เอกสารประกอบการสอนรายวชิ ามนี วทิ ยา รหสั วชิ า 3601-2103 หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชน้ั สงู พุทธศกั ราช 2557 สาขาวชิ าเพาะเลย้ี งสัตวน์ ้า ประเภทวิชาประมง หน่วยที่ 1 ความรเู้ บอื้ งตน้ เก่ียวกับมนี วทิ ยา จัดท้าโดย ครนู ุสราสินี ณ พัทลุง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะครูชานาญการ ภาควชิ าประมง วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี สา้ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
1 ICHTHYOLOGY หนว่ ยท1่ี ความรเู้ บอื้ งตน้ เกย่ี วกบั มนี วทิ ยา Introduction Ichthyology จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 1. นักศึกษาสามารถบอกความหมายของมีนวทิ ยาได้ 2. นักศกึ ษาสามารถอธิบายประวัติการศกึ ษามีนวทิ ยาได้ 3. นักศกึ ษาสามารถจา้ แนกรายละเอยี ดของปลาได้ 4. นกั ศึกษาสามารถอธบิ ายการด้ารงชวี ติ ของปลาได้ 5. นกั ศกึ ษาสามารถบอกประโยชนแ์ ละโทษของปลาได้ 6. นักศึกษามีความสนใจใฝร่ ู้ มคี วามรบั ผิดชอบเรียนรู้ด้วยความซือ่ สัตย์ มีคณุ ธรรมและมีมนุษย์ สมั พนั ธ์ ด้าเนินชวี ติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง มนี วทิ ยา (Ichthyology) หมายถงึ ความรู้เก่ียวกับปลาหรือวิชาท่ศี กึ ษาเกีย่ วกับปลา ประวตั ิการศกึ ษามนี วทิ ยา จุดเร่ิมต้นของการศึกษามีนวิทยาอย่างเป็นแบบแผนเริ่มในสมัยกรีกโบราณ บุคคลแรกที่ ศึกษาคือ อะริสโตเติล (384-322 ก่อนคริสต์ศักราช) ปราชญ์ชาวกรีก ได้ศึกษาและบันทึกเรื่องราว ทางชีววิทยาจนได้ชื่อว่าเป็นบิดาทางชีววิทยาและบิดาทางสัตวศาสตร์ อะริสโตเติลได้ใช้วิธีการทาง วทิ ยาศาสตรค์ ้นควา้ หาความจริงต่างๆ ของสิ่งมีชวี ิต ส้าหรับด้านสัตวศาสตร์ก็ใชว้ ิธีการสังเกต ทดลอง ผา่ ตัดอวัยวะภายใน ศึกษาการอพยพย้ายถน่ิ การสบื พันธุ์ของสัตว์ต่างๆ รวมท้ังความรู้ที่เก่ียวกับปลา ก็มีการบันทึกโดยละเอียดถี่ถ้วนและถูกต้อง ยกเว้นช่ือปลาบางชนิดที่อาจมีความคลาดเคล่ือนบ้าง เพราะต้องอาศยั การสอบถามจากชาวประมง จึงไม่มีความแน่นอนนกั หลักวิชามีนวิทยาได้มีการรวบรวมจัดพิมพ์และปรับปรุง โดยอ้างอิงผลงานของอะริสโตเติล ตลอดมา นักวิทยาศาสตร์รุ่นหลัง ได้มีการค้นคว้าเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ขึ้นและยึดถือเป็นต้าราศึกษากัน มาจนกระท่ังทุกวันนี้ จึงเป็นท่ียอมรับกันว่า อะริสโตเติลเป็นนักมีนวิทยาคนแรก ซ่ึงควรจะได้รับการ ยกย่อง (จนิ ดา,2525; พชิ ยา,2555) ศตวรรษท่ี17-18 ใน ค.ศ. 1686 ฟรานซิส วิลโลบี นักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษได้พิมพ์ ผลงานเก่ียวกับชีวประวัติของปลาอังกฤษโดยได้จ้าแนกพรรณปลาไว้จ้านวน 420 ชนิด อย่างเป็น ระบบและมีขั้นตอนท่ีน่าเช่ือถือ งานช้ินนไ้ี ด้ใช้เป็นพ้ืนฐานในการศึกษาแกน่ ักมีนวิทยารุ่นต่อๆ มาเป็น อย่างดี โดยเฉพาะปีเตอร์ อาร์เทดิ (ค.ศ.1705-1735) ได้ใช้พื้นฐานจากวิลโลบีมาปรับปรุงและต้ัง วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี เรยี บเรยี งโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ
2 ICHTHYOLOGY ระบบการวิเคราะห์พรรณปลาไว้อย่างดีมาก จนได้ใช้เป็นหลักในการศึกษาทางด้านอนุกรมวิธานใน เวลาต่อมาจนถึงปัจจุบัน ดังนั้น จึงมีการยกย่องให้ อาร์เทดิเป็นบิดาแห่งมีนวิทยา ใน ค.ศ. 1738 ภายหลังการเสียชีวิตของอาร์เทดิ ผลงานของเขาได้รับการตีพิมพ์ภายใต้ช่ือว่า “SYSTEMA NATURALIST” ผู้ที่น้าออกเผยแพร่คือลินเนียสซึ่งเป็นเพื่อนรักของอาร์เทดิ ต่อจากนั้นงานทางด้าน มนี วิทยาก็ได้รับการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้แพร่หลาย ในยุโรปได้มีการศึกษาเก่ียวกับชีววิทยา เกยี่ วกบั ปลามากข้ึน ท้าให้ความร้เู ก่ยี วกบั ปลาเร่ิมกวา้ งขวางและละเอียดขน้ึ (พิชยา,2555) ความรเู้ บอื้ งตน้ เกยี่ วกบั ปลา การศึกษาเก่ียวกับปลา ควรจะท้าความรู้จักปลาในเบ้ืองต้นก่อนว่า ปลาคืออะไร มีรูปร่าง ลักษณะแบบใด มีชีวิตความเป็นอยู่ และความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม หรือมีประโยชน์และโทษต่อ มนษุ ยม์ ากนอ้ ยเพียงใด ปลาคอื อะไร ในทางมนี วิทยาได้นยิ ามความหมายของค้าว่า ปลา ไวว้ ่า ปลาเป็นสัตว์เลอื ดเย็น มีกระดกู สนั หลงั มขี ากรรไกร เหงือก ครีบ อาศัยอยู่ในน้า รา่ งกายมเี กลด็ หรือเมือกปกคลมุ มหี วั ใจ 2 หอ้ ง สว่ นมากออกลูกเป็นไข่ (จนิ ดา,2555; Lagler et al.,1977) หรอื อาจจ้าแนกเป็นขอ้ ๆโดยละเอยี ดได้ดังนี้ (วิมล,2528) 1. มกี ระดูกสันหลงั 2. มีโนโทคอร์ด (notochord) เสน้ เดยี ว ภายในกลวง ส่วนมากจะพบในระยะแรกของตวั อ่อน 3. เป็นสัตว์ท่อี ยู่ในน้าหรืออย่างนอ้ ยตอ้ งเป็นท่ชี น้ื แฉะ 4. หายใจดว้ ยเหงอื ก 5. เป็นสตั วเ์ ลอื ดเย็น (poikilothermal หรือ cold blooded) หมายถึง อณุ หภมู ิร่างกาย จะเปลี่ยนแปลงไปตามสง่ิ แวดลอ้ ม 6. เลอื ดมสี ีแดง โดยมเี ฮโมโกลบิล (haemoglobin) และเป็นระบบวงจรปิด (closed blood vascular system) ยกเว้นในปลาบางชนิด เชน่ Icefish ที่ไมม่ ีเฮโมโกลบิล 7. มีจมูกสา้ หรับดมกล่นิ 8. ส่วนมากมฟี นั 9. มีหวั ใจ 2 ห้อง 10. รา่ งกายแบง่ ออกเปน็ หัว ลา้ ตัว และหางชัดเจน วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี เรยี บเรยี งโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ
3 ICHTHYOLOGY 11. รา่ งกายปกคลุมดว้ ยเกลด็ หรือมีเมอื กหมุ้ 12. สว่ นมากมสี มมาตร-ซา้ ยขวา (bilateral symmetry) ยกเว้นปลาซีกเดียว 13. มรี ยางคค์ ู่ไมเ่ กิน 2 คู่ 14. มรี ทู วารในบรเิ วณสันท้อง 15. ระบบประสาทอยู่ดา้ นหลัง (dorsal) ของทางเดนิ อาหาร 16. ระบบอวัยวะต่างๆแยกออกจากกัน 17. ส่วนมากเพศผู้และเพศเมยี แยกจากกนั ชดั เจน 18. ส่วนมากออกลูกเป็นไข่ (oviparous) บางชนดิ ออกลูกเปน็ ตวั โดยตวั ออ่ นได้รับอาหาร จากไข่แดง (ovoviviparous) บางชนดิ ออกลกู เป็นตัวอย่างแท้จริง (viviparous) คอื ตัวอ่อนไดร้ ับ อาหารจากแม่โดยตรง และบางชนิดออกลูกโดยไม่ได้รบั การผสมจากเช้อื ตัวผู้ (parthenogenesis) 19. โครงกระดูกอาจเปน็ กระดกู อ่อน (cartilage) หรือกระดูกแข็ง (bone) (ภาพที่ 1.1) ก. ข. ภาพท่ี 1.1 ลกั ษณะของปลากระดูกแข็ง ก. ปลากระดกู อ่อน ข. ทม่ี า: Moyle and Cech, Jr.,2004 วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี เรยี บเรยี งโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พัทลงุ
4 ICHTHYOLOGY ขนาดของปลา ปลามีขนาดแตกตา่ งกันมาก ตัง้ แต่ขนาดเล็กทส่ี ดุ ซ่ึงมีความยาวเมื่อถงึ วัยเจริญพนั ธป์ุ ระมาณ 10-14 มลิ ลิเมตร คอื ปลาบแู่ คระ Dwarf pygmy goby, Mistichthys luzonensis) อย่ใู นมหาสมทุ ร แปซฟิ ิกส์ ประเทศฟิลปิ ปินส์ (Schultz,1948) และปลาทีใ่ หญท่ สี่ ดุ ในโลกคือปลาฉลามวาฬ (Whale shark, Rhincodon typus) ซงึ่ มีความยาวประมาณ 21 เมตร น้าหนักมากกว่า 25 ตนั (ภาพท่ี 1.2) (บพิธ และนันทพร, 2540) รปู ร่างของปลา ปลามีรูปร่างหลายแบบเนื่องจากความแตกต่างของเผ่าพันธุ์ ปลาแต่ละชนิดจะมีพฤติกรรม รวมทั้งที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อมต่างกัน ส่ิงเหล่าน้ีมีอิทธิพลท้าให้ปลามีรูปร่างแตกต่างกันอย่างมาก แต่ส่วนมากแล้วปลามีรูปทรงกระสวย (torpedo-shaped) คือ บริเวณหัวและท้ายจะเรียว ส่วนท้อง จะปอ่ งออก เชน่ ปลาทู ปลาลัง ปลาอนิ ทรี ปลาโอ ปลาทูนา่ ปลาฉลาม เปน็ ต้น รปู รา่ งแบบอ่นื ก็มี คือ รูปทรงกลม เช่น ปลาปักเป้า รูปทรงแบน เช่น ปลากระเบน รูปทรงแบบงู เช่น ปลาไหลมอเรย์ ปลา ไหล ปลาตูหนา ( พชิ ยา,2555; Lagler et al., 1977) แหลง่ ที่อยู่อาศัยของปลา การทป่ี ลามีมากมายหลายชนดิ สาเหตุก็เนื่องมาจากแหล่งที่อยอู่ าศัยที่ของปลา พ้ืนที่ของโลก ปกคลมุ ด้วยนา้ ไม่ตา้่ กว่ารอ้ ยละ70 ปลาสามารถอยู่ได้แทบทุกแห่งท่ีมีน้าต้ังแต่มหาสมุทรแอนตาร์กติก (antarctic) ทีมีอุณหภูมิต่้ากว่าจุดเยือกแข็งจนถึงในน้าพุร้อนมากกว่า 40 องศาเซลเซียส ในน้าจืด สนิทจนถึงน้าเค็มมากกว่าน้าทะเลท่ัวไป ในสายน้าที่ไหลเช่ียวกรากจนมนุษย์ไม่สามารถลุยข้ามได้ จนถึงในน้าท่นี ิ่งสงบ ลกึ และมืด ซึง่ ไม่มสี ัตวม์ ีกระดูกสนั หลงั ชนดิ ใดอยู่ไดย้ กเว้นปลา นอกจากนีป้ ลายัง อยู่ในที่สูงเหนือระดับน้าทะเลได้ถึง 5 กิโลเมตร และตา่้ ลงไปจากระดับน้าทะเลได้อีกถึง 11 กิโลเมตร ดังนั้น การที่ปลามีท่ีอยู่อาศัยอย่างกว้างขวางหลากหลายเช่นนี้ จึงท้าให้มีรูปร่างที่แตกต่างกันและมี จา้ นวนชนดิ ท่มี ากท่สี ดุ ในจา้ พวกสตั ว์มีกระดกู สันหลังดว้ ยกัน (พิชยา,2555;Lagler et al., 1977) วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี เรยี บเรยี งโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ
5 ICHTHYOLOGY ก.ปลาบ่แู คระ ข.ปลาฉลามวาฬ ภาพที่ 1.2 ก. ปลาทเี่ ล็กที่สุดในโลก-ปลาบแู่ คระ (Dwarf pygmy goby,Mistichthys luzonensis) ข. ปลาที่ใหญท่ ี่สุดในโลก ปลาฉลามวาฬ (Whale shark, Rhincodon typus) ทมี่ า: ก. https://aqua.c1ub.net/forum/index.php?topic=140634.0 ข. https://th.wikipedia.org/wiki/% วธิ กี ารดา้ รงชวี ติ ของปลา ปลาด้ารงชีวิตอยู่ในน้า ทง้ั ในทะเล มหาสมทุ ร แม่นา้ และล้าธาร บางชนิดอาศยั อยู่ในถ้า บาง ชนิดอาศัยในน้านิ่ง น้าไหล หรือมีการอพยพไปมาระหว่างน้าจืดกับน้าเค็ม ปลาจะต้องอาศัยน้าเป็น แหล่งทีอ่ ยู่อาศัย หรอื ใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในน้า หายใจด้วยเหงือก บางชนิดมีอวัยวะช่วยในการหายใจ เป็นสัตว์เลือดเย็นคือเป็นสตั ว์ที่อณุ หภูมิร่างกายเปลย่ี นแปลงตามอุณหภูมขิ องส่ิงแวดล้อมรอบตวั ปลา แตล่ ะชนดิ มีการกนิ อาหารท่ีแตกต่างกนั ปลาบางชนดิ กินพชื ปลาบางชนิดกินแพลงก์ตอน บางชนิดกิน สตั วเ์ ป็นอาหาร น้าเป็นตัวกลาง (medium) ในการอยู่อาศัยของปลา เช่นเดียวกับอากาศเป็นตัวกลางของ สัตว์บกและสัตว์ปีก น้าจงึ มีอิทธิพลต่อความเป็นอยู่ของปลาต้ังแต่เกิดจนกระทัง่ ตาย เช่น เป็นแหล่งท่ี เกิด กินอาหาร ด่มื น้า หายใจ เจริญเติบโต ขับถ่าย การสังคมรวมฝูง ฯลฯ ดังน้ันคณุ สมบตั ิของน้าจึงมี ผลตอ่ ปลาโดยตรง วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี เรยี บเรยี งโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ
6 ICHTHYOLOGY การหายใจของปลา จะใช้เหงือกแลกเปลี่ยนออกซิเจนกับน้า แม้ว่าปลาบางชนิดจะมีอวัยวะ อ่ืนช่วยหายใจ แต่ปลาก็ใช้เหงือกเป็นอวัยวะหลักในการหายใจ ปลาไม่สามารถใช้ออกซิเจนจาก อากาศได้โดยตรงเหมือนคน ดังนั้นปริมาณออกซิเจนท่ีละลายในน้าจึงมีความส้าคัญต่อชีวิตปลาเป็น อยา่ งยงิ่ อาหารที่ปลากินก็คือพืชน้าต่างๆ รวมทั้งแพลงก์ตอนพืช (phytoplankton) แพลงก์ตอนพืช เหล่านี้เจริญเติบโตเพ่ิมจ้านวนได้โดยการสังเคราะห์แสง ดังนั้น ปริมาณแสงท่ีส่องลงไปในน้าจึงมีผล ต่อการสร้างอาหารของปลาโดยตรง ปลากนิ เนอ้ื จะกินพวกแพลงกต์ อนสัตว์ (zooplankton) และสตั ว์ อนื่ รวมทัง้ ปลาด้วยกันเองท่มี ขี นาดเล็กกวา่ แสงมคี วามสา้ คัญต่อการด้ารงชีวติ ของปลา นอกจากจะมีผลตอ่ การสังเคราะหแ์ สงของพชื ในน้าแล้วยังมีผลต่อการเจริญเติบโต ความต้านทานโรค การกินอาหาร การสืบพันธ์ุ และพฤติกรรม อน่ื ๆ หากปลาได้รับแสงน้อยหรือมากเกินความต้องการแล้วจะมีผลให้ระบบต่างในร่างกายแปรปรวน จนอาจถึงตายได้ มลภาวะในน้ากส็ ่งผลกระทบต่อปลาได้ ซึง่ สว่ นใหญ่เกิดจากการกระท้าของคน เมอื่ น้า เป็นพิษจะส่งผลกระทบต่อปลา ปลาไม่สามารถหลีกหนีไปท่ีอ่ืนได้ จึงต้องอยู่ในแหล่งน้านั้นและทนอยู่ กับความเป็นพิษตอ่ ไป โรคพยาธิและศัตรูของปลา อาจมาจากภายนอกหรอื เกดิ จากภายในรา่ งกายก็ได้ โรคพยาธิ จากภายนอก เชน่ ไวรัส แบคทเี รีย รา หนอน โพรโตซัว สัตว์จ้าพวกกุ้ง-ปู (crustacean) และปลา ปากกลม (Lamprey) โรคทเ่ี กดิ จากภายในก็มี เช่น มะเร็ง โรคกระดูก โรคตบั โรคความพิการทาง รา่ งกาย เป็นตน้ ศตั รขู องปลาก็ไดแ้ กส่ ตั วอ์ น่ื ๆ รวมทั้งคนและปลาท่ีล่าปลาดว้ ยกันเอง (Lagler et al., 1977) ประโยชน์ของปลา 1. เป็นอาหาร ปลาเป็นอาหารของมนุษย์และสตั ว์อนื่ มานาน ปลาเป็นอาหารโปรตีนที่ย่อย งา่ ย มกี รดอะมโิ นครบถว้ น (amino acid) จึงเหมาะกับคนทุกวัย อีกทง้ั เป็นโปรตนี ทีห่ าง่ายราคาถูก ปลาจึงเปน็ อาหารหลกั ของมนษุ ยม์ าโดยตลอด 2. เป็นสินค้า เม่ือมนุษย์ทุกชาติกินปลา ดังน้ันจึงเกิดมีการซ้ือขายเกิดขึ้น เป็นผลให้ปลา กลายเป็นสินค้าอยา่ งหน่ึง ทง้ั ในรูปของสดและแปรรูป จะสามารถพบเหน็ การซ้อื ขายปลาไดท้ ุกวนั 3. เป็นต้นก้าเนิดของอุตสาหกรรม เน่ืองจากปลาเป็นสินค้า จึงเกิดการแปรรูปเพื่อเก็บไว้ นานๆ สะดวกต่อการใช้ไดท้ ุกเวลา การแปรรปู มหี ลายแบบ เช่น การท้าแหง้ การทา้ ปลากระปอ๋ ง วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี เรยี บเรยี งโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ
7 ICHTHYOLOGY ปลารา้ ปลาเคม็ ปลาส้ม เปน็ ต้น ขนั้ แรกอาจท้าภายในครัวเรอื น ต่อมากม็ กี ารพฒั นาเป็นอุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ขึ้น และก่อให้เกิดอุตสาหกรรมข้างเคียงต่อเน่ืองกัน เช่น การท้าอาหารสัตว์ การต่อเรือ โรงงานน้าแข็ง ร้านขายอุปกรณก์ ารประมง โรงงานอุตสาหกรรมห้องเย็น เป็นต้น 4. เปน็ ประโยชน์ทางการแพทย์ เชน่ การใชก้ ระเพาะลมของปลาเมยี้ นมาเป็นยาบ้ารุงโลหิต การใช้หนังปลานิลมาปดิ แผลไฟไหม้ (อภริ กั ษ์, 2561) 5. เป็นสารสกัดจากส่วนต่างๆ ของร่างกายปลา เช่น สี เมือก เพื่อการท้าสบู่ ท้า เครื่องส้าอาง ท้าน้ามันตับปลา (อภิรักษ์, 2561) นอกจากน้ีน้ามันตับปลาฉลามยังใช้ประกอบเป็นยา รักษาโรคครูมาติซัม แผลไฟไหม้ และแก้ไอ เศษปลาป่นใช้เป็นอาหารเล้ียงสัตว์และท้าปุ๋ย (Bigelow and Schroeder, 1995) 6. ก้าจัดแมลง มีแมลงบางชนิดเป็นภัยต่อคน สัตว์เลี้ยง และพืช แมลงบางชนิดจะวางไข่ และเติบโตในน้า หรืออยู่ในน้าตลอดชีวิต ปลาช่วยกินไข่ ตัวอ่อน และแมลงเหล่าน้ันเป็นอาหาร เป็น การรักษาสมดุลของธรรมชาติซ่ึงเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์อย่างมาก ปลาที่ช่วยก้าจัดแมลงได้อย่างดี เชน่ ปลากนิ ยุง 7. ประโยชนใ์ นด้านการศกึ ษาและวจิ ยั วชิ าท่ีศกึ ษาเกีย่ วขอ้ งกบั ปลามีหลายอยา่ ง เช่น ชลธีวิทยา นิเวศวิทยา สมุทรศาสตร์ ส่วนศาสตร์ประยุกต์ก็มี เช่น การเพาะเล้ียงสัตว์น้า ผลิตภัณฑ์ สัตว์น้า นอกจากนี้ยังมีการศึกษาท่ีเก่ียวเนื่องกับวิทยาศาสตร์สาขาอื่นๆ เช่น การใช้ปลาทดลองเพ่ือ ศกึ ษาความเป็นพษิ ของสารพษิ ในน้า เปน็ ต้น 8. เป็นกีฬา ท่องเที่ยว และนันทนาการ เกมส์การตกปลาเป็นการพักผ่อนและเป็นกีฬา ปลาเป็นส่วนประกอบของธรรมชาติท่ีประดับโลกให้สวยงาม เมื่อเลี้ยงไว้ในบ้านจะท้าให้เกิดความ เพลดิ เพลนิ ในใจ 9. เป็นส่วนหน่ึงของส่ิงแวดล้อม ปลาส่วนใหญ่เป็นส่วนประกอบท่ีส้าคัญของระบบนิเวศ เนอื่ งจากเปน็ ผ้ทู ่อี ยใู่ นชั้นบนของห่วงโซ่อาหาร ปลาเป็นแหลง่ เตอื นภัยทางสง่ิ แวดลอ้ ม อันตรายจากปลา แม้ว่าปลาส่วนใหญ่จะมีประโยชน์ต่อมนุษย์ แต่ก็มีบ้างท่ีเป็นโทษหรือมีอันตรายถึงชีวิต เราจึงควรได้รู้จกั ไวเ้ พือ่ เปน็ การป้องกันตวั จากอนั ตรายเหล่านน้ั ซึง่ ไดแ้ ก่ 1. ปลากินคน โดยเฉพาะปลาฉลามเป็นปลาทด่ี ุร้าย หากเห็นเรือขนาดเลก็ ปลาเหล่าน้ีอาจ เข้าโจมตีท้าให้เรือล่มแล้วกัดกินเหย่ือ ปลาฉลามที่เป็นอันตรายมีเพียงบางชนิด เช่น ปลาฉลามขาว หรือฉลามกินคน (White shark, Man-eater, Carcharodon carcharias- เป็นชนิดท่ีดุร้ายท่ีสุด) ส่วนปลาฉลามวาฬซ่ึงมีขนาดใหญ่มากไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ ปลาชนิดน้ีกินแต่เพียงปลาและ วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี เรยี บเรยี งโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พัทลงุ
8 ICHTHYOLOGY สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กเท่านั้น ปลาฉลามที่ไม่เป็นอันตรายมีประมาณร้อยละ 85 ของปลาฉลามท้ังหมด (bigelow and Schroeder, Pygocentrus 1995) นอกจากน้ีก็มีปลาปิรันย่า ( Piranhas หรือ Piranya) เป็นปลาพ้ืนเมืองในอเมริกาใต้ สกุล Serrasalmus และ จัดว่าเป็นสกุลปลาน้าจืดที่ดุร้าย ทส่ี ุดในโลก ชอบหากินเป็นฝูง สามารถรุมกินมนุษยห์ รือสัตว์ขนาดใหญ่ได้หมดภายในเวลาอันรวดเร็ว เพราะมีฟันท่ีคมกริบเหมือนใบมีด แต่ก็มีปลาปิรันยาหลายชนิดท่ีเป็นปลากินพืชและมีนิสัยไม่ดุร้าย (สุภาพร, 2542) 2. พิษจากต่อมพิษ ปลาบางชนิดมีต่อมพิษตามส่วนต่างๆของร่างกาย ส่วนใหญ่จะอยู่ตาม เงี่ยงหรือก้านครีบแข็ง เช่น ปลามังกร ปลากะรังหัวโขน ปลาหิน ปลากระเบนบางชนิด ปลากลุ่มนี้มี พิษร้ายแรงถึงขั้นท้าให้เสียชีวิตได้ภายในเวลาอันรวดเร็ว ส่วนปลาอ่ืนๆมีพิษเพียงแต่ท้าให้เจ็บปวด เทา่ นั้น เช่น ปลากด ปลาแขยง ปลาดกุ ปลาสลิดหิน ปลาขีต้ ังเปด็ ปลาฉลามบางชนดิ (สบื สนิ , 2527) 3. เนือ้ เป็นพิษ ปลาบางชนิดมีเนอื้ เป็นพษิ โดยเฉพาะปลาปักเป้า (Tetraodontidae) มพี ิษ ท้าให้ชาหรือเป็นอัมพาตและอาจถึงแก่ชีวิตหากรักษาไม่ทัน เนื้อปลาปักเป้าอาจรับประทานได้ ถ้า ได้รับการล้างและท้าอย่างถูกวิธี ชาวญ่ีปุ่นเป็นชนชาติที่มีความรู้ในการประกอบอาหารจากเนื้อปลา ชนิดน้ี (Halstead, 1995) ส่วนปลาอื่นที่มีพิษส่วนใหญ่จะเป็นเพราะอาหารท่ีปลากินเข้าไปสะสมอยู่ ในเน้ือ เม่ือมนุษย์รับประทานปลาน้ันเข้าไปจึงเกิดเป็นพิษ เช่น ปลาบ้าหรือปลาพลวงในบางฤดูอาจ กนิ เมล็ดพืชบางชนิดซึ่งมีพิษเข้าไปหรือปลาบางชนิดกินแพลงก์ตอน ในบางฤดูกาลจะมีแพลงก์ตอนที่ เป็นพิษเกิดข้ึนมาก และปลาได้กินแพลงก์ตอนนั้นเข้าไปสะสมในตัว ท้าให้เนื้อเป็นพิษต่อมนุษย์ท่ี รบั ประทานปลานั้นเข้าไป 4. กระแสไฟฟ้า ปลาท่ีมกี ระแสไฟฟ้ามีอยู่ไม่มากนกั แตอ่ ันตรายตอ่ มนุษย์มีได้ต้ังแต่รสู้ ึกชา ไปจนถึงขั้นเสยี ชีวิต ปลาทมี่ กี ระแสไฟฟา้ เช่น ปลาไหลไฟฟา้ ปลาดกุ ไฟฟ้า ปลากระเบนไฟฟา้ วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี เรยี บเรยี งโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ
9 ICHTHYOLOGY บรรณานกุ รม กรมประมง. 2530. ภาพปลาและสตั วน์ า้ ของไทย. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรงุ เทพฯ. ________. 2557. ปลาลงั . (ออนไลน)์ สบื ค้นจาก https://www4.fisheries.go.th/local/file_document/ [10 มถิ นุ ายน 2561]. ________. 2557. ปลาลนิ้ ควายเกลด็ ลน่ื . (ออนไลน์) สบื ค้นจาก https://www4.fisheries.go.th/local/file. [25 มถิ นุ ายน 2561]. ________. 2557. ปลาดาบลาวยาว. (ออนไลน)์ สบื ค้นจาก https://www4.fisheries.go.th/local/file. [25 มิถนุ ายน 2561]. ________. 2557. ปลาจาระเม็ด. (ออนไลน์) สืบค้นจาก https://www4.fisheries.go.th/local/file. [25 มถิ นุ ายน 2561]. ________. 2558. ปลาหมอชมุ พร. (ออนไลน์) สืบคน้ จาก https://www.fisheries.go.th/rgm- chumphon/ ปลาหมอชุมพร. [30 มิถุนายน 2561]. กฤษณ์ มงคลปัญญา และ อมรา ทองปาน. 2533. ชวี วทิ ยา. คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ. จันทมิ า อุปถัมภ์. 2558. เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าชวี วทิ ยาของปลา. วิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยีสงขลา, สงขลา. เทพ เมนะเศวต. ม.ป.ป. ปลา. กรุงเทพฯ : กองสา้ รวจและค้นควา้ . กรมประมง. ทวีศักดิ์ ทรงศริ กิ ลุ . 2530. คมู่ อื การจา้ แนกครอบครวั ปลาไทย. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, กรงุ เทพ. นติ ยา เลาหะจินดา. 2539. ววิ ฒั นาการของสตั ว.์ : คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. นริ นาม. มปป. ตวั อยา่ งปลารปู ทรงแบบเสน้ ดา้ ย. (ออนไลน์) สบื ค้นจาก https://www.google.com/search?biw=1366&bih=608&tbm=isch&sa. [27 มถิ ุนายน 2561]. นริ นาม. มปป. ปลาผเี ส้ือนกกระจบิ . (ออนไลน)์ สบื ค้นจาก https://www.google.com/search?q=ปลาผีเสื้อนกกระจิบ&stick. [27 มถิ นุ ายน 2561]. นริ นาม. มปป. ปลาโรนนิ . (ออนไลน)์ สืบค้นจาก https://news.kapook.com/topics/ปลาโรนิน. [27 มถิ นุ ายน 2561]. วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี เรยี บเรยี งโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ
10 ICHTHYOLOGY บรรณานกุ รม (ตอ่ ) นิรนาม. มปป. เกลด็ แบบพลาคอยด์. (ออนไลน)์ สืบคน้ จาก https://www.google.co.th/search?q=เกล็ด+placoid&tbm=isch&source=iu&ictx=. [27 มถิ นุ ายน 2561]. นริ นาม. มปป. ปลาลูกผงึ้ . (ออนไลน์) สบื คน้ จาก http://aqualib.fisheries.go.th/mobile/fxp_detail.php?txtFish_id=174 [28 มถิ นุ ายน 2561]. นริ นาม. มปป. ปลาสเตอรเ์ จยี้ น. (ออนไลน)์ สืบคน้ จาก http://animal-of-the-world.blogspot.com/2010/03/blog-post.html [29 มิถนุ ายน 2561]. นริ นาม. มปป. ปลาแซลมอน. (ออนไลน์) สบื คน้ จาก http://www.flku.jp/ [29 มิถุนายน 2561]. นิรนาม. มปป. ปลาสลดิ . (ออนไลน)์ สืบคน้ จาก https://www.google.com/search?q= [29 มถิ ุนายน 2561]. นริ นาม. มปป. ปลากดั . (ออนไลน์) สบื ค้นจาก www.google.com/search?biw=811&bih [30 มถิ นุ ายน 2561]. นริ นาม. มปป. ปลากดั . (ออนไลน)์ สบื คน้ จาก www.google.com/search?biw=811&bih [30 มิถุนายน 2561]. นริ นาม. มปป. ปลาตะเพยี นทราย. (ออนไลน)์ สืบคน้ จาก https://www.google.com/search?q= ปลาตะเพียนทราย&tbm. [30 มถิ ุนายน 2561]. นริ นาม. มปป. ปลาฉนาก. (ออนไลน)์ สบื คน้ จาก https://th.wikipedia.org/wiki/ปลาฉนาก [10 สิงหาคม 2561]. นริ นาม. มปป. ปลาฉลาม. (ออนไลน์) สืบคน้ จาก https://th.wikipedia.org/wiki/ปลาฉนาก [10 สิงหาคม 2561]. นริ นาม. มปป. ปลาแลมเพรย.์ (ออนไลน์) สบื คน้ จาก https://www.shutterstock.com/th/image-photo/river-lamprey-isolated- [10 สิงหาคม 2561]. นิรนาม. มปป. ต้าแหนง่ ทตี่ ง้ั ของหนวดปลา. (ออนไลน์) สืบค้นจาก htttp://www.pfcollege.com/images/column_1529463/.[15 สิงหาคม 2561]. วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี เรยี บเรยี งโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ
11 ICHTHYOLOGY บรรณานกุ รม (ตอ่ ) นริ นาม. มปป. เกล็ดปลา. (ออนไลน์) สบื คน้ จาก http://zmku.sci.ku.ac.th/ZMKU%20image/Lab%2011_Fish_60_Color.pdf [20 สิงหาคม 2561]. นิรนาม. มปป. เกล็ดปลา. (ออนไลน์) สบื ค้นจาก http://zmku.sci.ku.ac.th/ZMKU%20image/Lab%2011_Fish_60_Color.pdf [25 สงิ หาคม 2561]. นิรนาม. มปป. เหาฉลาม. (ออนไลน์) สืบค้นจาก https://www.dmcr.go.th/detailAll/24207/nws/141. [25 สิงหาคม 2561]. นิรนาม. มปป. ปลาแองเกอร.์ (ออนไลน์) สบื คน้ จาก https://www.google.com/imgres?imgurl=http://www.oknation.net/. [27 สงิ หาคม 2561]. นิรนาม. มปป. ปลาซวิ แกว้ . (ออนไลน์) สืบคน้ จาก http://fishbase.se/photos/thumbnailssummary.php?ID=11891 [27 สิงหาคม 2561]. นิรนาม. มปป. ปลานกกระจอก. (ออนไลน์) สืบคน้ จาก https://www.google.com/search?biw=1093&bih. [27 สิงหาคม 2561]. นริ นาม. มปป. อวยั วะภายในของปลากระดกู ออ่ น. (ออนไลน์) สบื คน้ จาก https://athidtiya1995.files.wordpress.com/2014/11/internal-fish3.jpg. [30 สงิ หาคม 2561]. นริ นาม. มปป. อวยั วะภายในของปลากระดกู แขง็ . (ออนไลน)์ สบื คน้ จาก https://www.google.co.th/search?biw=1366&bih=667&ei. [30 สิงหาคม 2561]. บพิธ จารุพนั ธุ์ และนันทพร จารพุ นั ธ์ุ. 2540. สตั ววทิ ยา. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์,กรงุ เทพฯ. ประจติ ร วงศร์ ัตน.์ 2541. มนี วทิ ยา (ปฏบิ ตั กิ าร). คณะประมง มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. ประวทิ ย์ สุรนีรนาถ. 2531. การเพาะเลย้ี งสตั วน์ า้ ทว่ั ไป. ภาควิชาเพาะเลี้ยงสตั วน์ ้า คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี เรยี บเรยี งโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พัทลงุ
12 ICHTHYOLOGY บรรณานกุ รม (ตอ่ ) ประวทิ ย์ สรุ นีรนาถ. มปป. ปลากระโทงแทงกล้วย (ออนไลน์) สบื ค้นจาก http://www.dooasia.com/fish/fish-mf011.shtml. [15 มถิ นุ ายน 2561]. ปรีชา สุวรรณพนิ ิจ และนงลกั ษณ์ สวุ รรณพนิ ิจ. 2537. ชวี วทิ ยา 2. พมิ พ์ครงั้ ท่ี 2. : ส้านกั พมิ พแ์ ห่ง จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. พิชยา ณรงค์พงศ์. 2555. มนี วทิ ยา. พิมพ์ครง้ั ที่ 1 ส้านักพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. ราชบัณฑติ ยสถาน. 2525. พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน. อกั ษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ. วมิ ล เหมะจนั ทร. 2528. ชวี วทิ ยาปลา. ส้านักพมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , กรุงเทพฯ. _______________. 2556. ปลาชวี วทิ ยาและอนกุ รมวิธาน. ส้านักพมิ พ์แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, กรงุ เทพฯ. วรี พงศ์ วฒุ ิพนั ธ์ชุ ัย. 2536. การเพาะพนั ธปุ์ ลา. ภาควชิ าวาริชศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา. วฒุ ิชยั เจนการ และจิตตมิ า อายุตตะกะ. ม.ป.ป. พฤติกรรมของปลาฉลาม. สถาบันประมงน้าจืด แหง่ ชาติ กรมประมง, กรงุ เทพฯ. วัลภา ชวี าภิสณั ห์. 2558. เอกสารประกอบการสอนชวี วทิ ยาของปลา. วิทยาลัยประมงติณสูลานนท์, สงขลา. สืบสิน สนธิรตั น์. 2527. ชวี วทิ ยาของปลา. ภาควชิ าวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะประมง, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ. สภุ าพ มงคลประสิทธิ.์ 2529. มนี วทิ ยา (ปฏบิ ตั กิ าร). กรงุ เทพฯ : คณะประมง มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ. สุภาพร สุกสีเหลือง. 2538. การเพาะเลยี้ งสัตวน์ า้ .: ศนู ย์ส่ือเสริมกรุงเทพฯ, กรงุ เทพ. . 2542. มนี วทิ ยา. ภาควชิ าชวี วทิ ยา มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ, กรงุ เทพฯ. อภนิ นั ท์ สวุ รรณรักษ์. 2561. มนี วทิ ยา. พิมพ์ครงั้ ที่ 2 คณะเทคโนโลยกี ารประมงและทรัพยากรทางน้า มหาวิทยาลัยแมโ่ จ้, เชยี งใหม่. อทุ ัยรตั น์ ณ นคร. 2538. การเพาะขยายพนั ธป์ุ ลา. ภาควิชาเพาะเลีย้ งสตั วน์ ้า คณะประมง, มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี เรยี บเรยี งโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พัทลงุ
13 ICHTHYOLOGY บรรณานกุ รม (ตอ่ ) อญั ชลี เอาผล. 2560. ลกั ษณะอวยั วะภายในของปลานลิ . (ออนไลน์) สบื ค้นจาก http://zmku.sci.ku.ac.th/ZMKU%20image/Lab%2011_Fish_60_Color.pdf. [27 มถิ ุนายน 2561]. Anonymous. 2009. Angler Fish. [online]. (n.d.). Available from: http://www.eyezed.com/. [28 December 2010]. Bigelow, H.B., and Schroeder, W.C. 1995. “Sharks,” Fishes of the Western North Atlantic. The New Encyclopaedia Britannica 19: 208-215. Bond, C.E. 1979. Biology of Fishes. U.S.A.: Saunders, College Publishing. . 1996. Biology of Fishes. 2nd ed. U.S.A.: Saunders College Publishing. Bone, Q and Moore, R.H. 2008. Biology of Fishes. 3th ed. (n.p.): Taylor & Francis Group. Evans, D.H. 1993. The Physiology of Fishes. Florida: CRC Press. “Fishes”. 1995. The New Encyclopaedia Britannica 19: 192.206. Halstead, Bruce W. 1995. Poisonous and Venomous Marine Animals of the world. The New Encyclopacdia Britannica 19: 271-273. Hildebrand, M. 1995. Analysis of Vertebrate Structure. New York: John Wiley & Sons. Jobling, M. 1995. Environmental Biology of Fishes. London: Chapman & Hall. Lagler, K. F., et al. 1977. Ichthyology. New York: John Wiley & Sons. “Lungfishes (Dipnoi)”. 1995. The New Encyclopaedia Britannica 19: 216-218. Marshall, N.B. 1965. The Life of Fishes. London: Weidenfeld and Nicolson. Moyle, P.B. and Cech, Jr., J.J. (1982). Fishes an Introduction to Ichthyology. New Jersey: Prentice-Hall. . 2004. Fishes : an introduction to ichthyology. 5 ed. Upper Saddle River, NJ 07458: Prentice-Hall. Nelson, J.S. 2006. Fishes of The World. 4 ed. Hoboken, New Jersey: John Wiley & Sons. Nikolsky, G.V. 1965. The Ecology of Fishes. London: Acadamic press. Norman, J.R. 1948. A History of Fishes. New York: A.A. Wyn. Pincher, C. 1948. A Study of Fishes. New York: Duell, Sloan & Pearce. วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี เรยี บเรยี งโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ
14 ICHTHYOLOGY บรรณานกุ รม (ตอ่ ) Schultz, L.P. 1948. The Ways of Fishes. New Jersey: D. Van Nostrand. “The early ray-finned fishes”. 1995. The New Encyclopaedia Britannica 19: 218-223. Webster’s Third New International Dictionary of The English Languagu Unabridged. Volume 2. 1976. Chicago: G & C Mcrrim. วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี เรยี บเรยี งโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พัทลงุ
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: