สรปุ โครงการเศรษฐกิจพอเพียงน้อมนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 1 ตามรอยพ่ออยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ประจาปี 2564 สรุปโครงการเศรษฐกิจพอเพียง น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามรอยพอ่ อยอู่ ย่างพอเพียง ประจาปี 2564 ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบแลศะนู ยก์กาารรศึกศษึกานษอการะตบบาแมละอกาัธรศยึกษาาศตายัมออธั ยาาศเภัยออาเภคอค้อ้อววังัง สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวัดยโสธร
สรปุ โครงการเศรษฐกิจพอเพียงน้อมนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1 ตามรอยพอ่ อยอู่ ยา่ งพอเพียง ประจาปี 2564 สภาพท่ัวไปอาเภอค้อวัง เมื่อปีพุทธศักราช 2518 อาเภอค้อวังแบ่งการปกครองออกเป็น 3 ตาบล คือ ตาบลฟ้าห่วน ตาบลกุดน้าใส และตาบลน้าอ้อม รวมทั้งส้ิน 30 หมู่บ้าน ต่อมาได้ยกฐานะเป็นอาเภอเม่ือวันที่ 26 มนี าคม 2522 และได้แบง่ เขตการปกครองในขณะน้นั ออกเปน็ 4 ตาบล ตาบลฟ้าห่วน ตาบลกุดน้าใส ตาบลนา้ ออ้ ม และตาบลค้อวัง รวมทัง้ สน้ิ 45 หมู่บ้าน อาเภอค้อวัง เดิมมชี อ่ื ว่า “บ้านโนนค้อ” อยใู่ นเขตการปกครองของอาเภอมหาชนชัย ตอ่ มาได้มี ภกิ ษุกรรมฐานรูปหน่ึงชือ่ “วัง” เดนิ ทางมาจากอาเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ ได้มาบาเพ็ญพรอยู่ ที่บ้านโนนคอ้ พระภกิ ษุรูปนี้เป็นท่ีนา่ เล่ือมใสของประชาชนในหม่บู ้านโนนคอ้ และบา้ นใกล้เคยี งเป็นอย่าง มาก ดังนัน้ ประชาชนจึงไดอ้ พยพมาตงั้ บ้านเรือนทบี่ ้านโนนคอ้ เปน็ กลุ่มกอ้ นขึ้น และไดเ้ รยี กชือ่ หมู่บา้ นนวี้ า่ หมู่บ้าน “ค้อวัง” ตั้งแต่น้ันเป็นต้นมาอาเภอค้อวัง ต้ังอยู่ท่ีถนนพลไว – ยางชุมน้อย ห่างจากจังหวัด ยโสธร ระยะทางประมาณ 70 กโิ ลเมตร มีประชากรประมาณ 27,484 คน ทิศเหนอื ตดิ ต่อกบั เขตอาเภอมหาชนชยั จงั หวัดยโสธร ทิศตะวนั ออก ติดตอ่ กับเขตอาเภอเข่ืองใน จงั หวัดอุบลราชธานี ทศิ ใต้ ติดต่อกบั เขตอาเภอราศไี ศล จงั หวดั ศรีสะเกษ ทิศตะวันตก ติดต่อกบั เขตอาเภอมหาชนชยั จงั หวดั ยโสธร ลกั ษณะพื้นทอี่ าเภอค้อวัง อาเภอคอ้ วัง เปน็ พนื้ ท่ีราบลุ่ม พ้นื ท่ีตาบลนา้ อ้อมบางสว่ นตดิ เขตทุ่งกุลาร้องไห้ มีแมน่ า้ ชีไหลผา่ น ประชากรสว่ นใหญ่ของอาเภอค้อวงั ประกอบอาชพี ทางการเกษตรและเลยี้ งสัตว์ ลกั ษณะการปกครองของอาเภอคอ้ วงั อาเภอค้อวงั แบ่งออกเป็น 4 ตาบล ประกอบดว้ ย 1. ตาบลคอ้ วัง 2. ตาบลน้าออ้ ม 3. ตาบลกุดน้าใส 4. ตาบลฟา้ ห่วน มีเทศบาลตาบล 1 แหง่ องคก์ ารบริหารส่วนตาบล 4 แห่ง มสี มาชกิ สภาองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัด 1 คน มีสมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎร 1 คน ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอคอ้ วงั
สรปุ โครงการเศรษฐกิจพอเพยี งนอ้ มนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2 ตามรอยพอ่ อยอู่ ย่างพอเพียง ประจาปี 2564 วฒั นธรรมในท้องถ่ิน มงี านประเพณีสาคัญในชุมชน คือ ประเพณีบุญบง้ั ไฟช่วงเดอื นพฤษภาคมถึงเดือนกรกฎาคมของ ทกุ ปี ประเพณีบญุ แข่งเรือทตี่ าบลฟ้าห่วนชาวบา้ นยดึ ถือประเพณดี ง้ั เดมิ วา่ “ฮีตสบิ สองครองสบิ ส่ี” เศรษฐกจิ ในชมุ ชน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชพี หลกั คอื ทานาข้าว อาชีพเสรมิ ปลูกหอม กระเทยี ม เลยี งสตั ว์ และอ่นื ๆ พชื เศรษฐกิจหลักของอาเภอค้อวงั คือ หอมแดง ถ่วั ลิสง และพริก ประวตั ศิ ูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอคอ้ วงั ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอค้อวังเปล่ียนจากช่ือเดิม คือ ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอค้อวัง เป็นสถานศึกษาสังกัดส่วนกลางขึ้นตรงต่อสานักงาน สง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวัดยโสธร สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศจัดตั้งเมอ่ื วันที่ 26 กรกฎาคม 2536 โดยใชอ้ าคารห้องสมดุ หลงั เกา่ เปน็ ทที่ าการ ลาดับผบู้ รหิ ารจนถึงปัจจุบัน ลาดับท่ี ช่ือ-สกุล ปกี ารศกึ ษา พ.ศ.2537 - พ.ศ.2539 1. นายโม โรปริรัมย์ พ.ศ.2540 - พ.ศ.2543 พ.ศ.2545 - พ.ศ.2548 2. นางกรรณิการ์ รอบคอบ พ.ศ.2548 - พ.ศ.2551 พ.ศ.2551 - พ.ศ.2554 3. นายจักรกริช บุญเดช พ.ศ.2554 - พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 - พ.ศ.2558 4. นายเจียม ขนั เงิน พ.ศ.2559 - พ.ศ.2560 พ.ศ.2561 ถงึ ปจั จบุ ัน 5. วา่ ที่ ร.ต.สานติ ย์ เจอื จันทร์ 6. นางกรรณกิ าร์ รอบคอบ 7. นางพสิ มยั ชมภบู ตุ ร 8. นางแสงเพญ็ โลค่ า 9 นางสาวียะ พนั ธ์ฤุ ทธิ์ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอค้อวัง
สรุปโครงการเศรษฐกจิ พอเพยี งน้อมนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3 ตามรอยพอ่ อยอู่ ย่างพอเพียง ประจาปี 2564 บทที่ 1 บทนา หลกั การและเหตผุ ล การสร้างหลักพื้นฐานในการดารงชีวิตให้คนในชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้น้ันควรให้ความรู้ เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง เรื่องการดารงชีวิตตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงหลักพื้นฐานความ พอมี พอกิน พอใช้รู้จักพอประมาณ เป็นเบื้องต้น แล้วจึงปลูกฝังให้ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด ซึ่งมี กลุ่มเปา้ หมาย นกั ศกึ ษาและประชาชนทว่ั ไปในเขตพืน้ ทอ่ี าเภอค้อวงั ในการจดั กระบวนการเรียนร้นู อกจาก จะเรียนรูโ้ ดยการอบรมให้ความรู้ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินและแลกเปล่ียนประสบการณ์ ซงึ่ จะนาไปส่กู ารพฒั นา สังคมและชุมชนใหเ้ ข้มแขง็ ตลอดจนการศกึ ษาดงู านซึง่ ได้ดาเนนิ การวางแผนจดั กิจกรรมอยา่ งตอ่ เน่ือง ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคอ้ วงั จึงได้จัดทาโครงการน้อมนาหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงปลกู ผักสวนครัว เพ่ือสร้างความมั่นคงทางอาหารเพ่อื ใหผ้ ูด้ าเนินงาน บุคลากร ที่เกีย่ วข้อง และกลุ่มเปา้ หมาย ให้สามารถนาความรู้ ทกั ษะประสบการณ์ ที่ได้รับมาประยกุ ต์ใช้ และพฒั นา อาชีพในชุมชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล สามารถประกอบอาชีพ อย่างยั่งยืน มีรายได้ เพิม่ ขน้ึ ทาใหส้ งั คมเขม้ แขง็ และอยรู่ ว่ มกับผอู้ นื่ ได้อย่างมีความสุข ตอบสนองกบั นโยบายและจดุ เน้น กศน. ยทุ ธศาสตร์ 1. ยทุ ธศาสตรค์ วามมนั่ คง ขอ้ ท่ี 1.1. พัฒนาและเสริมสร้างความจงรกั ภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ โดยปลูกฝังและ สรา้ งความตระหนักรถู้ ึงความสาคญั ของสถาบนั หลกั ของชาติ รณรงคเ์ สริมสรา้ งความรักและความภาคภมู ิใจ ในความเป็นคนไทยและชาติไทย น้อมนาและเผยแพร่ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถงึ แนวทางพระราชดารติ า่ ง ๆ สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการประกันคณุ ภาพสถานศึกษา/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น/ผูร้ บั บริการ ตวั บ่งช้ี 1.5 ผู้เรียนหรอื ผเู้ ขา้ รับการอบรมปฏิบตั ิตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง วัตถปุ ระสงค์ 1.เพอ่ื นาความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ มาประยกุ ตใ์ ช้ และพัฒนาสงั คม ชุมชนใหด้ ยี ิง่ ขึ้น 2.เพอื่ แลกเปลี่ยน เรยี นรู้ ทกั ษะประสบการณ์ ในการจัดการเศรษฐกจิ พอเพยี งได้ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอค้อวัง
สรปุ โครงการเศรษฐกิจพอเพยี งน้อมนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4 ตามรอยพ่ออยอู่ ยา่ งพอเพียง ประจาปี 2564 เปา้ หมาย เชงิ ปรมิ าณ -ประชาชนในเขตพ้นื ทีอ่ าเภอคอ้ วงั จานวน 28 คน เชงิ คณุ ภาพ -ร้อยละ 90 ของประชาชนที่ได้รบั ความรู้มีความพึงพอใจต่อการบริการ -ร้อยละ 90 ของประชาชนท่ีได้รับความรู้ สามารถนาความรู้ ทักษะ ประสบการณ์มา ประยุกต์ใช้และขยายผลในการพัฒนาอาชพี ของชุมชนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงไดอ้ ย่างหลากหลายและ ตอ่ เนอื่ งตลอดชีวิต ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอค้อวงั
สรุปโครงการเศรษฐกิจพอเพียงนอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 5 ตามรอยพอ่ อยอู่ ย่างพอเพยี ง ประจาปี 2564 บทที่ 2 วธิ ีดาเนินการ ขน้ั ตอนและวธิ ีดาเนนิ การ 1. เข้ารว่ มประชุมชีแ้ จง้ การกาหนดการ 2. ประชมุ ช้แี จง้ บุคลากรของ กศน.อาเภอค้อวงั ถงึ วัตถุประสงค์ และแนวทางในการดาเนนิ งาน 3. เสนอโครงการ เพือ่ ขออนมุ ตั ิ 4. ดาเนนิ งานตามโครงการ 5. ประเมนิ ผลโครงการ 6. สรปุ รายงานผลการดาเนนิ งาน ตารางการดาเนินการ กจิ กรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กล่มุ เป้าหมาย เปา้ หมาย พนื้ ที่ดาเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ 14 คน กศน.อาเภอค้อ 23 ธ.ค.63 - 1. เข้าร่วม เพ่อื สรา้ งแนว ผอ.กศน/ วัง 10,000 ประชมุ ชี้แจง้ การ ปฏบิ ตั ิร่วมกนั ครูกศน.อาเภอ บาท 14คน กศน.อาเภอค้อ 23 ธ.ค.63 กาหนดการ ค้อวัง วัง 2.วางแผน/ เพ่อื สรา้ งแนว ผอ.กศน/ 14คน กศน.อาเภอคอ้ 14 ม.ค.64 วงั ประชุมชี้แจง ปฏิบัตริ ว่ มกนั ครูกศน.อาเภอ 28คน กศน.ตาบลท้งั 4 29 ม.ค.64 บคุ ลากร/ คอ้ วงั แหง่ -ต.คอ้ วงั ประสาน -ต.ฟา้ ห่วน -ต.กดุ นา้ ใส กลุม่ เปา้ หมาย -ต.น้าออ้ ม 3.จดั ทา เพื่อการดาเนนิ ผอ.กศน/ โครงการฯ/เสนอ ตามแนวปฏิบตั ิ ครกู ศน.อาเภอ ขออนุมตั ิ ค้อวัง โครงการ 4.ดาเนินการตาม 1.เพ่อื นาความรู้ ผอ.กศน/ โครงการ ทักษะ ครกู ศน.อาเภอ ค้อวังประชาชน ประสบการณ์ มา ทวั่ ไป กศน. ประยกุ ตใ์ ช้ และ อาเภอค้อวัง พฒั นาสงั คม ชมุ ชน ใหด้ ีย่งิ ขน้ึ 2.เพือ่ แลกเปลีย่ น เรยี นรู้ ทกั ษะ ประสบการณ์ ใน การจดั การเศรษฐกิจ พอเพียงได้ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคอ้ วงั
สรุปโครงการเศรษฐกจิ พอเพยี งนอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 6 ตามรอยพอ่ อยอู่ ย่างพอเพยี ง ประจาปี 2564 กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เปา้ หมาย พืน้ ทด่ี าเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ 5.ข้ันตรวจสอบ นเิ ทศติดตามการ ผอ.กศน/ครูกศน. - กศน.อาเภอ 28 ก.พ.64 - 6.ข้นั ปรบั ปรงุ ดาเนนิ งาน อาเภอคอ้ วัง คอ้ วงั แกไ้ ข เพ่อื การพัฒนา ผอ.กศน/ - กศน.อาเภอ 28 ก.พ.64 - ตอ่ ไป ครกู ศน.อาเภอ คอ้ วัง ค้อวงั กิจกรรมที่ดาเนนิ การ ประกอบไปดว้ ย 1. กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการทาเศรษฐกิจพอเพียงแบบเกษตรทฤษฎใี หม่โดยปราชญ์ดา้ น เศรษฐกจิ พอเพยี งในตาบล เศรษฐกจิ พอเพียง เป็นปรชั ญาชี้ถึงแนวการดารงอยแู่ ละปฏิบัตติ นของประชาชนในทุกระดับ ตง้ั แต่ ระดับครอบครวั ระดับชุมชน จนถงึ ระดับรัฐ ท้งั ในการพฒั นาและบรหิ ารประเทศให้ดาเนนิ ไปในทางสาย กลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกจิ เพื่อใหก้ ้าวทันต่อโลกยคุ โลกาภิวัตน์ วตั ถปุ ระสงค์ 1.เพ่ือนาความรู้ ทกั ษะ ประสบการณ์ มาประยกุ ต์ใช้ และพฒั นาสังคม ชมุ ชนให้ดยี ่ิงข้นึ 2.เพื่อแลกเปล่ยี น เรยี นรู้ ทักษะประสบการณ์ ในการจดั การเศรษฐกจิ พอเพียงได้ ผลท่ีได้รบั -ร้อยละ 90 ของประชาชนทไ่ี ดร้ บั ความรมู้ ีความพึงพอใจต่อการบรกิ าร -รอ้ ยละ 90 ของประชาชนทไี่ ด้รับความรู้ สามารถนาความรู้ ทกั ษะ ประสบการณม์ าประยุกตใ์ ช้ และขยายผลในการพฒั นาอาชีพของชมุ ชนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงไดอ้ ยา่ งหลากหลายและต่อเน่อื ง ตลอดชีวติ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคอ้ วงั
สรุปโครงการเศรษฐกจิ พอเพียงนอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 7 ตามรอยพอ่ อยอู่ ย่างพอเพยี ง ประจาปี 2564 บทท่ี 3 การวิเคราะห์ขอ้ มลู การวิเคราะหข์ อ้ มลู ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล คณะผู้จัดทาโครงการได้ดาเนินการเป็นลาดับข้ัน ดงั นี้ 1. นาแบบประเมนิ ความพึงพอใจท่ไี ดร้ ับคนื มาตรวจสอบความสมบรู ณใ์ นการตอบแบบสอบถาม 2. นาแบบประเมินความพึงพอใจท่ีมีความสมบูรณ์ในการตอบมาตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ท่ี กาหนดไว้ 3. นาคะแนนที่ไดไ้ ปดาเนนิ การวเิ คราะห์เพอื่ หาคา่ ความถี่ และคา่ รอ้ ยละของกลุ่มเปา้ หมาย 4. นาข้อมูลทางสถิติท่ีได้จากการวิเคราะห์ไปทาการเปรียบเทียบกับเกณฑ์ เพื่อใช้ในการแปลง ความหมายรายข้อและโดยรวมท้งั ฉบบั 5. ในการวิเคราะห์ข้อมูลตอนท่ี 3 ของแบบประเมินความพึงพอใจ ใช้การวิเคราะห์ความคิดเห็น เป็นรายบุคคล เกี่ยวกับปัญหาและแนวทางพัฒนาการดาเนนิ งานในโครงการเศรษฐกิจพอเพยี งน้อมนาหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งตามรอยพ่ออยู่อยา่ งพอเพยี ง สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู สถิติพน้ื ฐาน ไดแ้ ก่ ค่าความถ่ี และ ค่ารอ้ ยละ (%) เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการเก็บขอ้ มูล แบบสอบถาม ซ่ึงเป็นแบบสอบถามที่คณะผู้จัดกิจกรรมได้พัฒนาข้ึนจากแบบสอบถามความพึง พอใจของผู้ใช้ และนาผลตอบรับมาพัฒนาเปน็ แบบสอบถาม ซ่ึงมีรายละเอยี ดในแบบสอบถาม คือให้ตอบ ข้อมูลส่วนตัว เช่น เพศ อายุ แบบสอบถามน้ีเป็นแบบสอบถามปลายเปิด เพ่ือสอบถามความคิดเห็น คาแนะนา และขอ้ เสนอ แนะแนวทางแก้ไข เพือ่ นาขอ้ มูลท่ไี ด้เหล่านมี้ าคานวณหาผลตอ่ ไป วธิ กี ารจดั เกบ็ ขอ้ มลู รวบรวมแบบสอบถามจากท้ังหมดท่ีได้แจกจ่ายแบบได้รับคืน ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของ แบบสอบถาม แล้วนามาสรปุ และวเิ คราะหข์ อ้ มูลทางสถิติ โดยการแจกแจงหาความถี่ และค่าร้อยละ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอค้อวงั
สรุปโครงการเศรษฐกจิ พอเพียงนอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 8 ตามรอยพอ่ อยอู่ ย่างพอเพยี ง ประจาปี 2564 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล การวิเคราะห์ข้อมูล หลังการดาเนินงานตามโครงการเศรษฐกิจพอเพียงนอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งตาม รอยพอ่ อย่อู ย่างพอเพยี งไดเ้ สรจ็ สิ้น ผรู้ ายงานไดร้ วบรวมข้อมลู มาวิเคราะห์ ซึง่ มีข้อมลู ดังน้ี 1. นาแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจต่อการจัดกจิ กรรมมาตรวจสอบความถูกต้อง สมบรู ณ์ใน การตอบแบบสอบถามทุกฉบับที่กลมุ่ ตวั อย่างและทไี่ ดร้ บั กลบั คนื มา 2. ตรวจให้คะแนนแต่ละขอ้ ของแบบสอบถามของแตล่ ะฉบบั 3. วเิ คราะหค์ วามพงึ พอใจของผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม โดยนับความถ่ี ค่ารอ้ ยละ ในกรณที ไี่ ด้จากมาตรา สว่ น ประมาณค่า ได้กาหนดเกณฑก์ ารให้ความหมายดงั นี้ 5 หมายถึง มากที่สดุ 4 หมายถงึ มาก 3 หมายถงึ ปานกลาง 2 หมายถึง น้อย 1 หมายถงึ น้อยมาก การผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน ความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั ดี ร้อยละ 80 ข้นึ ไป ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล 1. การศึกษาข้อมูลผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรม ไดศ้ กึ ษาข้อมูลผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมเก่ียวกบั เพศ การวเิ คราะห์ขอ้ มูลได้มาจากการตอบ แบบสอบถามของผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม จานวน 38 ราย ซ่ึงไดผ้ ลการวิเคราะห์ ดังตารางท่ี 1 ตารางที่ 1 ขอ้ มูลผู้เข้าร่วมกจิ กรรม โครงการเศรษฐกิจพอเพียงน้อมนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตามรอยพอ่ อยอู่ ย่างพอเพยี ง เกี่ยวกบั เพศ และอายุ รายการ จานวน รอ้ ยละ 11 28.95 เพศ ชาย 27 71.05 หญิง จากตารางท่ี 1 แสดงให้เห็นว่า ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 71.05 และเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 28.95 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอค้อวัง
สรุปโครงการเศรษฐกิจพอเพยี งนอ้ มนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 9 ตามรอยพ่ออยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ประจาปี 2564 2. ผลการประเมินความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เก่ียวกับกิจกรรม ระยะเวลา และสถานที่ ผู้เข้าร่วม กิจกรรม จานวน 38 ราย โดยใช้แบบสอบถาม มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ โดยมี รายละเอียดผลการประเมินค่าหาร้อยละ แต่ละระดับความคิดเห็น ดังตารางท่ี 1 และหาค่าร้อยละความ คิดเหน็ ของผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม ดงั ตารางที่ 2 และข้อเสนอแนะอื่นๆ ของผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรม ตารางที่ 2 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการเศรษฐกิจพอเพียงน้อมนาหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามรอยพ่ออยู่อย่างพอเพียง เก่ียวกับ กิจกรรม วิทยากร ระยะเวลา และ สถานที่ (จากผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 38 ราย ) ท่ี รายการ ระดบั ความคิดเหน็ %ความ นอ้ ย พึงพอใจ ด้านกิจกรรม มาก มาก ปาน น้อย มาก ระดบั ดีขึน้ 1 กจิ กรรมสอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ ทีส่ ดุ 4 กลาง 2 1 ไป 2 กจิ กรรมตรงตามความต้องการของผู้รับบริการ 53 3 การจัดกิจกรรมทาใหผ้ ู้รับบรกิ ารสามารถคดิ เปน็ - 89.47 12 22 4 - - 92.11 ทาเปน็ และแก้ปัญหาเป็น 19 16 3 - - 92.11 22 13 3 - 4 ผู้รับบรกิ ารมีส่วนรว่ มในการแสดงความสามารถ - 92.11 16 19 3 - และรว่ มจัดกิจกรรม - 86.84 21 12 5 - ด้านวทิ ยากร 20 15 3 - 92.11 5 วทิ ยากรมคี วามรู้ ความสามารถในการจดั 18 18 2 - 16 21 1 - 94.74 กิจกรรม - 19 19 0 - 97.37 6 เทคนคิ /กระบวนการในการจดั กิจกรรมของ 22 15 1 - 185 170 25 - 100 วทิ ยากร 48.69 44.74 6.57 - - 97.37 - - 93.42 7 สื่อ/อปุ กรณ์ประกอบการจัดกิจกรรม มีความ - เหมาะสม 8 บุคลิกภาพของวิทยากร ดา้ นระยะเวลา / สถานที่ 9 ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมเหมาะสม 10 สถานทใ่ี นการจดั กจิ กรรมเหมาะสม รวม ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอค้อวัง
สรุปโครงการเศรษฐกิจพอเพยี งนอ้ มนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 10 ตามรอยพอ่ อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ประจาปี 2564 ผา่ นเกณฑ์ ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมพงึ พอใจในระดับดีข้นึ ไป รอ้ ยละ 80.00 ขนึ้ ไป จากตารางที่ 2 พบวา่ ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมมคี วามพงึ พอใจผา่ นเกณฑ์การประเมินท้ัง 10 ขอ้ รายการ มีรอ้ ยละ ในระดับดขี นึ้ ไป เฉลย่ี ร้อยละ 93.42 โดยขอ้ รายการทมี่ คี วามพึงพอใจระดบั ดมี ากทส่ี ุด คือ 1. กิจกรรมตรงตามความต้องการของผ้รู ับบรกิ าร คิดเปน็ ร้อยละ 98.68 2. วิทยากรเทคนคิ /กระบวนการในการจัดกจิ กรรมของวิทยากร คดิ เปน็ ร้อยละ 92.76 3. กิจกรรมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ ผู้รับบริการมีส่วนร่วมในการแสดง ความสามารถ และร่วมจัดกิจกรรม คิดเป็นรอ้ ยละ 91.45 ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอคอ้ วัง
สรปุ โครงการเศรษฐกิจพอเพยี งนอ้ มนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 11 ตามรอยพ่ออยอู่ ยา่ งพอเพียง ประจาปี 2564 บทท่ี 5 สรุปผลการดาเนนิ งาน โครงการเศรษฐกจิ พอเพียงน้อมนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงตามรอยพอ่ อย่อู ยา่ งพอเพยี ง สรุปผลการดาเนินงานโดยการเก็บข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อ โครงการ โดยการส่มุ จากกล่มุ ตัวอยา่ งผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรม จานวน 38 ราย ดังน้ี ตารางการจดั กิจกรรม กิจกรรม งบประมาณ เป้าหมายเชงิ ปริมาณ เปา้ หมายเชงิ คุณภาพ โครงการเศรษฐกจิ - งบประมาณ - เป้าหมาย จานวน 28 - นกั ศึกษา กศน. และประชาชนทวั่ ไป พอเพยี งนอ้ มนา 2564 จานวน คน จานวน 38 คน ประชาชนได้รบั หลักปรชั ญาของ 10,000 บาท - ผลการดาเนินงานได้ ความรู้ สามารถนาความรู้ ทักษะ เศรษฐกิจพอเพียง - ดาเนนิ การใช้ จานวน 38 คนคดิ เป็น ประสบการณ์มาประยกุ ตใ์ ช้และขยาย ตามรอยพ่ออยู่ จ่ายจานวน รอ้ ยละ 135 ผลในการพฒั นาอาชพี ของชุมชนตาม อย่างพอเพียง 10,000 บาท หลักเศรษฐกิจพอเพียงได้อยา่ ง คิดเปน็ รอ้ ยละ หลากหลายและตอ่ เน่ืองตลอดชวี ิต ๑๐๐ เพอื่ ให้เป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ คิด เป็นร้อยละ 93.42 อยู่ในระดับดมี าก ด้านงบประมาณ ได้รับงบประมาณ งบเศรษฐกิจพอเพียง 10,000 บาท (หน่ึงหมื่นบาทถ้วน) งบประมาณ 2564 แยกรายละเอียดดงั นี้ 1)เมลด็ พนั ธ์ผุ ักชนดิ ตา่ งๆ 2)บัวรดน้าพลาสตกิ 3)ดินปลกู 4)ชอ้ นปลูก 5)ส้อมพรวนดนิ 6)ปุ๋ยคอก รวมท้งั ส้นิ 10,000 บาท ดา้ นปริมาณ มนี กั ศกึ ษา กศน. และประชาชนท่วั ไป เขา้ ร่วมกจิ กรรม จานวน 38 คน ด้านความรู้ความเข้าใจ ประชาชนได้รับความรู้ สามารถนาความรู้ ทักษะ ประสบการณ์มา ประยุกต์ใช้และขยายผลในการพัฒนาอาชพี ของชมุ ชนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงไดอ้ ย่างหลากหลายและ ต่อเน่อื งตลอดชวี ติ เพ่อื ใหเ้ ป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ด้านความพงึ พอใจ นกั ศึกษา กศน. และประชาชนทั่วไป รอ้ ยละ 93.42 ให้ความสนใจ กระต้ือ รื้อร้นในการเข้าร่วมทากิจกรรมต่างๆ กิจกรรมที่จัดขึ้นนั้น ได้ให้ความรู้เก่ียวกับเร่ืองต่างๆกับเด็กเยาวชน มากมาย ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอค้อวัง
สรปุ โครงการเศรษฐกจิ พอเพยี งน้อมนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 12 ตามรอยพ่ออยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ประจาปี 2564 ด้านการนาไปใช้ประโยชน์ ประชาชนได้รับความรู้ สามารถนาความรู้ ทักษะ ประสบการณ์มา ประยุกต์ใช้และขยายผลในการพัฒนาอาชีพของชุมชนตามหลักเศรษฐกจิ พอเพียงได้อย่างหลากหลายและ ต่อเนอื่ งตลอดชวี ิตเพอื่ ใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ปัญหา/อุปสรรค อุปกรณ์ และของรางวัล ประกอบการจัดกิจกรรม ยังไม่เพียงพอกับจานวน ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม ขอ้ เสนอแนะ เนื่องจากโครงการเศรษฐกิจพอเพียงน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงตาม รอยพ่ออยูอ่ ย่างพอเพียง เป็นโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จงึ จาเป็นอย่างย่ิงที่เราจะตอ้ งช่วยกัน ปลูกฝังจิตสานึกที่ดี ให้ประชาชนในชุมชน ดังนั้น จึงอยากให้ทุกภาคส่วนได้ให้ความสาคัญกับเศรษฐกิจ พอเพยี งมากขน้ึ โดยอยากขอความอนเุ คราะหจ์ ากทางหนว่ ยงานต่างๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ได้จดั สรรงบประมาณให้ เพียงพอและเหมาะสมกบั ประชาชนในแตล่ ะปี ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอค้อวัง
สรปุ โครงการเศรษฐกิจพอเพยี งน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 13 ตามรอยพ่ออยอู่ ยา่ งพอเพียง ประจาปี 2564 ภาคผนวก ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคอ้ วัง
สรุปโครงการเศรษฐกิจพอเพียงนอ้ มนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 14 ตามรอยพอ่ อยอู่ ย่างพอเพยี ง ประจาปี 2564 คณะผู้จัดทา ท่ีปรกึ ษา ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอคอ้ วงั นางสาวียะ พนั ธุ์ฤทธิ์ ครผู ู้ชว่ ย ครอู าสาสมคั รฯ คณะทางาน ครู กศน.ตาบลฟ้าห่วน ครู กศน.ตาบลฟ้าห่วน นายประสทิ ธ์ิชัย ทองปนท์ ครู กศน.ตาบลน้าอ้อม นางนวลปราง ชา่ งดี ครู กศน.ตาบลน้าอ้อม นางอทุ ัยวรรณ โลสันเทียะ ครู กศน.ตาบลกุดน้าใส นางนงลกั ษ์ ศรีเขม็ ครู กศน.ตาบลกุดนา้ ใส นางวนิดา เจริญไธสง ครู กศน.ตาบลคอ้ วงั นางสาวบุญย่งิ ดาวสี ครผู ู้สอนคนพกิ าร นางธัญญาลกั ษณ์ บุญเดช ครผู ู้สอนคนพิการ นางสาวณฒั ฐิณี มีศลิ ป์ บรรณารกั ษ์ นายวชั รมั พ์ บุญเดช นานเกง่ กาจ เขง่ หล้า ครูอาสาสมคั รฯ นางนฤมล บญุ วงษา นางสาวฉัตรรวี เมืองสนธิ์ ครอู าสาสมคั รฯ ออกแบบปก/รูปเลม่ นางนวลปราง ช่างดี ผูร้ วบรวมและเรียบเรยี ง นางนวลปราง ชา่ งดี ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคอ้ วัง
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: