Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 2 รูปร่างและลักษณะภายนอกและภายในของปลา (Shape of External and Internal of Fish)

หน่วยที่ 2 รูปร่างและลักษณะภายนอกและภายในของปลา (Shape of External and Internal of Fish)

Published by นุสราสินี ณ พัทลุง, 2021-04-25 10:56:40

Description: หน่วยที่ 2 รูปร่างและลักษณะภายนอกและภายในของปลา (Shape of External and Internal of Fish)

Search

Read the Text Version

2.5.6.4 rostral barbel เป็ นหนวดคทู ่อี ยบู นสว นของจะงอยปากแตอยใู นรอ ง ท่ีแบงสว นของจะงอยปากออกจากสว นของขากรรไกรและอยทู างดา นบนของกระดูก premaxilla ประมาณบริเวณรอยตอ ของกระดกู premaxilla และ กระดูก maxilla หนวด แบบนีพ้ บในปลาตะเพยี น เป็ นตน 2.5.6.5 mental หรือ chin barbel เป็ นหนวดท่อี ยบู รเิ วณใตค าง มีทัง้ เป็ นคู และเป็ นหนวดเด่ียวๆ พบในปลาจวด ปลาแพะ เป็ นตน รวบรวมโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พัทลงุ

2.5.7 ผิวหนัง (skin) ผวิ หนังของปลาทาํ หนาท่ปี  องกันเชือ้ โรคจากภายนอก เป็ นท่ีรวม ของประสาทรบั ความรูส กึ ชวยในการหายใจ ขับถา ย เป็ นตน ผิวหนังของปลา ประกอบ ดวยเนื้อเย่ือ 2 ชัน้ ชัน้ นอกเรยี ก epidermis ชัน้ ในเรียก dermis หรอื corium 2.5.8 เกล็ด (scale) เกล็ดเป็ นส่งิ ปกคลมุ ตัวปลา มหี นาท่ปี  องกนั อนั ตรายแกต ัวปลามี ตนกาํ เนิดมาจากผวิ หนังชัน้ ใน ถอื เป็ นโครงกระดูกภายนอก (exoskeleton) เน่ืองจากเป็ น สว นท่อี ยภู ายนอกและหอหมุ ลําตวั ปลาเป็ นสว นใหญ ปลาท่ีไมมีเกล็ดเรียกวา ปลาหนัง (catfish) ปลาท่ีมีเกลด็ เรยี กวา ปลาเกลด็ (carp) ปลาบางชนิดมเี กล็ดปกคลมุ เฉพาะบาง สว น ปลาบางชนิดมีเกล็ดท่ีหลุดงา ย บางชนิดยดึ ติดแนน (ภาพท่ี 2.38) รวบรวมโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ

2.5.9 เสน ขา งตวั (lateral line) ทอดยาวจากขอบของกระพุง แกมไปจนถึงโคนหาง เป็ นอวัยวะรับความรสู ึก มีลักษณะเป็ นรอยเสนเลก็ ๆ บนเกล็ดขางตวั ปลา ในปลาไมมี เกลด็ รอยเสน นีจ้ ะอยูบนผวิ หนัง จุดเร่มิ ตนคอื บริเวณตอนบนสุดของชองเหงือก ทอด ยาวไปตามขา งตวั ถึงปลายสดุ ของกระดูกสันหลงั (hypural bone) ซ่งึ อยตู รงโคนครบี หาง ปกตจิ ะมขี า งละ 1 เสน แตป ลาบางชนิดอาจมีมากกวา 1 เสนหรอื ไมม เี ลย เสน ขางตัวอาจเป็ นเสนตดิ ตอ กันไปตลอดหรือขาดเป็ นตอนๆ และอาจโคง งออยใู น ตาํ แหนงท่สี ูงหรือต่ําก็ได แตสวนใหญจ ะอยูระดบั กลางตวั หนาท่ขี องเสนขางตัวคอื รับ ความส่ันสะเทือนของนํ้ารอบตัว การเปล่ียนแปลงอณุ หภมู ิและความเค็ม ทาํ ใหป ลารบั รูถึงความเคล่ือนไหวของส่งิ ท่อี ยรู อบตัวไดทัน ชวยการหลบหลกี อนั ตรายและหา อาหาร (ภาพท่ี 2.39) รวบรวมโดย ครนู สุ ราสินี ณ พทั ลงุ

รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

2.5.10 ครีบ (fin) ครบี ปลาอยูบ รเิ วณลําตวั และสว นหางใชว ายนํ้าและทรงตวั ประกอบดวยครีบหูหรืออก ครบี ทอง ครบี หลงั ครบี หาง และครีบกน (ภาพท่ี 2.40) ลักษณะครบี ในปลาปากกลมยังไมมีการพฒั นากานครบี ท่แี ทจ รงิ มีเพยี งกานกระดกู ออนเทา นัน้ ปลากระดกู ออ นกานครีบเป็ นแบบ ceratotrichia และมีกา นกระดกู ออ นท่ี มรี ปู รางเป็ นแทง รองรบั อยดู า นใต สาํ หรบั ในปลากระดูกแข็ง มีครีบท่ีประกอบดวย กานครีบท่เี ป็ นแบบ lepidotrichia ประกอบดวยกานครบี (fin ray) ไดแ ก กานครีบแข็ง (spiny fin ray ) ลักษณะเป็ นกา นครีบแข็งทอนเดยี วปลายแหลมคมอยู ตอนตน ของครีบ กานครบี ออ น (soft fin ray ) มลี กั ษณะเป็ นปลองหรอื ทอสนั้ ๆ ตอ กัน เป็ นกา นครบี และปลายกานครบี อาจแตกเป็ น 2-3 แขนงและเนื้อเย่อื ท่ียดึ กา นครีบ (fin membrane) (ภาพท่ี 2.41) รวบรวมโดย ครูนสุ ราสินี ณ พทั ลงุ

รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

ครีบปลาแบงได 2 แบบ คอื 1. ครีบเด่ียว (single fin) มีหนาท่ที รงตัวไมใหเอยี งซา ย-ขวาและเป็ นหางเสอื คัดทาย ไดแก 1.1 ครบี หลัง (dorsal fin) อยสู วนหลงั ของลําตัว อาจแยกเป็ น 2-3 ตอน หรอื แยกออกเป็ นแตล ะอนั ในปลากระดกู แข็งชนั้ ต่าํ จะมเี พียงอนั เดียวและเป็ นกานครีบ ออ นทงั้ หมด เชน ปลาหลังเขียว สว นในปลาชนั้ สูงจะมตี ัง้ แต 2 อนั ขนึ้ ไป โดยครบี อนั แรกจะเป็ นกา นครบี แขง็ และอันท่ี 2 จะเป็ นกา นครีบออ นพบในปลากระบอก ปลาทู เป็ นตน โดยท่ัวไปปลามคี รบี หลัง 1 อนั หากมี 2 อันจะเป็ นครบี หลังอันแรกท่เี ป็ นกา น ครบี แขง็ ปลาบางชนิดครีบหลงั อนั ท่ี 2 เป็ นครีบไขมัน (adipose fin) (ภาพท่ี 2.43) ปลาบางชนิดครบี หลงั อนั ท่ี 3 เป็ นครบี ฝอย (finlet) (ภาพท่ี 2.44) รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พัทลงุ

ในปลาบางชนิดครีบหลังจะตดิ ตอกบั ครบี หางและครีบกน พบในปลาไหล นอกจากนีใ้ น ปลาบางชนิดครบี หลงั อาจเปล่ียนรูปรางไป (ภาพท่ี 2.45) เพ่ือการปรบั ตัวในการดาํ รงชวี ติ เชน สว นหนาของครีบหลงั เปล่ยี นเป็ นเสน ย่นื ยาวออกไป พบในปลาลิน้ หมาหงอนยาว ปลาโฉมงาม ปลาทรายแดง หรือครีบหลังอันแรกเปล่ียนไปเป็ นอวยั วะยดึ เกาะ (sucking disc) พบในปลาเหาฉลาม หรือครีบหลงั อนั แรกเปล่ียนไปเป็ นอวัยวะเปลงแสง ใชเ ป็ นเคร่ืองมือสําหรับลอ เหย่ือ พบในปลาแองเกอร (angler fish) รวบรวมโดย ครูนสุ ราสินี ณ พทั ลงุ

รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

1.2 ครีบกน (anal fin) เป็ นครีบเด่ยี วท่มี ีตําแหนงอยทู างดา นทา ยของรกู น ขนาด และรปู รา งแตกตา งกนั ปลาบางชนิดครบี กน จะมีลกั ษณะหรือการทําหนาท่เี ปล่ยี นไป (ภาพท่ี 2.46) เชน ปลาโฉมงามมีกานครีบกนเรียวยาว (ภาพ ก.) สว นปลาหางนกยูง บางสว นของครบี กนเปล่ียนไปทาํ หนาท่ชี ว ยในการสบื พนั ธุ (ภาพ ข) ปลาสว นมากครบี กนมี 1 อนั ยกเวน ปลาซิวแกว (Corica sp.) มคี รีบกน 2 อนั ปลาท่ไี มพบครบี กน เชน ปลากระเบน รวบรวมโดย ครูนุสราสนิ ี ณ พัทลงุ

1.3 ครีบหาง (caudal fin) อยทู างสวนทายสดุ ของลาํ ตวั ปลากระดกู ออ นมักมี ครบี หางตัง้ ขนึ้ แพนครบี หางตอนบนใหญกวา ตอนลา ง ปลากระดกู แขง็ จะมคี รีบหาง แบบสมมาตร บน-ลา ง แมว าตวั ผขู องปลาบางชนิดอาจมกี ารเปล่ยี นแปลงในตอนหลงั โดยมสี ว นบนหรอื สว นลางของครบี หางย่นื ยาวออกไป ครบี หางมีรูปแบบตางๆ ดงั นี ้ (สภุ าพร, 2550) (ภาพท่ี 2.47) 1.3.1 หางแบบเฮเตอโรเซอคอล (heterocercal tail) หางแบบนีม้ คี รีบ หางแพนบนยาวกวา ครีบหางแพนลาง เพราะสว นปลายของกระดกู สนั หลังขอ สดุ ทา ยจะ ถกู ยกเชิดและโคงขึน้ ไป พบในพวก ปลาฉลาม ปลาสเตอรเ จยี น ปลาการ 1.3.2 หางแบบไฮโปเซอคอล (hypocercal tail) ครบี หางแบบนีจ้ ะมี ลักษณะตรงกันขา มกับท่ีกลา วมาขางตน เพราะกระดกู สนั หลังขอสุดทา ยจะโคงลงยัง แพนลาง ทําใหครบี หางแพนลางยาวกวาแพนบน พบในหางของฟอสซลิ ปลาท่ีสูญพันธุ ไปแลว รวบรวมโดย ครูนสุ ราสนิ ี ณ พัทลงุ

1.3.3 หางแบบไดฟิ เซอคอล (diphycercal tail หรือ protocercal caudal tail) ครีบหางแบบนีจ้ ะมีปลายของกระดกู สันหลงั ขอสุดทา ยเหยยี ดตรง และสนิ ้ สดุ ลงท่ีบรเิ วณ เกือบปลายสุดของครบี หาง ทําใหสว นหางแบง ออกเป็ นสองสว นเทาๆกัน คือ สวนบนและ สว นลาง ครบี หางแบบนีพ้ บในปลาปากกลม และตัวออนของปลาทุกชนิด 1.3.4 หางแบบไอโซเซอรค ลั เทล (isocercal tail) กระดูกสันหลงั ขอสุดทา ย เปล่ยี นรูปเป็ นแผนเลก็ ๆ และสว นปลายของกระดกู สนั หลังไมจ รดสวนปลายของครบี แพนหางจะเทา กนั ทัง้ บนและลาง กานครีบท่ีประกอบเป็ นครีบหางจะแยกจากครีบหลงั และ ครบี กน พบในปลาคอด ปลาพระอาทิตย (Sunfish, Mola mola) 1.3.5 โฮโมเซอรคัลเทล (homocercal tail) เป็ นครีบหางของปลากระดูกแข็งใน ปั จจุบนั มองจากภายนอกจะเหน็ แพนหางบนและลางเทากนั สว นโครงสรางภายในจะแตก ตา งจากแบบท่ีกลา วมาแลว คือ มีกระดูกยูโรสไตล (urostyle) ซ่ึงโคงขนึ้ ขางบนตอออกมา จากกระดูกสนั หลงั ขอ สุดทา ย และมไี ฮพรู ลั โบนท่ีประกอบกนั เป็ นไฮพรู ัลเพลต อยทู าง ดานลางของยูโรสไตล กานครีบหางจะตอออกมาจากไฮพูรลั เพลต โดยมกี านครบี ของ แพนหางบนและลา งจํานวนเทา ๆกัน แบงยอยออกไปเป็ น (ภาพท่ี 2.48) คือ รวบรวมโดย ครูนุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

1.3.5.1 หางแบบสอ ม (forked tail) มรี อยหยกั เวา ลกึ ตรงกลาง ครีบจึงเป็ น 2 แฉก คลายสอม ครบี แพนบนและลา งมคี วามยาวเทา กันหรอื ใกลเ คียงกัน เชน ปลาทู ปลาไน ปลาลงั ปลาอินทรี ปลาดาบลาว ปลาแขง ไก ปลาหลงั เขยี ว เป็ นตน 1.3.5.2 หางแบบเวาตนื้ (emarginated tail) หางเวา แตไมลกึ เทาหางเวาวง เดอื น พบในปลาขา งลาย ปลานกฮกู ปลาโนรี ปลากะพงขาว ปลาเหด็ โคน ปลาสลิด ปลากระด่ี เป็ นตน 1.3.5.3 หางแบบวงเดอื น (lunate หรอื concave tail) สวนทายของครบี หาง แบบนีจ้ ะมีรอยเวา โคงคลายวงเดอื น ตวั อยางไดแก ปลาโอ ปลากะโทงแทง 1.3.5.4 หางแบบตดั ตรง (truncate tail หรือ straight) ครบี หางท่ีมปี ลายกา น ครีบยาวเทากนั แลดเู ป็ นเสน ตัดตรง ตวั อยา งไดแก ครีบหางของปลาหชู า ง ปลาเสอื ตอ ปลานิล ปลาแซนดฟ ิ ช เป็ นตน รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

1.3.5.5 หางแบบกลม (rounded tail) ปลายหางแบบนีจ้ ะมลี ักษณะกลมมน คลายพดั ตัวอยา งไดแ ก ครีบหางของปลาชอ น ปลากะรงั ปลาบูบางชนิด ปลาดุก 1.3.5.6 หางแบบปลายแหลมหรอื แบบใบโพธ์ิ (pointed tail) ปลายหางจะกลม ยาวแลวคอ ยๆ คอดแหลมหรอื เรียวคลายใบโพธ์ิ พบในครีบหางของปลาบูแ ละปลาเขอื 1.3.5.7 หางรปู จ่วั (double emarginated tail) ปลายหางแบบนีจ้ ะย่ืนยาวเป็ นรปู จ่วั หรือสามเหล่ยี ม พบในปลาจวด ปลามา ปลาจกั รผาน ปลาเสือดาว 1.3.6 หางไจฟิ โลเซอคลั (gyphilocercal tail) แบง เป็ น 1.3.6.1 หางไอโซเซอคลั (isocercal tail) มกี ระดกู ยูโรสไตลแ ผเป็ นแผน แบน พบในปลาคอ ด 1.3.6.2 หางเกไฟโลเซอคลั (gephylocercal tail) กระดูกสันหลังบางสวนหาย และเปล่ียนไปเป็ นแผนแบน อาจเช่ือมกบั ครบี หลงั และครบี กน พบในปลาซนั ฟิ ช 1.3.6.3 หางเลปโตเซอคลั (leptocercal tail) หางท่มี กี ารลดขนาดของกระดกู สันหลัง และอาจมกี ารเช่อื มกบั ครีบหลังและครบี กน พบใน ปลาปอด ปลาไหล ปลาฟิ ช ปลากระเบน รวบรวมโดย ครูนุสราสนิ ี ณ พัทลงุ

1.3.7 หางแฟนซี (fancy caudal fin) ครบี หางแบบนีจ้ ะไมมรี ปู แบบท่ีแนชดั แตด ัดแปลง ไปเป็ นแผนบาง ใหญ ดสู วยงาม พบในปลาทอง รวบรวมโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พัทลงุ

รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

2. ครีบคู (paired fin) ทาํ หนาท่พี ยุงตัวและวายนํ้ารวมทงั้ การหยดุ หรอื เบรก ไดแก 2.1 ครบี อกหรอื ครบี หู (pectoral fin) เป็ นครีบคูท่อี ยูสวนทา ยของแผน ปิ ดกระพงุ แกม โดยอยขู างละ 1 อนั รูปรางและตาํ แหนงอาจเปล่ียนไปตามววิ ฒั นาการของปลา เชน ปลาท่ี วายนํ้าเรว็ จะมคี รีบหทู ่มี ลี ักษณะเป็ นรูปเคียว ปลาท่ีมวี ิวัฒนาการมากครีบจะอยูใ นระดับสงู ปลาบางชนิดไมม ีครบี หู เชน ปลาปากกลม ครบี หขู องปลาบางชนิดอาจเปล่ยี นรปู ไป (ภาพท่ี 2.49) เชน ปลากระเบนมคี รบี หูแผเป็ นแผน กวาง ชว ยในการวา ยนํ้าไดด ี สวนปลา นกกระจอกครีบหมู ขี นาดใหญ ทําใหส ามารถบนิ ขนึ้ เหนือนํ้าได รวบรวมโดย ครูนุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

2.2 ครบี ทองหรือครบี เอว (pelvic fin) เป็ นครีบคทู ่อี ยตู ่ํากวา ระดับครีบอกหรือครบี หู (ภาพท่ี 2.50) สว นมากอยูท ่ีบรเิ วณทองปลา รปู รางและตําแหนงท่ตี ัง้ ของครีบทองจะแตก ตา งกนั แลว แตชนิดของปลาดงั นี ้ 2.2.1 ตาํ แหนงทอ ง (abdomen position) (ภาพ ก.) อยเู ยอื้ งไปขา งหลงั ครีบอกจนถงึ บรเิ วณทองใกลรทู วาร จัดเป็ นปลาท่ีคอนขางโบราณ มีววิ ฒั นาการต่ํา พบในปลาโคก ปลาหลงั เขยี ว (Sardine) ปลาแมว (anchovy ) เป็ นตน 2.2.2 ตาํ แหนงอก (thoracic position) (ภาพ ข.) อยตู รงใตค รบี อกพอดี เชน ปลาโอ ปลาทู ปลาลัง ปลาทรายขาว ปลาทนู า เป็ นตน 2.2.3 ตําแหนงคอ (Jugular position) (ภาพ ค.) อยูล าํ้ ไปทางหนาของครบี อกจน เกือบถงึ สว นของอิสทม สั เป็ นปลาท่มี วี ิวฒั นาการสงู เชน ปลาลิน้ หมา ปลากระบ่ี เป็ นตน รวบรวมโดย ครูนสุ ราสนิ ี ณ พัทลงุ

รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

2.6.11. คอดหาง (caudal peduncle) อยูตอนทา ยของสวนหางตอกบั ครบี หาง เป็ น สวนท่แี คบท่สี ดุ ของลําตัว 2.6.12. รูกน (anus หรือ cloaca) รูกนสวนใหญจ ะอยหู นาครีบกน เป็ นจดุ แบง ระหวา งสวนลาํ ตวั กบั สวนหางในปลากระดกู แขง็ รกู นเรียกวา (anus) เพราะเป็ นทางออก ของอจุ จาระเทานัน้ สว นเชอื้ สืบพันธุและปั สสาวะจะมีทางออกอกี รูหน่ึงเรียกวา (urogenital pore) ซ่งึ จะอยูถ ัดจากแอนัสมาทางดานทาย แตใ นปลากระดกู ออนรูกน เรยี กวา โคลอาคา (cloaca) เพราะเป็ นทางออกรวมของเสียและเชือ้ สืบพันธุ รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พัทลงุ

2.6 อวัยวะภายในของปลา อวัยวะภายในของปลาสวนใหญจะมคี ลายกัน แตแตกตางออกไปตามกลมุ ของปลา จากปลาปากกลม ปลากระดกู ออน และปลากระดกู แขง็ สามารถศกึ ษารายละเอยี ดเพ่มิ เตมิ ไดใ นบทท่ี 7 ระบบทางเดนิ อาหารของปลา 2.6.1 หวั ใจ (heart) เป็ นกอ นเนื้อสีแดงเขม อยูท ่บี ริเวณอกดานใตของเหงอื ก ปลา ฉลามจะมีหัวใจขนาดใหญแ บง เป็ นสวนตางๆดูชัดเจน สวนปลากระดูกแขง็ มีหัวใจขนาด เลก็ (ภาพ ก.) 2.6.2 กระเพาะลม (gas-bladder) ไมพบในพวกปลากระดูกออ นและปลากระดกู แข็ง บางชนิด ลกั ษณะเป็ นถุงสขี าวนวลเคลือบเงาเล็กนอย ปกติ เป็ นถงุ เด่ียวยาวเรยี วทอด ขนานอยดู า นบนของอวัยวะภายในทัง้ หมด มีปลายดานทายตนั ยกเวนปลาบางกลมุ เชน ในวงศปลาหลังเขยี ว (Clupeidae) จะมดี านปลายเป็ นรูเปิ ดสภู ายนอกใกลบรเิ วณรูกน กระเพาะลมนีจ้ ะมที อเรียกวา (pneumatic-duct) เช่ือมติดตอ กบั ทางเดินอาหาร สําหรบั ปลามีปอด (lungfish) กระเพาะลมนีจ้ ะทําหนาท่เี ป็ นปอด สวนปลาอ่นื ๆ นัน้ กระเพาะลมจะ ชวยเร่ืองการทรงตัวหรอื การปรบั ตวั ในเร่ืองการเปล่ียนแปลงความกดดนั (ภาพ ข.) รวบรวมโดย ครูนสุ ราสนิ ี ณ พัทลงุ

2.6.3 ตับ (liver) จะเป็ นพใู หญส ีเหลอื งเห็นไดชดั เจน อยูเหนือหวั ใจ เยือ้ งไปทางดา น หลงั เลก็ นอย สขี องตับอาจแตกตางกนั ไปบา งตามชนิดของปลา โคนของตับติดอยูกบั เย่ือ ท่ีตดิ ผนังดานทอ งของชองตวั ตับมหี นาท่ีสรา งนํ้ายอยและเป็ นท่สี ะสม (ภาพ ค.) 2.6.4 ถุงนํ้าดี (gall bladder) เป็ นถงุ เลก็ ๆ รูปรา งกลม มีขนาดเล็กหรือใหญแ ลวแต ชนิดของปลาจะฝั งอยูในพูของตบั ปลามสี เี ขยี ว หรือเขยี วอมฟ าขนึ้ อยูก ับความเขมขน ของ นํ้าดี จากถงุ นํ้าดีมีทอ ติดกบั ตบั เรยี กวา cystic duct (ภาพ ง.) 2.6.5 ไต (kidney) มสี แี ดงเขมเกือบจะเป็ นสนี ํ้าตาล มเี ป็ นคอู ยทู อดยาวเหนือชองตวั ติดอยูใตก ระดูกสนั หลังอยูน อกเย่ือบุชองทอง ทําหนาท่ีขบั ถา ยของเสียท่ีเป็ นของเหลว ซ่งึ รางกายไมตอ งการ โดยจะมที อ ไปเช่อื มตอกบั กระเพาะปั สสาวะ (urinary bladder) (ภาพ จ.) 2.6.6 มา ม (spleen) มีสแี ดงเขม มขี นาดเล็กตดิ อยบู รเิ วณกระเพาะอาหารสว นปลาย มักจะทอดขนานไปดว ยกนั มีหนาท่ีในการชว ยสรางเมด็ เลอื ดแดง (ภาพ ฉ.) รวบรวมโดย ครูนสุ ราสินี ณ พัทลงุ

2.6.7 กระเพาะอาหาร (stomach) เป็ นอวยั วะท่คี อ นขา งใหญเหน็ ไดช ดั เจน รูปราง แตกตา งกนั ไปแลว แตชนิดปลาตงั้ อยบู รเิ วณใตต ับ กระเพาะอาหารเป็ นสว นตดิ ตอมาจาก หลอดคอ รูปรา งมีหลายลกั ษณะอาจเป็ นตวั U พบในปลาแรด ปลาลนิ ้ หมา เป็ นตน หรือรปู ตวั J พบในปลาทู ปลาฉลาม เป็ นตน หรอื อาจเหยียดตรง พบในปลาชอ น ปลานิล ปลาสลดิ เป็ นตน กระเพาะจะแบง เป็ น 2 สวน คือ กระเพาะสว นตนซ่ึงมกั จะโป งหรือพอง ออกเรยี กวา cardiac สวนปลายมกั จะเรยี วเล็กลงเรียกวา pyloric ในปลาบางชนิดจะมี กระเพาะอาหารเสริมเรยี ก gizzard อยถู ดั จากกระเพาะอาหารมกี ลา มเนื้อหนา พบในวงศ ปลากระบอก ปลาโคก (ภาพ ช.) 2.6.8 อณั ฑะ (testis) เป็ นอวัยวะสบื พันธขุ องปลาเพศผู จะเห็นชัดเจนในระยะฤดผู สม พนั ธุ มกั มลี กั ษณะเป็ นฝั กคูข นานอยูกบั ดานบนของชอ งตัว แตพออวัยวะนีเ้ จรญิ มากขึน้ อาจมรี ปู รา งเปล่ียนแปลงไปมาก เชน อณั ฑะของปลาสวายจะมลี ักษณะเป็ นกระจุกของถุง เล็กๆ รูปรางเรยี วยาวปลายแหลมเป็ นพวงใหญ คลา ยตัว และอัณฑะของปลาดุกจะมี ลกั ษณะเป็ นแผน แบนเพยี งสองดา น เป็ นตน สําหรับปลาฉลามอัณฑะเป็ นแทน ยาวแบน สคี รีมสองฝั กอยูใ นตําแหนงเดียวกับท่ีพบรงั ไข (ภาพ ซ.) รวบรวมโดย ครูนุสราสินี ณ พัทลงุ

2.6.9 รังไข (ovary) เป็ นอวยั วะสบื พันธุของปลาเพศเมยี มกั จะพบเห็นไดช ดั เจน ในฤดผู สมพนั ธเุ ม่ือไขเ ร่มิ แกจ ะมสี เี หลืองเขมขึน้ ปลากระดูกแขง็ ท่ัวไปจะมรี ังไขเป็ นฝั กสี เหลอื งเป็ นคูอยูข นานดา นบนของชองตวั สีจะแตกตางตามความเจรญิ มากนอยของเม็ดไข สวนรงั ไขของปลาฉลามจะมีขา งเดยี วโดยมากพบทางดา นขวาไมเป็ นฝั กยาวเหมือนปลาก ระดูกแข็ง (ภาพ ฌ.) 2.6.10 ตับออน (pancreas) เป็ นอวยั วะสีเหลืองออ น ปลากระดกู แขง็ ท่ัวไปมักมี ตับออนอยูก ระจดั กระจาย สว นของปลาฉลามยังเหน็ เกาะกลมุ เป็ นกอ นติดอยูปลายมาม และมีบางสว นจะติดอยูกับเย่อื mesentery ปลาบางชนิดตบั ออ นลดขนาดลงเหลอื เพียง เป็ นแถบเสนใยขาวๆ เทานัน้ ในปลาบางชนิดบางสวนของตบั ออ นจะฝั งตวั อยใู นตบั ตาํ แหนงปกตขิ องตับออ นจะตงั้ อยบู ริเวณสว นทายของกระเพาะอาหาร ตับออ นมหี นาท่ี สรางนํ้ายอ ยอาหารหลายชนิดและฮอรโ มน รวบรวมโดย ครนู สุ ราสินี ณ พทั ลงุ

2.6.11 ลาํ ไส (intestines) ลาํ ไสแบง เป็ นสวนตน คอื ลาํ ไสเ ล็ก (small-intestine) อยู ตอ จากกระเพาะอาหารลงมา ลําไสเล็กจะมหี นาท่ีในการชว ยยอ ยอาหาร ลําไสต อนปลาย สว นสุดทายท่ีจะเปิ ดออกสูภ ายนอกเรยี กลาํ ไสใ หญ (rectum) หรือ large intestine) ลาํ ไสใ หญข องปลากระดูกออ นจะขยายพองใหญ ซ่ึงภายในจะมเี นื้อเย่อื พบั ซอ นกันเป็ นเพ่ิม พนื้ ท่ีในการดูดซึมอาหารท่ถี ูกยอ ยแลว มลี กั ษณะท่ีเรยี กวา แบบ (scroll valve) พับมว นซอน เป็ นหลายชนั้ หรอื แบบ (spiral valve) มลี กั ษณะมว นวนเป็ นบันไดเวียน ความยาวของลาํ ไส จะสนั้ หรอื ยาวกเ็ ป็ นลักษณะบงชถี ้ งึ นิสยั การกินอาหารของปลา คอื ถา ลําไสยาวจะเป็ นปลา กนิ พชื ถา ลําไสส ัน้ จะเป็ นพวกท่กี นิ เนื้อ หรอื บางกลุม เป็ นปลาท่ีชอบกินตัวออ นแมลงนํ้า (ภาพ ญ.) 2.6.12 ไสต่ิง (pyloric caeca) สวนใหญจ ะพบในปลากระดูกแข็ง บางชนิดพบหลาย อนั เชน ปลาชอ น ปลาทู เป็ นตน บางชนิดไมม ีเลย ไสต ่ิงมีลักษณะเป็ นเสน เล็กเรยี วยาว อยูบ ริเวณลาํ ไสเ ล็กตอนตน (duodenum) ตรงสว นท่ีตอจากระเพาะอาหารลงมา สวนหนาท่ี ยงั ไมช ดั เจนมากนัก แตเ ป็ นไปไดว า ทาํ หนาท่เี ก่ยี วกับการสรางเอนไซมท่ีชว ยในการยอย และดดู ซึมอาหาร (ภาพท่ี 2.56) รวบรวมโดย ครูนสุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ

รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น-หลังเรยี น หนวยท่ี 2 เร่อื ง รปู รา งและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา คําชแี ้ จง เลือกคาํ ตอบท่ถี ูกท่สี ดุ เพียงคําตอบเดียว 1. ปลาชนิดใดมีรปู รางแบบกระสวย (fusiform หรือ torpedo shape) ก. ปลาทู ข. ปลากระด่ี ค. ปลาสลิด ง. ปลานิล จ. ปลาดาบลาว 2. ปลาชนิดใดมรี ปู รางแบบงู (anguilliform) ก. ปลาไหล ข. ปลาโอ ค. ปลาดาบเงิน ง. ปลาดาบลาว จ. ปลาดุกทะเล 3. ปลาชนิดใดมีรปู ทรงแบนลง (depressiform) ก. ปลานิล ข. ปลาลนิ ้ หมา ค. ปลาฉนาก ง. ปลาโฉมงาม จ. ปลาจาระเม็ด รวบรวมโดย ครูนุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

แบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรยี น 4. ตัวเลือกใดคือกลุม ปลาท่ีมีรปู รา งแบบลําตัวยาว (elongate) จ. ปลาโฉมงาม ก. ปลาไหล ปลาทู ปลาโอ ข. ปลาไหล ปลาวาฬ ปลาฉนาก ค. ปลาฉลาม ปลาโรนิน ปลาตูหนา ง. ปลาไหล ปลานํ้าดอกไม ปลาดาบเงิน จ. ปลากะพงขาว ปลากระทิง ปลานวลจันทรทะเล 5. ปลาชนิดใดมรี ูปรางลาํ ตวั สัน้ (oblong) ก. ปลาโอ ข. ปลาไหล ค.ปลาจาระเม็ด ง. ปลาพระจันทร รวบรวมโดย ครนู สุ ราสินี ณ พทั ลงุ

แบบทดสอบกอ่ นเรียน-หลังเรยี น 6. การแบง สัดสวนบนรางกายปลา หมายถึง การแบงสดั สวนในขอ ใด ก. สว นหัว-สว นกลาง ข. สว นหวั -สวนกลาง-สวนทาย ค. สวนหวั -สวนลําตวั -สว นหาง ง. สวนหวั -สวนกลาง-สว นลําตวั จ. สวนหัว-สว นกลาง-สว นลาํ ตวั -สวนทาย 7. สว นหัวของปลาคอื สวนท่นี ับตัง้ แตบริเวณใดของปลา ก. ปลายสุดของจะงอยปาก ไปจนจรดลูกตา ข. ปลายสดุ ของจะงอยปาก ไปจนจรดบริเวณรกู น ค. ปลายสุดของจะงอยปาก ไปจนจรดสว นตน ของครีบหู ง. ปลายสุดของจะงอยปาก ไปจนจรดสวนตน ของครีบหลงั จ. ปลายสดุ ของจะงอยปาก ไปจนขอบดา นทา ยของกระพุงแกม รวบรวมโดย ครูนุสราสนิ ี ณ พัทลงุ

แบบทดสอบก่อนเรยี น-หลงั เรียน 8. การวัดความยาวทัง้ หมดของปลา Total length (TL) มีวิธกี ารวัดอยางไร ก. การวดั จากขอบหลงั ตาปลาไปจนถึงขอบปลายสุดของแผน ปิ ดเหงือก ข. การวดั ความยาวจากปลายสดุ ของจะงอยปากทางดานหนาไปจนถงึ บรเิ วณคอดหาง ค. การวดั จากปลายสดุ ทางดานหวั ไปจนถงึ สว นท่ีเวา ลึกท่ีสุดของรอยหยกั เวา ของครบี หาง ง. การวดั ความยาวจากปลายสุดของจะงอยปากทางดานหนาไปจนถึงปลายสดุ ของครบี หาง จ. การวดั จากเสนตัง้ ฉากท่ตี ดั กบั ขอบทางดา นหนาสดุ ของตาไปจนจรดเสนตงั้ ฉากท่ตี ดั กับ ขอบหลงั สุดของตา 9. การวดั ความลึกของลําตัวปลา Body height (BH) มีวธิ ีการวดั อยา งไร ก. การวัดชว งกลางของครบี หลังลงมารูกน ของปลา ข. การวดั ชวงท่ีสูงท่สี ดุ หรอื สวนท่ีกวางท่สี ุดของตวั ปลา ค. การวัดชวงกลางของครบี หลังลงมาสันทองของตัวปลา ง. การวัดจากขอบหลังตาไปจนถึงขอบปลายสดุ ของแผน ปิ ดเหงอื ก จ. การวดั ชวงเร่มิ ตนของครบี หลงั ลงมาเป็ นเสน แนวด่ิงบรเิ วณสวนทอ งของปลา รวบรวมโดย ครูนสุ ราสนิ ี ณ พัทลงุ

แบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรียน 10. รปู รา งของปลาเป็ นลกั ษณะท่ีบง บอกอะไรในการดํารงชีวติ จ. ปลากะพงขาว ก. การสืบพนั ธุ จ. ปลาปิ รันยา ข. การเคล่ือนท่ี ค. การกินอาหาร ง. แหลง ท่อี ยอู าศัย จ. การตอสปู  องกันตวั 11. ปลาชนิดใดมตี าํ แหนงปากดานบน (superior mouth) ก. ปลาทู ข. ปลาเขม็ ค. ปลากเุ รา ง. ปลาจาระเม็ด 12. ปลาชนิดใดมปี ากแบบฟั นเล่ือย (saw-like mouth) ก. ปลาฉลาม ข. ปลาฉนาก ค. ปลาโรนัน ง. ปลามา นํ้า รวบรวมโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ

แบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรยี น 13. ปลาชนิดใดมีปากแบบยดื หดได (protractile mouth) จ. ปลากระเบน ก. ปลาลงั ข. ปลากด ค. ปลาดุก ง. ปลาแป น จ. ปลากระด่ี 14. หนวดปลา (barbel) ทาํ หนาท่ีใด ก. ป องกันศตั รู ข. การผสมพันธุ ค. อวัยวะชวยหายใจ ง. ชวยในการเคล่ือนท่ี จ. การรับสมั ผสั และชวยหาอาหาร 15. chin barbel พบในปลาชนิดใด ก. ปลาดกุ ข. ปลากด ค. ปลาแขยง ง. ปลาจวด รวบรวมโดย ครูนุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

แบบทดสอบก่อนเรยี น-หลงั เรยี น 16. latera line ทาํ หนาท่อี ะไร ก. ทําหนาท่รี ะบายนํ้า ข. ทําหนาท่ีรบั ความรสู กึ ค. ทําหนาท่ชี วยหาอาหาร ง. ทําหนาท่ชี ว ยป องกนั ตัว จ. ทําหนาท่ีชว ยในการทรงตัว 17. ครีบคขู องปลาคือตวั เลอื กใด ก. ครบี ทองและครีบอก ข. ครบี หลังและครบี อก ค. ครีบหางและครีบอก ง. ครบี ทอ งและครบี กน จ. ครบี หลังและครบี หาง รวบรวมโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พัทลงุ

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น-หลังเรียน 18. ปลาชนิดใดมหี างรูปสอ ม (forked tail) ก. ปลานิล ข. ปลาทู ค. ปลาชอ น ง. ปลาบู จ. ปลาทราย 19. กระเพาะอาหาร (stomach) ของปลาชนิดใดมรี ปู รางลักษณะเป็ นรปู ตัวเจ (J) ก. ปลานิล ข. ปลาแรด ค. ปลาสลดิ ง. ปลาลิน้ หมา จ. ปลาฉลาม 20. ปลาชนิดใดกระเพาะลมทําหนาท่ีเป็ นปอด ก. ปลาแฮก ข. ปลาปอด ค. ปลาฉลาม ง. ปลาปิ รันยา จ. ปลาแลมเพรย รวบรวมโดย ครูนสุ ราสินี ณ พทั ลงุ

เอกสารอา้ งองิ รวบรวมโดย ครูนุสราสนิ ี ณ พัทลงุ

เอกสารอา้ งองิ (ตอ่ ) รวบรวมโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พัทลงุ

เอกสารอา้ งองิ (ตอ่ ) รวบรวมโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พัทลงุ

เอกสารอา้ งองิ (ตอ่ ) รวบรวมโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พัทลงุ

เอกสารอา้ งองิ (ตอ่ ) รวบรวมโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พัทลงุ

สวสั ดคี ะ่