่ เพาะพนั ธจุ์ ะตอ้ งมีการจดั เตรยี มสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมโดยใส่พืชน้า เชน่ สาหร่ายหรอื ใบตอง แตก่ ารใช้ใบตองเปน็ ที่หลบซอ่ น ตอ้ งเปลี่ยนใบใหมท่ ุกๆ 7 วนั เพราะถ้านาน กวา่ นจ้ี ะทา้ ให้ใบตองเน่า และทา้ ให้น้าในบ่อเพาะเน่าเสยี ตามมา ส่วนอุณหภูมิน้าควรอยู่ระหว่าง 24 ถงึ 28 องศาเซลเซียส ถา้ มกี ารเปล่ียนแปลงอณุ หภูมิระหว่างการเล้ียงรวดเร็วเกินไป จะท้าให้ปลา อ่อนแอและเปน็ โรคได้

การเพาะพนั ธ์ุปลาสอด หลังจากคดั เพศปลาสอดเรียบรอ้ ยแล้วควรทา้ การเล้ียงปลาสอดแบบแยกเพศ เพื่อเป็นการ ปูองกันการผสมพันธุข์ องปลาในสายพนั ธ์ุทไ่ี มต่ อ้ งการ หรือเปน็ การปอู งกันการผสมเลือดชิด และยัง เปน็ การปลอ่ ยให้ปลาท่ถี ูกคดั เลอื กเปน็ พ่อแม่พันธไ์ุ ด้มโี อกาสเจริญเติบโตได้เต็มท่ี หลังจากนั้นก็ท้า การคัดเลอื กพ่อแมพ่ นั ธุป์ ลาใหไ้ ด้ลักษณะลวดลายและสสี ันตามทีต่ อ้ งการของแต่ละสายพันธุ์ โดยน้า ปลาเพศผแู้ ละปลาเพศเมยี ที่มคี วามสมบรู ณ์ มอี ายปุ ระมาณ 5 ถงึ 6 เดอื น มาปล่อยในบ่อเพาะพันธ์ุ ในอตั ราสว่ นเพศผู้ต่อเพศเมยี 1 ต่อ 2 หรือ 1 ตอ่ 3 ขนึ้ อยกู่ บั ความสมบูรณ์และปริมาณน้าเชื้อของ เพศผู้ ในบ่อทีม่ ีพ้นื ที่ 4 ตารางเมตร การปลอ่ ยปลาสอดประมาณ 15 ตัว (เพศผู้ 50 ต่อเพศ เมีย 100 ตัว) ซ่งึ เม่อื ปล่อยปลารวมกันปลาเพศผู้จะว่ายน้าไลเ่ พศเมยี โดยจะวา่ ยน้าไปบริเวณท้องของเพศเมีย และจะใชโ้ กโนโพเดยี ม สอดเขา้ ไปในช่องเพศของปลาเพศเมีย และปลอ่ ยน้าเช้ือเข้าไปในท่อน้าไข่ ซึ่ง ในปลาเพศเมยี บางสายพันธุ์ทไี่ มม่ ีสสี นั เข้มหรือลวดลายตรงช่วงทอ้ งจะสามารถมองเห็นส่วนล่างของ ท้องเปน็ สีดา้ ซ่ึงแสดงวา่ ไขไ่ ดร้ บั การพัฒนาเปน็ ตัวอ่อนแลว้ และจะพัฒนาไปเรอ่ื ยๆ จนออกลูกเป็นตัว ในช่วงทีเ่ พศเมยี ได้รับการผสมพันธจุ์ นถงึ ออกลูกจะใช้เวลาประมาณ 24 ถึง 30 วัน หลังจากลูกปลา ออกมาแลว้ ก็จะเริ่มวา่ ยนา้ และเรม่ิ หาอาหาร แต่เน่ืองจากขนาดของลกู ปลามีขนาดเล็กมากอาจท้าให้ เปน็ เหย่อื ของแม่ปลาได้จงึ ควรใช้ตะกรา้ พลาสตกิ ลอยน้าหรือใช้พรรณไม้น้า เช่น พวกสาหร่ายหรือ ใบตอง โดยฉกี ใบตองออกให้เปน็ เสน้ ๆ วางไว้บริเวณผวิ น้า เพือ่ ใหล้ ูกปลาสามารถเข้าไปหลบซ่อนเป็น ทีก่ ้าบงั ไม่ใหถ้ กู แม่ปลากนิ ซงึ่ การจัดการในบ่อเพาะพันธ์ุในลักษณะดังกล่าวก็จะคล้าย กับปลาหาง นกยูง หลงั จากแมป่ ลาออกลกู เปน็ ตัวแล้วตักลูกปลาแยกไปอนบุ าลในบ่อใหม่ จากนั้นแม่ปลาก็จะให้ ลกู ครอกต่อไปอกี ถงึ แมว้ ่าจะไม่ได้รับการผสมพันธ์ุ หรือผเู้ ล้ยี งบางท่านอาจจะน้าปลาเพศผู้สายพันธุ์ ใหมม่ าผสมกับเพศเมยี ตัวเดมิ กไ็ ด้ แต่ลกู ทีไ่ ดอ้ าจจะไม่มีลักษณะตามที่ต้องการทั้งครอก เพราะลูก ปลาอาจมีลักษณะของเพศผตู้ วั แรกและเพศผู้ตัวทีส่ อง แมป่ ลาแต่ละตัวจะให้ลูกประมาณ 20 ถึง 80 ตัวตอ่ คร้งั ปรมิ าณของลูกปลาจะขึน้ กบั ขนาดและอายุของแมป่ ลา ลูกปลาเมอื่ แรกเกดิ จะมีขนาดความ ยาว 0.6 เซนตเิ มตร ลูกปลาสอดจะเจริญเตบิ โต จนถงึ วัยเจริญพนั ธ์ุและพรอ้ มที่จะผสมพันธุ์ได้ภายใน 4 ถงึ 6 เดอื น ซ่งึ ช่วงน้ลี ักษณะของครีบหางของปลาเพศผู้และเพศเมียจะแตกต่างกัน ซ่ึงเป็นผลจาก ฮอรโ์ มนเพศ มีข้อที่นา่ สนใจของการพฒั นาการเจรญิ เตบิ โตของปลาสอดคือ ถ้าลูกปลาเพศผู้ท่ีมีการ พัฒนาลกั ษณะทางเพศเร็วคือ ใช้ระยะเวลานอ้ ยในการพัฒนาอวัยวะสืบพันธ์ุ คือมีโกโนโพเดียมและ ครีบหางตอนล่างพัฒนายืน่ ยาวออกไปเร็วจะมอี ตั ราการเจรญิ เตบิ โตช้ากว่าลูกปลาเพศผู้ที่มีการพัฒนา ของโกโนโพเดียมและครีบหางตอนล่างพัฒนาย่นื ยาวออกไปชา้ ลกู ปลาเพศผชู้ นดิ หลังนี้จะคล้ายกับลูก ปลาเพศเมยี ในระยะกอ่ นที่จะมกี ารพัฒนาโกโนโพเดยี มและครีบหางดาบ ถ้าน้าลูกปลาเพศผู้ท่ีมีการ พฒั นาลักษณะทางเพศเร็วไปผสมพันธุ์กับปลาสอดเพศเมยี จะท้าให้ได้ลูกปลาเพศผู้จ้านวนมากกว่า การผสมพนั ธุจ์ ากปลาเพศผูท้ ่ีมีการพัฒนาลกั ษณะทางเพศชา้ เมื่อน้าไปผสมกับปลาเพศเมียจะได้ลูก

ปลาเพศเมยี มากกว่า ซง่ึ กฎขอ้ นส้ี ามารถนา้ ไปใช้เป็นหลกั ในการพัฒนาการเพาะพันธุ์ปลาสอดหรือ การคดั เลือกพ่อแม่พนั ธตุ์ ่อไป การอนุบาลลูกปลาสอด บ่อท่ีใช้อนุบาลลกู ปลาไม่ควรเป็นบ่อท่ีมีขนาดใหญ่มาก เพราะจะท้าให้การดูแลและการ จดั การลา้ บาก โดยการอนบุ าลลูกปลาอาจจะใชบ้ อ่ กลมซงึ่ มีเส้นผา่ ศูนยก์ ลางประมาณ 80 เซนติเมตร หรอื อาจจะใช้บ่อสเ่ี หล่ยี มขนาดประมาณ 1 ตารางเมตร ขึ้นไปกไ็ ด้ หลงั จากตกั และรวบรวมลกู ปลาไดจ้ ้านวนหนึง่ จะน้าไปอนบุ าล บ่ออนุบาลท่ีเหมาะสมควรมี ระดับน้าลกึ 20 ถึง 30 เซนติเมตร การอนบุ าลระยะแรกให้ทา้ การรวบรวมลูกปลาไปอนุบาลในบ่อ อนุบาลในอัตราความหนาแนน่ 400 ถงึ 500 ตัว ตอ่ ตารางเมตร การใหอ้ าหารใชว่ งแรก จะใหอ้ าหารธรรมชาตมิ ชี ีวติ เชน่ ไรแดง ท่ีผ่านการท้าความสะอาด โดยแชใ่ นด่างทับทิม 0.1 กรมั ต่อน้า 20 ลิตร และใช้สวิงตาละเอยี ดร่อนเอาเฉพาะไรแดงตัวเล็กให้กิน โดยให้กิน 2 ครัง้ เช้าและเยน็ เมื่อลูกปลาอายุประมาณ 1 อาทิตย์ เร่ิมฝึกให้กินอาหารผสมหรือ อาหารส้าเร็จรปู เมด็ เล็ก โดยน้าอาหารส้าเร็จรูปแช่น้า แล้วปั้นเป็นก้อนเล็ก ให้กินแทนอาหาร ธรรมชาติในมือ้ เยน็ และในมือ้ เช้าสามารถให้ไสเ้ ดือนนา้ ทล่ี ้างสะอาดทดแทนไรแดงได้ ปริมาณที่ให้กิน ควรคอ่ ยๆ เพม่ิ ขน้ึ เมื่อปลามีขนาดโตขึน้ เมื่ออนุบาลลกู ปลาได้ประมาณ 2 เดอื นลกู ปลาจะมขี นาด 2.5 ถึง 3 เซนติเมตร ท้าการคัด ขนาดและลดปริมาณลูกปลาให้มคี วามหนาแนน่ น้อยลงในอัตรา 800 ถงึ 1,000 ตัวตอ่ บ่อ เพื่อให้ปลา ไดเ้ จรญิ เตบิ โตเต็มท่ีและท้าการเลยี้ งต่อไปอกี 2 ถงึ 3 เดอื น ก็ใหล้ ดปรมิ าณความหนาแน่นเป็น 400 ถึง 500 ตวั ต่อบ่อ ซึ่งปลาร่นุ นพี้ รอ้ มท่ีจบั จา้ หนา่ ยไดต้ ลอดเวลา โรคที่เกิดขน้ึ กบั ปลาสวยงาม ปลาสวยงามที่เลย้ี งในนา้ จืดนนั้ สามารถแบ่งออกตามกลมุ่ ของเช้ือโรคได้ 5 กล่มุ ดว้ ยกนั คือ 1. โรคโปรโตซัว ลกั ษณะอาการ ปลาทปี่ ุวยมีลกั ษณะครบี เป่อื ย หรือกางออกไม่เต็มที่ ผิวตัวซีด และมีลักษณะ คลา้ ยผิวถลอก หรือตกเลอื ดเป็นแห่งๆ การวา่ ยน้าของปลาผิดปกติ โดยว่ายน้าแฉลบเอาข้างตัวถูกับ พน้ื ก้นตู้ พน้ื อ่างหรอื ก้อนหินในตูป้ ลา บางครง้ั ปลาอาจจะมีจดุ ขาวตามลา้ ตวั และครบี สาเหตขุ องโรค เกดิ จากเช้อื โปรโตซวั จ้าพวกเห็บระฆงั (Trichodina) เชือ้ อ๊กิ (Ichthyophthirius) เชื้อไซพรเิ ดีย(Scyphidia) เชอ้ื เอพโี อโซมา (Apiosoma) การรักษา ใชน้ ้ายาฟอร์มาลนี แช่ปลาในตอู้ ตั รา 25 ถงึ 30 พพี ีเอ็ม (2.5 ถึง3.0 ซีซี ต่อน้า 100 ลิตร) แชไ่ วน้ าน 2 ถงึ 3 วนั เพยี งครงั้ เดียว แต่ถ้าปลาปวุ ยเปน็ โรคจดุ ขาว (โรคอิ๊ก) จะต้องใส่น้า ยา

ฟอรม์ าลนี ซา้ อกี 2 ถึง 3 ครง้ั หลงั จากการเปล่ียนน้าในอตั ราความเขม้ ข้นเท่าเดิม โดยท้าห่างกัน คร้ังละ 2 ถึง3 วนั 2. โรคปลงิ ใส ลกั ษณะอาการ ปลาท่ตี ิดปรสิตปลงิ ใสจะมอี าการซมึ เบอ่ื อาหาร และมีการวา่ ยน้าแฉลบเอาข้างตัว ถูกบั พนื้ ตเู้ ปน็ ครง้ั คราว ครีบของปลาโดยทั่วไปยังมีลักษณะปกติ สาเหตุ เกดิ จากปรสิตปลงิ ใส (Monogene) การรักษา ใชน้ ้ายาฟอร์มาลีนแช่ปลาในต้ใู นอตั รา 40 ถึง 45 พพี เี อ็ม (4.0 ถงึ 4.5 ซซี ี ต่อ น้า 100 ลติ ร) แชไ่ ว้นาน 2 ถงึ 3 วัน ถ้าเป็นปลาขนาดเล็กใหด้ แู ลปลาอย่างใกล้ชิดใน 1 ถึง 2 ชั่วโมงแรก หลงั ใส่สารเคมี เพราะปลาท่ีเล็กมากอาจจะทนต่อพษิ ของฟอร์มาลีนไม่ไหว ถ้าพบลูกปลามีอาการ เมายาให้รบี เปลีย่ นน้าครึ่งหนึ่งทนั ที 3. โรคเห็บปลาและหนอนสมอ ลักษณะอาการ ปลาท่มี ปี รสติ เกาะว่ายน้าแบบชักกระตกุ มีอาการสะดุ้ง ว่ายน้ากระโดด ถูตัวกับ ข้างตู้หรอื ก้อนหนิ ปลาท่ีปุวยเรอ้ื รังจะมีแผลตกเลอื กเปน็ จา้ ตามล้าตัว แผลอาจจะขยายใหญ่มาก เช่นท่ีพบในปลาคารพ์ สาเหตุของโรค เกดิ จากปรสิตเหบ็ ปลา(Argulus) และหนอนสมอ (Lerneae) ซึ่งเป็นปรสิตเปลือก แขง็ ขนาดใหญม่ องเห็นไดด้ ้วยตาเปลา่ (ประมาณ 0.3 ถงึ 0.5 เซนติเมตร) การรักษา ใช้สารเคมีดิพเทอเร็กซ์หรือซินเทอเรก็ ซ์ (เป็นยาฆา่ แมลงชนิดหน่ึงจัดอยู่ในกลุ่มออการ์โน ฟอสเฟต) ในอัตรา 0.25 พพี เี อม็ (0.025 กรัมต่อน้าในตู้ 100 ลติ ร) ปลาในตหู้ รือในบอ่ นาน 7 วัน และตอ้ งแชส่ ารเคมซี า้ อีก 3 คร้ัง หา่ งกนั คร้งั ละ 7 วนั รวมระยะเวลาในการรักษาประมาณ 1 เดอื น 4. โรคแบคทเี รยี ลักษณะอาการ ปลาท่ีปวุ ยจะมอี าการอย่างใดอยา่ งหน่ึงหรอื หลายอาการรวมกันคือ มีแผลตกเลือด ตามล้าตัว ครบี บริเวณทอ้ ง และช่องขบั ถา่ ย ตาของปลาอาจจะมีอาการบวมและตกเลอื ด ท้องและ ลา้ ตัวปลามีอาการบอบชา้ และมักจะพบอาการเกล็ดต้ัง หรอื ตวั ด่าง สาเหตขุ องโรค เกดิ จากเช้อื แบคทีเรยี ได้แก่ เชือ้ แอรโ์ รโทแนส ซูโดโมแนส และคอรัมนารสิ การรักษา ใชแ้ ช่ปลาทเ่ี ปน็ โรคด้วยยาปฏิชีวนะ ในอตั รา 10 ถึง 20 พีพีเอ็ม (1 ถึง 2 กรัมต่อน้า 100 ลิตร) แชน่ าน 2 วัน แล้วเปล่ยี นน้าใหม่และแช่ยาซา้ อกี 3 ถงึ 4 คร้งั ส้าหรบั ปลาท่ีมอี าการ ตวั ด่าง รกั ษาโดยการแช่ปลาด้วยด่างทบั ทมิ 1 ถึง 5 พีพเี อม็ (1 ถึง 5 กรมั ต่อน้า 1,000 ลิตร) หรือ เกลือ 0.5 เปอรเ์ ซน็ ต์ (5 กโิ ลกรมั ตอ่ น้า 1,000 ลติ ร) นาน 3 วนั และควรแช่ซ้าอีก 2 ถงึ 3 คร้งั

5. โรคเชอื้ รา ลกั ษณะอาการ ปลาทปี่ ุวยจากเชื้อราจะมอี าการออ่ นแอการเคลอื่ นไหวลดลง และบริเวณที่ติดเช้ือ จะมีเส้นใยของเชอื้ ราปกคลุมมองเห็นได้ชดั เจน สาเหตขุ องโรค เกิดจากเช้อื ราหลายสกุลด้วยกัน เช่น Aphanomyces และ Achlya เป็นต้น และมกั จะเกดิ กับปลาท่ีบอบช้าหรอื มีแผล การรกั ษา ให้แช่ปลาปุวยดว้ ยสารเคมมี าลาไคทก์ รีนในอตั รา 0.1 พีพเี อม็ หรือ 0.1 กรัมต่อน้าในตู้ 1,000 ลติ ร แช่นาน 3 วัน ต่อการรกั ษา 1 คร้งั ถา้ ปลายงั ไมห่ ายปุวยใหร้ ักษาซ้าอกี ครง้ั (มาลาไคท์กรีนเปน็ สารอนั ตรายเวลาใช้ต้องระมดั ระวงั อยา่ ให้สัมผัสรา่ งกายผใู้ ช)้

ภาพท่ี 2 ขมิน้ ชัน (Curcuma longa Linn) ท่ีมา: ถา่ ยภาพโดยนรู ซี ัน (2562) ชอ่ื สามัญไทย: ขมน้ิ ชัน ชือ่ สามัญอังกฤษ: Turmeric ชือ่ วทิ ยาศาสตร์: Curcuma longa. Linn. Curcuma domestica Valeton. ชอ่ื อ่นื : ขมน้ิ แกง ขม้นิ หยอก ขมน้ิ หัว ตายอ สะตอ ขมน้ิ เปน็ พืชล้มลุกท่จี ดั อยู่ในตระกลู ขิง มเี หงา้ อยู่ใต้ดิน เน้ือในของเหง้าจะเป็นสีเหลือง มี กลน่ิ หอมเฉพาะตัว มตี ง้ั แตส่ เี หลอื งเขม้ จนถึงสีแสดจดั โดยถน่ิ ก้าเนดิ อยู่ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ และมีชอ่ื อื่น ๆ อกี เชน่ ขมิน้ ชัน ขมน้ิ แกง ขม้ินหยอก ขม้ินหวั ขีม้ ิน้ หม้นิ ทง้ั นข้ี ้นึ อยู่กับแต่ละภาค และจังหวัดน้นั ๆ นยิ มนา้ ไปใชใ้ นการประกอบอาหาร แตง่ สี แตง่ กล่ินอาหาร เช่น แกงไตปลา แกง กะหรี่ เปน็ ต้น ขม้ินชนั อดุ มไปดว้ ยวติ ามนิ และแรธ่ าตหุ ลายชนดิ เช่น วติ ามนิ เอ วิตามินบี 1 วิตามิน บี 2 วิตามินบี 3 วติ ามนิ ซี วติ ามินอี ธาตุแคลเซยี ม ธาตุฟอสฟอรสั ธาตุเหลก็ และเกลือแร่ต่าง ๆ รวม ไปถึงเส้นใย คารโ์ บไฮเดรต และโปรตนี เปน็ ต้น และขมน้ิ ชันมสี รรพคณุ ทางยาท่ีรักษาอาการและโรค ต่าง ๆ ได้หลายชนดิ มีประวัติในการน้ามาใช้ในการรักษามากกว่า 5,000 ปี ส้าหรับขม้ินชันที่จะ นา้ มาใชป้ ระโยชน์นัน้ การเก็บเก่ียวไมค่ วรเก็บในระยะที่ขมิ้นเร่ิมแตกหน่อ เพราะจะท้าให้สารที่มี ประโยชน์อย่างเคอรค์ ูมนิ ในขม้นิ มนี อ้ ย สว่ นเหงา้ ที่เกบ็ มาต้องมีอายุอยา่ งน้อย 9 ถงึ 12 เดอื น และต้อง ไม่เก็บไวน้ านเกนิ ไป และไมใ่ ห้ถูกแสงแดด เพราะนา้ มันหอมระเหยในขม้ินจะหมดไปเสียก่อน เมื่อได้ เหง้ามาแล้ว หากจะนา้ ไปรับประทานเพอ่ื ใช้ในการรักษาโรคต่าง ๆ ควรล้างให้สะอาดกอ่ น และไม่ต้อง ปอกเปลอื ก แต่หนั่ เปน็ แวน่ ชิ้นบาง ๆ แล้วน้าไปตากแดดสัก 2 วันแล้วน้ามาบดให้ละเอียด ผสมกับ นา้ ผึง้ แลว้ ป้ันเป็นเม็ดเล็ก ๆ เท่าปลายนิ้วกอ้ ย แลว้ นา้ มารับประทานวันละ 3 ครั้ง ครั้งละ 2-3 เม็ด หลังอาหารและช่วงกอ่ นนอน หรอื จะน้าเหง้าแก่มาขูดเอาเปลือกออกแล้วน้าไปล้างน้าให้สะอาด นา้ มาบดให้ละเอียด เตมิ น้าแล้วคัน้ เอาแตน่ ้ามารบั ประทานคร้ังละ 2 ช้อนโต๊ะ วันละ 3 คร้ัง หากน้า ขมนิ้ มาใชเ้ ป็นยาทาภายนอก เพ่อื รกั ษาอาการแพ้ ผนื่ คนั ผิวหนังอกั เสบ แมลงสตั ว์กัดตอ่ ย ให้น้าเหง้า

ขมนิ้ มาฝนผสมกับนา้ ตม้ สุก แลว้ ทาบริเวณที่เป็นวันละ 3 คร้ัง หรือจะน้าเอาผงขม้ินมาโรยก็ใช้ได้ เชน่ กันจากผลการทดลองและงานวจิ ัยเกี่ยวกับขม้นิ ชนั จากท่วั โลก พบว่า สมนุ ไพรขมิ้นชันมีสรรพคุณ และมีประโยชนใ์ นทางการรกั ษาโรคให้กบั ผู้ปวุ ยในหลายดา้ น โดยเฉพาะในประเทศไทย ได้เริ่มมีการ นา้ ขมนิ้ ชนั มาแปรรูปเป็นขม้ินชนั แคปซลู และใชร้ ักษาโรคกันอย่างแพรห่ ลาย ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ 1. ต้านการเกดิ แผลและสมานแผลในกระเพาะอาหาร ขมิ้นชันมีสรรพคุณในการสมานแผล ช่วยใหแ้ ผลหายเรว็ ขึน้ โดยเรง่ การเจรญิ เติบโตของเน้ือเยอ่ื ทีเ่ ปน็ แผล น้ามันหอมระเหยของขมิ้นชัน นอกจากช่วยรักษาแผลในกระเพาะอาหารแล้ว ยงั ช่วยปอู งกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร โดย การกระตุ้น mucin มาเคลือบกระเพาะอาหารและยับยัง้ การหลั่งน้าย่อยชนิดต่างๆได้ และได้มีการ ทดลองใช้ขมนิ้ ชันในการรักษาโรคกระเพาะอาหาร เทยี บกับการใชย้ าแผนปัจจุบันมี ช่ือว่า ไตรซิลิเกต ขม้นิ ชันมสี รรพคณุ ในการรักษาแผลในกระเพาะอาหารได้จรงิ และได้ผลดีกว่าการใช้ยาแผนปัจจุบัน อกี ด้วย สามารถลดความเจ็บปวดท่รี นุ แรงได้ 2. ลดการอกั เสบ มีผลการทดลองวา่ ผงแหง้ นา้ ค้ันและสารสกัดชนิดต่างๆ มีฤทธ์ิในการลด การอกั เสบในรา่ งกายทุกชนิด และสารส้าคัญในการออกฤทธิ์ ลดการอักเสบ คือ สารที่มีช่ือว่า Curcumin เมือ่ นา้ ไปเทยี บเคียงกับยาแผนปจั จุบันท่ชี ว่ ยบรรเทาการอักเสบท่มี ีชื่อว่า ฟินิลปิวทาโซน (ยาบรรเทาอาการอักเสบทขี่ อ้ เช่น รมู าตอยด์ เปน็ ตน้ ) พบว่า มีฤทธ์ิใกล้เคยี งกันในการรักษาอาการ อักเสบแบบเฉยี บพลัน แต่จะมฤี ทธิ์เพียงครึ่งเดยี วในการรักษาอาการอักเสบแบบเรอื้ รัง 3. ตา้ นการแพ้ ขมิ้นชนั มีฤทธิ์ในการตา้ นการแพ้ โดยการออกฤทธิย์ ับยงั้ การหล่ังของสาร histamine ของรา่ งกายเมอ่ื มีอาการแพ้ 4. ลดการบบี ตัวของล้าไส้ จากการทดลองทางคลินกิ กับคนท่ีใช้จ้านวน 440 คน อายุเฉล่ีย 48.5 ปี โดยการให้ทานขมิ้นชนั ทุกวัน วนั ละ 162 มลิ ลกิ รมั พบว่า ขมิ้นชันมีฤทธิ์ลดการบีบตัวของ ลา้ ใส้ และยงั ชว่ ยในการขบั ลมและแกอ้ าเจียนดว้ ย 5. ลดอาการแนน่ จกุ เสยี ด มีการทดลองในผ้ปู ุวยโรคทอ้ งอดื ท้องเฟูอในโรงพยาบาล 6 แห่ง จ้านวน 160 คน โดยรับประทานครง้ั ละ 2 แคปซลู วันละ 4 ครั้ง พบว่าได้ผลดีกว่ายาขับลม และ ผู้ปุวยพอใจ ซึง่ น้ามนั หอมระเหยของขม้ินเป็นสารออกฤทธ์ิในการขบั ลม 6. ขับน้าดี ขมิ้นชนั สามารถออกฤทธิเ์ พิ่มการขับและกระตุ้นการสรา้ งน้าดีได้ ซึ่งน้าดีเป็นสาร สา้ คญั ในกระบวนการชว่ ยย่อยและดดู ซึมอาหารของร่างกาย 7. รกั ษาอาการทอ้ งเสยี ตามต้ารายาพืน้ บา้ นของไทย มีการใชข้ ม้ินรกั ษาอาการท้องเสียโดย น้าผงขมน้ิ ชันผสมน้าผง้ึ ปน้ั เป็นยาลูกกลอนรบั ประทานหลังอาหารและกอ่ นนอน คร้ังละ 3 ถึง 5 เม็ด วนั ละ 3 เวลา และในประเทศอินโดนีเซียก็มกี ารใช้ขม้ินในการรักษาอาการอุจจาระร่วงเช่นกัน และ

การใช้ขมิ้นชันขนาด 1000 มิลลกิ รัมตอ่ คร้ัง ต่อวนั มีผลทา้ ใหอ้ าการทอ้ งร่วงในลกู สุกรระยะดูดนมแม่ หายไป 8. ตา้ นแบคทีเรีย ทั้งสารสกดั ขมนิ้ ชนั น้ามนั หอมระเหย สาร curcumin และอนุพันธ์มีฤทธ์ิ ในการต้านแบคทเี รียชนดิ ต่างๆ เชน่ 8.1 แบคทเี รยี ทท่ี ้าให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร 8.2 แบคทีเรียทท่ี ้าให้เกิดเยื่อหมุ้ ฟันอกั เสบ 8.3 แบคทีเรยี ทท่ี า้ ให้เกิดโรคทอ้ งเสีย 8.4 แบคทเี รียกอ่ โรคในก้งุ 8.5 แบคทเี รยี ทีใ่ หเ้ กิดหนอง 9. ตา้ นยสี ต์และเชือ้ รา สารสกดั ขมิ้นชัน น้ามันหอมระเหย สาร curcumin และอนุพันธ์ มี ฤทธิ์ยบั ยงั้ การเจรญิ เติบโตและฆา่ ยสี ต์ เช้ือราชนิดต่างๆ เช่น เชื้อราที่เป็นสาเหตุของโรคผิวหนัง อย่างเช่น โรคกลาก ยสี ต์ท่ีมีชอื่ ว่า Candida aibicans ซง่ึ เปน็ เชอ้ื โรคฉวยโอกาสของผู้ที่มีภูมิคุ้มกัน ต้่า เชน่ เบาหวาน เอดส์ เป็นต้น 10. ต้านปรสิต สารสกดั จากขมิน้ สามารถท่จี ะฆ่าเช้อื อะมบี า ซง่ึ เปน็ สาเหตขุ องโรคบดิ มีตัวได้ 11. ปอู งกนั ตบั อักเสบ ขมิน้ ชันมฤี ทธ์ใิ นการปอู งกนั ตับอกั เสบ 12. ต้านการกลายพนั ธุ์ (ต้านมะเร็ง) เบาหวาน และโรคทเ่ี กดิ จากการเส่ือมของรา่ งกาย 13. ตา้ นความเปน็ พษิ ต่อยนี ส์ ขมนิ้ ชนั มีฤทธใิ์ นการปูองกนั ความเสยี หายของ DNA และต้าน ความเป็นพษิ ตอ่ ยนี ส์ 14. มสี รรพคุณสมานแผล ผงขม้ินทน่ี า้ มาผสมกับน้าแลว้ ทาลงบนแผลพบว่า ช่วยเร่งให้แผลที่ ไม่ตดิ เชือ้ ของกระต่ายและหนขู าวหายไปได้ 23.3 และ 24 เปอร์เซ็นต์ ตามล้าดับ และสามารถเร่งให้ แผลตดิ เชื้อของหนขู าวหายได้ 26.2 เปอร์เซ็นต์ การทดลองทางคลินิก โดยทายาสมุนไพรซงึ่ มีขมิ้นเป็น ส่วนประกอบทีผ่ วิ หนัง พบว่ามีฤทธิ์ในการสรา้ งเซลล์ผิวหนังใหม่ มีผู้ทดลองใช้สาร curcumin จาก ขมิน้ ในการรกั ษาแผล หลงั ผา่ ตัด 40 ราย พบวา่ ใหผ้ ลลดการอักเสบไดเ้ หมือนฟินิสบิวทาโซน การทดลองใช้ขมิ้น หรือยาปฏิชวี นะ ในการรักษาแผลพุพองในผู้ปุวย 60 ราย โดยแบง่ เปน็ กล่มุ ที่ใช้ขมิน้ และกลุ่มที่ใช้ยา ปฏิชวี นะแลว้ ติดตามดูแลแผลพพุ องหลังการรักษา 21 วัน พบวา่ ผปู้ ุวยทกุ รายหายจากโรค และไม่พบ ภาวะแทรกซ้อนหรือข้อการแตกต่างระหว่างใชข้ มิ้นกับยาปฏิชีวนะ มีการน้าสารสกัดของขม้ิน มา พัฒนาต้ารบั เป็นครมี ปาู ยปาก แลว้ ทา้ การทดลองเพ่อื สังเกตฤทธ์ใิ นการสมานแผล โดยท้าการทดลอง ในอาสาสมคั ร 30 คน พบวา่ มคี รีมปูายปากท่ีมสี ารสกดั ขมิ้นชัน 1 เปอรเ์ ซ็นต์ มีผลท้าให้แผลในปาก หายภายใน 1 สัปดาห์

อาหารสาเรจ็ รูปปลาสวยงาม อาหารปลาสวยงาม เปน็ อาหารสา้ เรจ็ รูปทแี่ ปรรูปจากวตั ถดุ บิ ประเภทต่าง ๆ ส้าหรับการเลี้ยงปลา สวยงาม ซึง่ ไม่นับรวมถงึ อาหารสด อันไดแ้ ก่ ไรทะเล ไรแดง ลกู น้า ก้งุ ฝอย ปลาเหยื่อขนาดเล็กชนิด ต่าง ๆ หรือแมลง อาหารปลา สามารถแบง่ ออกได้เปน็ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ อาหารส้าหรับปลากินพืช และอาหาร ส้าหรบั ปลากินเน้ือ โดยมีสารอาหารประเภทต่าง ๆ เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต เหล็ก ไขมัน ใย อาหาร รวมถงึ ปริมาณของความชน้ื บรรจุในปรมิ าณที่แตกต่างกัน โดยทอี่ าหารส้าหรับปลากินเนื้อ นั้น จะมโี ปรตีนผสมอยูค่ ดิ เปน็ ร้อยละ 25-30 สงู กว่าปลาประเภทกินพืช ในขณะที่ปลากินพืช ในบาง ยหี่ ้ออาจมสี ่วนผสมของสาหร่ายสไปรลู ีนาเพือ่ ช่วยในการเร่งสีของปลา และยังแตกต่างกันไปตาม ประเภทลกั ษณะการหากนิ ของปลาหรือสตั ว์น้าแตล่ ะชนดิ อกี ด้วย ภาพที่3 อาหารสา้ เร็จรปู ยห่ี อ้ OPTIMUM ท่ีมา: ถา่ ยภาพโดยธรี ศิ รา (2562) ประเภทของอาหาร อาหารแบบเมด็ กลม (Round Pellets) เป็นอาหารประเภททคี่ ้นุ เคยมากท่ีสุด มีลักษณะเป็นแบบเม็ดกลม เหมาะสมส้าหรับปลาแทบทุก ประเภทท่ีเป็นปลาสวยงามสว่ นใหญ่ เชน่ ปลาคาร์ป ปลาทอง ปลาหมอสี กรรมวิธีการผลิตน้ัน เริ่ม จากการทา้ ให้วัตถดุ บิ สกุ ดว้ ยความรอ้ น จากน้ันจงึ ผสมให้เป็นเน้ือเดียวกันโดยเครื่องจักรส้าหรับบด อาหาร และอบภายใตอ้ ณุ หภมู สิ งู ซึง่ การผลิตอาหารประเภทน้จี ะทา้ ให้โปรตีนและแปูงท่ีรวมกันเป็น เนอื้ เดยี วจบั ตัวกนั ได้ มคี วามน่มุ เม็ดอาหารมคี วามสมา่้ เสมอ และปูองกนั การสูญเสียคุณคา่ ทาง

อาหารเม็ดแบบนมิ่ (Sponge Type Diets) อาหารแบบน้ีจะแตกต่างจากประเภทแรก ตรงทม่ี ชี อ่ งวา่ งและเพ่มิ ปริมาณอากาศในเมด็ อาหารสูง เมื่อ อาหารอยใู่ นน้าจะดูดซบั นา้ ไดเ้ ร็วเหมอื นฟองน้า ท้าใหน้ ุ่มนมิ่ เหมาะสา้ หรบั การใหก้ บั ปลาประเภทกิน เน้ือเป็นอาหาร ซงึ่ มคี วามยากในการท่ีจะฝึกใหก้ นิ อาหารแบบส้าเรจ็ รูป อาหารเมด็ แบบแผ่นกลม (Disk Type Diets) เป็นอาหารท่มี ีรูปร่างเป็นแผ่นกลม ผลติ ขึ้นมาเพอื่ ส้าหรบั ปลาประเภทท่หี ากินตามหน้าดิน เช่น ปลา ซคั เกอร์ ปลาแพะ เป็นต้น อาหารเม็ดแบบแข็ง (Hard Type Diets) เปน็ อาหารที่มีอากาศอยู่ในช่วงวา่ งภายในเม็ดน้อยมาก ถกู ออกแบบมาให้มีความคงทนของสภาพเม่ือ อยู่ในน้า โดยจะละลายชา้ ไม่เปื่อยย่ยุ งา่ ย เหมาะส้าหรับสัตว์น้าประเภทท่ีแทะเล็มอย่างช้า ๆ เช่น เครย์ฟิช ปูเสฉวน ปูชนิดตา่ ง ๆ เปน็ ต้น อาหารชนดิ แบบเม็ดเล็ก (Granular Type) เปน็ อาหารเม็ดกลมทีม่ ขี นาดเลก็ กว่าอาหารประเภทแรก ผลิตโดยใช้วิธีการอุ่นวัตถุดิบแต่ละชนิด จากนั้นจงึ บดเป็นผงละเอยี ด แล้วนา้ มาผสมรวมกนั เปน็ เม็ดเล็ก ๆ ด้วยกรรมวธิ แี บบพิเศษ เคลือบด้วย สารเคลือบบาง ๆ เพอื่ รกั ษาคุณค่าสารอาหาร มลี ักษณะทน่ี ุม่ ปลากินได้ง่าย มีคุณค่าทางสารอาหาร สูง เหมาะส้าหรับปลาทม่ี ีขนาดเลก็ เช่น ปลาหางนกยงู ปลานีออน ปลาซวิ เป็นตน้ อาหารแผ่น (Granular Type) เปน็ อาหารแบบแผ่นอบแห้ง ผลิตโดยน้าวัตถุดิบมาท้าให้เป็นเย่ือบาง ๆ พ่นด้วยส่วนผสมท่ีเป็น ของเหลว เมื่อของเหลวผสมกบั อาหารท่ีเปน็ เยือ่ บางจะขยายตัวและแปรรูปเป็นแผ่น จากนั้นน้าไป อบแห้งดว้ ยอณุ หภมู คิ วามรอ้ นสูง ซง่ึ จะมคี วามนุ่มกว่าอาหารแบบเม็ด เหมาะส้าหรับปลาท่ีมีปาก ขนาดเล็ก และเล้ยี งในตู้ที่มปี ลาหลากหลายต่างชนิดกัน ซ่ึงอาหารประเภทน้ี ราคาขายจ ะแพงกว่า อาหารประเภทอน่ื และมกั บรรจุลงในภาชนะทีเ่ ป็นขวดพลาสตกิ อาหารแช่แข็งอบแห้ง (Freeze Dried Food) ผลิตจากวัตถุดบิ ธรรมชาติ เช่น หนอนแดง ไสเ้ ดอื นน้า ไรทะเล ผ่านกระบวนการการแช่แข็งอย่าง รวดเร็ว หลังจากนน้ั น้าไปอบแห้งดว้ ยระบบสุญญากาศ แลว้ นา้ ออกมาเกบ็ รกั ษาไว้ในอุณหภูมิปกติ ซ่ึง อาหารแชแ่ ข็งอบแหง้ นั้นสามารถเกบ็ รสชาตอิ าหารตลอดจนคุณค่าทางสารอาหาร รวมถงึ วิตามินไว้ได้ ครบถว้ นเหมอื นอาหารสด

เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง สันธวิ ัฒณ์ และคณะ (2552) ไดศ้ กึ ษาผลของการใช้สารสกัดขมนิ้ ชันร่วมกับวิตามินซีต่อการ เจรญิ เติบโตและอตั รารอดของกงุ้ ก้ามกราม โดยเลย้ี งกุ้งก้ามกรามระยะโพสต์ลาวา 15 - 20 ในถัง พลาสติกกลมขนาดความจุ 300 ลติ ร บรรจุนา้ 200 ลิตรเป็นเวลา 70 วนั ใหอ้ ากาศตลอดเวลา โดยใช้ อาหารท่ี ผสมสารสกัดขมนิ้ ชนั 5 ระดบั คือ อาหารผสมสารสกัดขมิ้นชันท่ีระดับ 0 , 2.5, 5, 7.5, 10 กรัมต่ออาหาร 1 กิโลกรมั รวมกับวติ ามนิ ซี 2 ระดบั คือ 0 และ 0.1 กรัม ต่อ อาหาร 1 กิโลกรัม ให้ อาหาร 4 มอ้ื ต่อวนั พบวา่ ก้งุ ที่ไดร้ บั อาหารผสมสารสกดั ขมิ้นชนั 7.5 กรมั ต่อกโิ ลกรมั ร่วมกับวิตามินซี 0.1 กรมั ตอ่ กิโลกรัม มนี ้าหนกั ท่ีเพ่ิมขึน้ เฉลย่ี สงู ที่สดุ คอื 260.3±200.6 มิลลิกรัมต่อตัว แต่ไม่มีความ แตกต่างกนั อย่างมนี ยั สา้ คัญทางสถติ ิ (p>0.05) ดา้ นความยาว พบวา่ กุ้งก้ามกรามที่ได้รับอาหารผสม สารสกัดขม้นิ ชนั ท่ีระดบั 2.5 กรมั ต่อกโิ ลกรมั ร่วมกบั วิตามนิ ซี 0.1 กรัมต่อกิโลกรัม ท้าให้กุ้งมีความ ยาวเพ่มิ ข้ึนเฉล่ียสูงท่ีสุด 2.43±0.22 เซนติเมตร แต่ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (p>0.05) ด้านอัตราการเจริญเตบิ โตจ้าเพาะพบวา่ ก้งุ ก้ามกรามที่ได้รับอาหารผสมสารสกัดขมิ้นชัน 7.5 กรัมต่อกโิ ลกรมั ร่วมกับวติ ามินซี 0.1 กรัมตอ่ กโิ ลกรมั ทา้ ให้กุง้ ก้ามกรามมอี ัตราการเจริญเติบโตสูง ท่ีสดุ คอื 0.37±0.28 เปอร์เซ็นต์ แตไ่ ม่มคี วามแตกตา่ งกบั กรรมวิธีอ่ืนอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ ( p> 0.05) ดา้ นอตั ราการรอดตาย พบว่าชุดควบคุม มีอัตราการรอดตายของกุ้งก้มกรามสูงท่ีสุด คือ 33.00±14.86 เปอรเ์ ซ็นตแ์ ต่ไมม่ ีความแตกตา่ งกบั กรรมวธิ ีอนื่ อยา่ งมนี ัยส้าคัญทางสถิติ (p>0.05) ศุภรตั น์ และคณะ (2553) ไดท้ า้ การศกึ ษาผลของการเสรมิ ขมนิ้ ชันในอาหารต่อการเจริญเติบโตและ ภูมิคมุ้ กันของปลาทองโดยใชอ้ าหารเสริมขมนิ้ ชนั ในปริมาณต่างกัน 5 ระดับ คือ 0.0, 0.2, 0.4, และ 0.8 เปอรเ์ ซ็นตท์ ดลองเลย้ี งปลาทองสายพันธอุ์ อรนั ดาอายุ 4 สปั ดาหเ์ ป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์เพ่ือ ศกึ ษาการเจริญเติบโต อตั รารอดตาย ปริมาณการกิน อาหาร ประสิทธิภาพของอาหารความเข้มของสี และค่าองค์ประกอบของเลอื ดผลการทดลองเลี้ยงปลาทองด้วยอาหารสูตรควบคุมซ่ึงไม่เสริมขมิ้นชัน เปรยี บเทียบกบั อาหารท่เี สรมิ ขมิน้ ชันในปริมาณต่าง ๆ กัน พบว่า ปลาทองท่ีเลี้ยงด้วยอาหารเสริม ขมิ้นชนั มีอตั ราการเจริญเตบิ โตและประสิทธภิ าพของอาหารดีกวา่ ปลาทองที่เลย้ี งด้วยอาหารสูตร ท่ีไม่ เสริมขมน้ิ ชนั อยา่ งมีนยั สา้ คัญ (p<0.05) สว่ นอัตราการรอด คา่ ความเข้มของสีปลาทดลองทุกชุดการ ทดลองไมแ่ ตกตา่ งกัน (p>0.05) ผลการวิเคราะหค์ า่ องค์ประกอบของเลอื ดปลาทดลองพบว่าการเสริม ขมน้ิ ชันในอาหารปริมาณ 0.8 เปอร์เซ็นต์ สามารถเพิ่มค่า antibody titer ต่อเชื้อ A.hydrophila และเมด็ เลือดขาว (p<0.05) ส่วนปรมิ าณเมด็ เลอื ดแดง ค่าฮโี มโกลบนิ และคา่ ฮีมาโตคริตของปลาทอง กลมุ่ ทไ่ี ด้รับอาหารเสรมิ และไมเ่ สริมขมนิ้ ชันไม่มคี วามแตกตา่ ง ทางสถิติ (p>0.05) อดเิ ทพชัยยก์ ารณ์ (2559) ไดท้ า้ การศกึ ษาผลของขม้ินชนั ทม่ี ีต่อโรคจุดขาวในปลาสวาย การศึกษาใน คร้งั น้มี วี ตั ถุประสงคเ์ พอื่ ศึกษาถึงพษิ เฉยี บพลนั ของขม้นิ ชันท่ีมีต่อ ลูกปลาสวายน้าหนักเฉล่ียต่อตัว 1.26 กรัม และความยาวเฉล่ียตอ่ ตัว 5.54 เซนตเิ มตร พบวา่ พษิ เฉียบพลันท่ที า้ ให้ลูกปลา สวายตาย

50 เปอรเ์ ซ็น ที่ 96 ช่ัวโมง หลงั จากลูกปลาสวายได้รบั สารสมุนไพรขม้ินชัน มีค่า LC50 เท่ากับ 80 มลิ ลกิ รัมตอ่ ลิตร และเพอ่ื ทา้ การศึกษาอตั ราการรอดตายของลูกปลาสวายจากการติดเช้ือโดยใช้สาร สมนุ ไพรขมนิ้ ชนั ในการรกั ษา ระยะเวลา 7 วัน พบว่า การรักษาโดยการแชม่ อี ตั ราการรอดตายสูงที่สุด รองลงมา คอื การรักษาโดยการจุ่ม และการผสมในอาหารเลี้ยง ส่วนกลุ่ม ควบคุมทไ่ี มม่ ีการใช้ขม้ินชัน มีอัตราการรอดตายน้อยท่สี ุด คิดเป็น 93.33, 83.33, 80.00 และ 66.67 เปอรเ์ ซ็น ตามลา้ ดับ เมื่อน้า ข้อมูลอตั ราการรอดตายของลูกปลาสวายจากการติดเช้อื โดยใช้ขมิ้นชันในการรักษา นา้ ไปวิเคราะห์หา คา่ ความแปรปรวน ทางสถติ พิ บวา่ ไม่มคี วามแตกตา่ งกันทางสถติ ิ (P>0.05)

บทที่ 3 อปุ กรณแ์ ละวธิ กี ารศกึ ษาค้นคว้า วัสดุ-อุปกรณ์ 1. ปลาสอดขนาด3 เซนติเมตร จา้ นวน 120 ตวั 2. ผงขมิน้ ชนั จา้ นวน 16 กรัม 3. น้าสะอาด จา้ นวน 200 ลติ ร 4. อาหารสา้ เร็จรูปปลาสวยงาม จา้ นวน 16 กิโลกรัม 5. กระถางขนาดความจนุ ้า 5 ลติ ร จ้านวน 12 ใบ 6. แทง่ แก้วคนสาร จ้านวน 4 อัน 7. ถาดอลูมเิ นยี ม จา้ นวน 4 ใบ 8. บก้ิ เกอร์ จ้านวน 5 ใบ 9. เคร่อื งช่งั ดจิ ติ อล จา้ นวน 1 เครื่อง 10. ตู้อบไมโครเวฟ จา้ นวน 1 เคร่อื ง 11. ถุงพลาสตกิ จา้ นวน 40 ใบ 12. สวงิ จ้านวน 3 อนั 13. ไม้บรรทดั จ้านวน 1 อนั 14. สมดุ จดบันทกึ จ้านวน 1 เล่ม วิธดี าเนนิ การทดลอง ในการทดลองศึกษาผลของการเสรมิ ขมิ้นชันในอาหารตอ่ การเจรญิ เติบโตและอัตราการรอดของปลา สอด มกี ารวางแผนการทดลองแบบส่มุ ตลอด (Completely Randomized Desing: CRD) โดยแบง่ การทดลองออกเป็น 4 ชุดการทดลองแตล่ ะชุดการทดลองมี 3 ซา้ ดังนี้ ชดุ การทดลองท่ี 1 ทดลองเลี้ยงปลาสอดโดยใชอ้ าหารส้าเรจ็ รปู ปลาสวยงามจา้ นวน 500 กรัม (ชุดควบคุม) ชุดการทดลองที่ 2 ทดลองเลยี้ งปลาสอดโดยใชอ้ าหารส้าเร็จรปู ปลาสวยงามจา้ นวน 500 กรัม ผสมขม้นิ ชนั 0.5 กรมั ชดุ การทดลองที่ 3 ทดลองเลี้ยงปลาสอดโดยใชอ้ าหารสา้ เรจ็ รปู ปลาสวยงามจ้านวน 500 กรัม ผสมขม้นิ ชนั 1 กรัม ชุดการทดลองท่ี 4 ทดลองเลี้ยงปลาสอดโดยใช้อาหารส้าเร็จรูปปลาสวยงามจา้ นวน 500

กรัม ผสมขมน้ิ ชนั 1.5 กรมั T1R3 T4R1 T4R2 T2R1 T1R2 T3R1 T1R1 T2R3 T2R2 T3R2 T3R3 T4R3 ภาพท่ี 4 แผนการทดลองแบบสมุ่ ตลอด(Completely Randomized DeDesign : CRD) ขน้ั ตอนการทดลอง ข้นั เตรียมการทดลอง 1. เตรีมพันธ์ุปลาสอดทมี่ ีขนาด 3 เซนตเิ มตร จ้านวน 120 ตวั 2. เตรยี มน้าสะอาด เตมิ ในกระถางทกุ ชดุ การทดลอง ชดุ การทดลองละ 5 ลิตร 3. การเตรยี มขม้ินชัน น้าขมนิ้ ชนั ท่ีลา้ งสะอาดแล้ว น้ามาอบใหแ้ ห้ง จากน้นั ป่นั ให้ละเอียดเปน็ ผง แลว้ ช่งั น้าหนักขม้นิ ชันตามชุดการทดลอง ดงั น้ี - ชดุ การทดลองท่ี 2 ชัง่ ขม้นิ ชนั ปริมาณ 0.5 กรมั - ชดุ การทดลองท่ี 3 ช่ังขมนิ้ ชนั ปรมิ าณ 1 กรัม - ชุดการทดลองที่ 4 ชั่งขมน้ิ ชนั ปริมาณ 1.5 กรัม 4. การเตรยี มอาหาร ใช้อาหารปลาสวยงามยห่ี ้อ OPTIMUM โดยชั่งอาหารใหไ้ ดป้ ริมาณชดุ การทดลองละ 500 กรัม ผสมกับขมนิ้ ชนั ตามชุดการทดลอง ปนั่ ใหล้ ะเอียด จากนัน้ นา้ ไปผง่ึ ลมใหแ้ ห้ง เกบ็ ใส่ถุงไว้ มีการเตรียมอาหารสัปดาห์ละ 1ครั้ง

ข้ันตอนการทดลอง 1. นา้ ปลาสอดไปปล่อยลงเลีย้ งในกระถางท่เี ตรียมน้าไวเ้ รยี บร้อยแล้ว ชดุ การทดลองซ้าละ 10 ตัว 2. ใหอ้ าหารปลาวนั ละ 2 มอื้ เชา้ และเยน็ มอื้ ละ 30 กรมั ในแต่ละชดุ การทดลอง 3. เปลย่ี นถา่ ยน้าทุกๆ 2 วัน 4. เมื่อทา้ การทดลองครบ 8 สัปดาห์ บันทกึ ผลการทดลอง โดยวดั การเจริญเติบโตทางดา้ น น้าหนกั ความยาว และอัตราการตายของปลาสอด การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ทา้ การทดลองระหว่างวันท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ.2562 ถึงวนั ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2562 เมอ่ื ท้าการทดลองครบ 8 สปั ดาห์ ผศู้ ึกษาไดท้ า้ การวดั ผลการเจรญิ เตบิ โตของปลาสอดโดยการชงั่ น้าหนกั วัดความยาว นับจ้านวนปลาท่ตี าย จดบันทกึ ผลการทดลองแล้วหาคา่ เฉลยี่ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู บนั ทึกผลการทดลองแลว้ นา้ ข้อมลู ท่ีได้มาท้าการวิเคราะหข์ ้อมูลทางสถิติดว้ ยโปรแกรม สา้ เร็จรปู โดยใช้สถิติในการวเิ คราะหค์ ือ คา่ เฉลย่ี (Mean) ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation, SD) และ F-test สถานทที่ าการทดลอง ณ โรงเพาะฟกั สตั ว์น้าจืด วทิ ยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปตั ตานี

บทที่ 4 ผลการศกึ ษาค้นควา้ จากการศกึ ษาผลการของการเสรมิ ขม้นิ ชนั ในอาหารต่อการเจริญเติบโตและอัตราการรอดของปลา สอด (Xiphophorus hellerii ) โดยมวี ัตถุประสงค์เพ่อื ศึกษาปริมาณของขมิน้ ชนั ทีเ่ หมาะสมต่อการ เจรญิ เติบโตและอัตราการรอดของปลาสอดเม่ือทา้ การทดลองครบ 8 สัปดาห์ ดงั ตารางที่ 1 ตารางท่ี1 แสดงน้าหนกั เฉลยี่ ของปลาสอดท่ที ดลองเล้ียงด้วยอาหารสา้ เร็จรปู ผสมขมิน้ ชัน เมื่อท้าการ ทดลองครบ 8 สปั ดาห์ ชดุ การทดลอง น้าหนักเฉล่ยี ของปลาสอด (กรัม) ซ้าท่ี1 ซ้าท2ี่ ซ้าท3ี่ ผลรวม x SD ชุดการทดลองท่ี 1 10.5 12 12 34.5 11.50 0.866 (ชุดควบคมุ ) 15 14.9 16 ชดุ การทดลองที่ 2 12 10 11 45.9 15.30 0.608 (ขม้นิ ชัน 0.5 กรมั ) 13 14 14 ชุดการทดลองท่ี 3 33 11 1 (ขม้ินชนั 1 กรมั ) ชดุ การทดลองท่ี 4 41 13.67 0.577 (ขมิ้นชัน 1.5 กรัม) จากตารางท่ี 1 ผลการวเิ คราะห์ผลของการเสรมิ ขม้ินชนั ในอาหารตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและอัตราการ รอดของปลาสอด โดยใหอ้ าหารผสมขม้นิ ชนั ในปรมิ าณที่ตา่ งกนั เมือ่ ทา้ การทดลองครบ 8 สปั ดาห์ พบวา่ ชุดการทดลองท่ี 2 มีความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและอัตราการรอดของปลาสอดดีที่สุด โดยการวดั การเจริญเตบิ โตทางดา้ นนา้ หนักพบวา่ มีน้าหนักเฉลี่ย 15.30 กรัม รองลงมาชุดการทดลอง ที่ 4 มนี ้าหนักเฉลี่ยเท่ากบั 13.67 กรมั รองลงมาชุดการทดลองที่ 1 มีน้าหนักเฉลีย่ เท่ากบั 11.50 กรมั และชดุ การทดลองที่ 3 มีน้าหนกั เฉลี่ยเทา่ กบั 11 กรัม ตามล้าดบั

น้ ำหนักเฉล่ยี ของปลำสอด (กรมั ) 18 16 14 12 10 8 6 4 2 0 ซำ้ ท1่ี ซำ้ ท2ี่ ซำ้ ท3ี่ ชุ ดกำรทดลองท่ี1 ชุ ดกำรทดลองที่2 ชุ ดกำรทดลองท่ี3 ชุ ดกำรทดลองท่ี4 ภาพท่ี 5 กำรวดั กำรเจริญเตบิ โตของปลำสอดดำ้ นน้ำหนัก ตารางที่ 2 ความยาวเฉล่ยี ของปลาสอดเมื่อทา้ การทดลองครบ 8 สัปดาห์ ชดุ การทดลอง ความยาวเฉลีย่ ของปลาสอด (เซนติเมตร) ซ้าท่ี1 ซ้าท่2ี ซ้าท3่ี ผลรวม x SD ชดุ การทดลองท่ี 1 6.1 6 7.2 19.3 6.43 0.665 (ชดุ ควบคมุ ) ชดุ การทดลองท่ี 2 7.5 8.3 8.3 24.1 8.03 0.461 (ขม้นิ ชนั 0.5 กรัม) ชดุ การทดลองที่ 3 5.5 6.5 6.43 18.43 6.14 0.558 (ขม้นิ ชนั 1 กรัม) ชดุ การทดลองท่ี 4 7.1 8.3 7.6 23 7.67 0.602 (ขมิ้นชัน 1.5 กรัม)

จากตารางที่ 2 ผลการวเิ คราะหผ์ ลของการเสรมิ ขม้ินชันในอาหารต่อการเจริญเติบโตและ อตั ราการรอดของปลาสอด โดยให้อาหารผสมขมิ้นชันในปรมิ าณท่ตี า่ งกนั เมื่อท้าการทดลองครบ 8 สปั ดาห์ พบว่าชุดการทดลองที่ 2 มคี วามเหมาะสมตอ่ การเจรญิ เติบโตและอตั ราการรอดของปลาสอด ดีทส่ี ุด โดย วัดการเจรญิ เตบิ โตทางดา้ นความยาวมคี วามยาวเฉลยี่ 8.03 เซนตเิ มตร รองลงมาชุดการ ทดลองท่ี 4 วดั การเจริญเติบโตทางดา้ นความยาวมคี วามยาวเฉลีย่ 7.67 เซนติเมตร รองลงมาชุดการ ทดลองท่ี 1 วัดการเจริญเติบโตทางดา้ นความยาวมีความยาวเฉล่ีย 6.43 เซนติเมตร และชุดการ ทดลองที่ 3 วดั การเจริญเติบโตทางด้านความยาวมีความยาวเฉลี่ย 6.14 เซนตเิ มตร ตามลา้ ดบั ควำมยำวเฉลยี่ ของปลำสอด (เซนตเิ มตร) 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ซำ้ ท1่ี ซำ้ ท2ี่ ซำ้ ท3ี่ ชุดกำรทดลองท่ี1 ชุดกำรทดลองท่ี2 ชุดกำรทดลองที่3 ชุ ดกำรทดลองท่ี4 ภาพท่ี 6 กำรวดั กำรเจริญเติบโตของปลำสอดดำ้ นควำมยำว

ตารางท่ี 3 แสดงอตั ราการตายของปลาสอดเม่อื ท้าการทดลองครบ 8 สัปดาห์ ชุดการทดลอง จา้ นวนการตายของปลาสอด (ตัว) ซ้าท่1ี ซา้ ท่2ี ซา้ ที่3 ผลรวม x SD ชดุ การทดลองที่ 1 3 2 49 31 (ชุดควบคุม) ชดุ การทดลองที่ 2 1 1 13 1 0 (ขมิน้ ชัน 0.5 กรัม) ชดุ การทดลองที่ 3 3 4 4 11 3.66 0.577 (ขมน้ิ ชัน 1 กรัม) ชดุ การทดลองที่ 4 1 2 2 5 1.66 0.577 (ขม้ินชัน 1.5 กรัม) จากตารางท่ี 3 ผลการวิเคราะห์ผลของการเสรมิ ขม้ินชันในอาหารต่อการเจริญเติบโตและ อตั ราการรอดของปลาสอด โดยให้อาหารผสมขมิ้นชนั ในปริมาณที่ต่างกนั เม่ือท้าการทดลองครบ 8 สปั ดาห์ พบวา่ ชดุ การทดลองที่ 2 มีความเหมาะสมตอ่ การเจริญเตบิ โตและอตั ราการรอดของปลาสอด ดีที่สุด อตั ราการตายน้อยทส่ี ดุ มคี ่าเฉล่ยี 1 ตวั รองลงมาชดุ การทดลองท่ี 4 อัตราการตายมีค่าเฉลี่ย 1.66 ตวั รองลงมาชุดการทดลองท่ี 1 อัตราการตายมคี า่ เฉลี่ย 3 ตัว และชุดการทดลองท่ี 3 อัตรา การตายมคี า่ เฉลย่ี 3.66 ตัว ตามลา้ ดับ

จำนวนกำรตำยของปลำสอด (ตวั ) 4.5 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0.5 0 ซ้ำท่ี1 ซ้ำท2่ี ซ้ำท3ี่ ชุดกำรทดลองที่1 ชุดกำรทดลองท่ี2 ชุดกำรทดลองท3่ี ชุดกำรทดลองท่ี4 ภาพท่ี 7 อตั รำกำรตำยของปลำสอด

บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการศกึ ษาค้นควา้ สรุปผลการศกึ ษาค้นคว้า เมื่อส้นิ สดุ การทดลองผลการวิเคราะหผ์ ลของการสรมิ ขมิ้นชันในอาหารต่อการเจริญเติ บโต และอัตราการอดของปลาสอด (Xiphophorus hellerii ) พบวา่ ชุดการทดลองที่ 2 มีความเหมาะสม ตอ่ การเจริญเตบิ โตและอัตราการรอดของปลาสอดดีท่สี ุด โดยการวัดการเจรญิ เติบโตทางด้านน้าหนัก พบว่ามีน้าหนกั เฉลีย่ 15.30 กรัม วัดการเจริญเติบโตทางด้านความยาวมีความยาวเฉล่ีย 8. 03 เซนติเมตร อตั ราการตายนอ้ ยทสี่ ดุ มีคา่ เฉลยี่ 1 ตัว รองลงมาชุดการทดลองท่ี 4 มนี ้าหนักเฉล่ียเท่ากับ 13.67 กรัม วัดการเจรญิ เติบโตทางดา้ นความยาวมีความยาวเฉลยี่ 7.67 เซนติเมตร อัตราการตายมี คา่ เฉล่ยี 1.66 ตัว รองลงมาชดุ การทดลองท่ี 1 มีนา้ หนักเฉลย่ี เทา่ กบั 11.50 กรัม วดั การเจริญเติบโต ทางดา้ นความยาวมคี วามยาวเฉล่ีย 6.43 เซนติเมตร อัตราการตายมีค่าเฉลี่ย 3 ตัว และชุดการ ทดลองท่ี 3 มนี า้ หนกั เฉลย่ี เทา่ กับ 11 กรมั วดั การเจริญเติบโตทางด้านความยาวมีความยาวเฉลี่ย 6.14 เซนตเิ มตร อตั ราการตายมีค่าเฉล่ีย 3.66 ตัว ตามลา้ ดบั ผลการวิเคราะห์ทางสถติ เิ ม่อื เปรียบเทยี บพบวา่ ปรมิ าณของขม้นิ ชันมีความแตกตา่ งกันทางสถิติอย่างมี นยั สา้ คญั (P≤0.05) อภปิ รายผลการศึกษาค้นควา้ จากการศึกษาครั้งน้ี แสดงให้เห็นว่า การเสริมขมนิ้ ชันในชดุ การทดลองท่ี 2 ทดลองเล้ียงปลา สอดโดยใชอ้ าหารสา้ เรจ็ รูปปลาสวยงามจ้านวน 500 กรมั ผสมขมนิ้ ชัน 0.5 กรัม มีความเหมาะสมต่อ การเจริญเตบิ โตและอตั ราการรอดของปลาสอดดที ่สี ดุ โดยมีน้าหนักเฉล่ีย 15.30 กรัม มีความยาว เฉลี่ย 8.03 เซนตเิ มตร อัตราการตายน้อยท่ีสดุ มีค่าเฉล่ยี 1 ตัว เม่ือเทียบกับชุดการทดลองท่ี 4 ชุด การทดลองที่ 1 และชุดการทดลองท่ี 3 เนือ่ งจากชุดการทดลองท่ี 2 ปลาสอดไดร้ ับปริมาณขมิ้นชันใน ระดับทเ่ี หมาะสมท้าใหป้ ลาสอดมีการเจริญเติบโตดี และมีอัตราการตายน้อยที่สุด ดังการศึกษา ของศภุ รัตน์ และคณะ (2553) พบว่า ปลาทองท่ีทดลองเลี้ยงด้วยอาหารเสริมขม้ินชันมีอัตราการ เจริญเตบิ โตและประสิทธภิ าพของอาหารดีกว่าปลาทองท่ีเล้ยี งด้วยอาหารสูตรท่ไี ม่เสริมขม้นิ ชัน

ประโยชนข์ องการศกึ ษาค้นคว้า 1. ท้าให้ทราบปรมิ าณขมนิ้ ชันท่ีเหมาะสมตอ่ การเจรญิ เติบโตของปลาสอด 2. สามารถน้าขมิ้นชนั ไปทดลองกบั ปลาสวยงามชนิดอ่นื ๆได้ 3. เพอ่ื นา้ ข้อมลู จากการวจิ ยั ไปเผยแพรส่ ู่เกษตรกร ชุมชน และผูท้ ส่ี นใจ สามารถน้าไปทดลองใช้กับ ปลาสวยงามชนดิ อ่ืนได้ 4. ชว่ ยลดคา่ ใช้จา่ ยสามารถนา้ พืชสมุนไพรราคาถูกทม่ี ีในพ้นื ที่มาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์กับการเพาะเลี้ยง สัตวน์ ้า ข้อเสนอแนะ 1. ควรมกี ารทดลองใช้ขมน้ิ ชนั กบั สัตว์น้าชนิดอน่ื ๆดว้ ย 2. ควรมีการศกึ ษาสมุนไพรชนดิ อนื่ ๆ มาใชใ้ นสตั วน์ ้า เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพของสัตว์น้าและสร้าง มลู ค่าใหส้ มนุ ไพรได้

เอกสารอา้ งองิ นริ นาม. มปป. โรคของปลาสวยงาม. (ออนไลน)์ สืบค้นจาก https://www.fisheries.go.th/if- phayao/disease/d_beautiful.htm. [10 พฤษภาคม 2562]. นิรนาม. มปป. ขม้ิน. (ออนไลน)์ สืบคน้ จาก wikipedia.org/wiki/ขมนิ้ . [10 พฤษภาคม 2562]. นิรนาม. มปป. ปลาสอด. (ออนไลน)์ สบื คน้ จาก https://www.google.co.th/search?q=% [15พฤษภาคม 2562]. ประภาส โฉลกพันธ์รตั น์. 2560. อาหารปลาสวยงาม. (ออนไลน)์ สืบคน้ จาก https://home.kku.ac.th/pracha/Betta.htm. [20 พฤษภาคม 2562]. ศภุ รัตน์ และคณะ. 2553. ผลของการเสรมิ ขมนิ้ ชนั ในอาหารตอ่ การเจริญเติบโตและภูมิคมุ้ กัน ของปลาทอง. (ออนไลน)์ สบื ค้นจาก https://www.fisheries.go.th/iinland_feed/web2/images/download/goldfish.pdf. [20 พฤษภาคม 2562]. สนธิวฒั น์ และคณะ. (2552). ผลของการใช้สารสกัดขมน้ิ ชันรว่ มกับวิตามินซี ต่อการเจรญิ เติบโต อตั รารอด และความต้านทานตอ่ โรคของกุง้ กา้ มกราม. (ออนไลน์) สืบค้นจาก https://dric.nrct.go.th/index.php?/Search/SearchDetail/220486. [25 พฤษภาคม 2562]. สุภาพร สทุ ิน. 2555. การเล้ยี งและเพาะพนั ธ์ปุ ลาสวยงาม. สา้ นกั พมิ พ์โอเดียนสโตร์, วงั บรู พา กรุงเทพมหานคร. 150 หนา้ . อดเิ ทพชัยย์การณ์ ภาชนะวรรณ. 2559. ผลของขม้นิ ชันทมี่ ตี ่อโรคจุดขาวในปลาสวาย. (ออนไลน์) สืบค้นจาก https://www.fisheries.go.th/iinland_feed/web2/images/download/goldfish.pdf. [30 พฤษภาคม 2562].

ภาคผนวก

ภาพภาคผนวกที่ 1 กระถางทใ่ี ช้ส้าหรบั การทดลอง ภาพภาคผนวกที่ 2 เครื่องชัง่ ดิจติ อล

ภาพภาคผนวกท่ี 3 ถาดอลูมเิ นียม ภาพภาคผนวกท่ี 4 เครอ่ื งปั่น

ภาพภาคผนวกที่ 5 แทง่ แกว้ ภาพภาคผนวกท่ี 6 บกิ เกอรข์ นาด1000 ml

ภาพภาคผนวกที่ 7 ชอ้ นตกั สาร ภาพภาคผนวกที่ 8 เตาอบไมโครเวฟ

ภาพภาคผนวกที่ 9 อาหารส้าเรจ็ รูปปลาสวยงาม ภาพภาคผนวกท่ี 10 ขมิน้ ชัน

ภาพภาคผนวกที่ 11 อบขมิ้นชนั ภาพภาคผนวกท่ี 12 ชงั่ น้าหนักอาหารปลาสวยงาม

ภาพภาคผนวกท่ี 13 ชัง่ น้าหนกั ขม้ินชนั ภาพภาคผนวกที่ 14 อาหารและผงขม้นิ ชนั สา้ หรบั น้า ไป ปั่น

ภาพภาคผนวกท่ี 15 ปนั่ อาหารและผงขมน้ิ ชัน ภาพภาคผนวกที่ 16 น้าอาหารทป่ี นั่ เสรจ็ แล้วผง่ึ ลมใหแ้ หง้

ภาพภาคผนวกที่ 17 บรรจอุ าหารใส่ถุงตามชดุ การทดลอง ภาพภาคผนวกที่ 18 เตรียมชดุ การทดลอง

ภาพภาคผนวกที่ 19 ปล่อยปลาสอดตามชดุ การทดลอง ภาพภาคผนวกที่ 20 ให้อาหารปลาตามชดุ การทดลอง

ภาพภาคผนวกท่ี 21 ครทู ่ปี รกึ ษานเิ ทศและให้ค้าปรกึ ษา ภาพภาคผนวกท่ี 22 เกบ็ ข้อมูลวดั การเจรญิ เติบโตโดยการชั่งนา้ หนัก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook