การจดั การความรู้ เรอ่ื ง กลมุ่ งานยทุ ธศาสตรแ์ ละประกนั คณุ ภาพวทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนนี ครราชสมี า พ.ศ. 2561
คานา การจดั การความรู้ เป็นเคร่ืองมอื สาคัญในการรวบรวมและจัดระบบองคค์ วามรหู้ รือวธิ ีการปฏิบัตทิ ่มี คี ุณคา่ และจาเป็นตอ่ การปฏบิ ตั ิงานขององค์การ ท้ังความรู้ชัดแจง้ ที่มกี ารบนั ทกึ ในรูปของเอกสาร และความรู้ท่ีฝงั อยใู่ นตวั คนอนั เกิดจากประสบการณ์หรอื ความเชี่ยวชาญเฉพาะบคุ คลเพ่ือใหบ้ คุ ลากรในองค์การสามารถเข้าถงึ และนาองค์ความรู้และวธิ กี ารปฏบิ ตั ิท่ีดมี าใชป้ ระโยชน์ให้การปฏิบัติงานใหม้ ีประสทิ ธิภาพและเกดิ การแลกเปลีย่ นเรียนรูภ้ ายในองค์กรอย่างตอ่ เนอื่ ง โดยในปีงบประมาณ 2561 กลุ่มงานยุทธศาสตร์และประกันคุณภาพวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนครราชสมี าไดท้ าการจดั การความรเู้ ร่อื ง การใช้ Moodle สนบั สนุนการจัดการเรยี นรู้เพ่ือให้ได้องค์ความรู้ที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้สมัยใหม่ในยุคศตวรรษท่ี 21 ที่ผู้สอนจาเป็นต้องมีความรู้ความสามารถหลายอย่างในการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสทิ ธิผลสูงสุดซึ่งเอกสารฉบับนี้จะรายงานการจัดการความรู้ดังกล่าวตามลาดับขั้นตอนต้ังแต่การกาหนดความรู้หลักทจี่ าเป็น การเสาะหาความรู้ที่ตอ้ งการ การสร้างความรู้ให้เหมาะต่อการใช้งาน การประยุกต์ใช้ความรู้ การนาประสบการณ์จากการทางานหรือการประยุกต์ใชค้ วามรู้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสกัดขุมความรู้ จนถึงข้ันการจดบันทึก “ขุมความรู้” และ “แก่นความรู้” สาหรับไว้ใช้งานซ่ึงเป็นการนาแกน่ ความรู้จากการจัดการความรู้ เผยแพรใ่ ห้บคุ ลากรในองค์กรหรอื ผทู้ เ่ี กย่ี วข้อง รวมทงั้ บุคคลท่ัวไปไดน้ าความรู้ไปใช้ประโยชนใ์ นการการดาเนินงานใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุดตอ่ ไป คณะจัดการความรู้ กลุ่มงานยุทธศาสตรแ์ ละประกันคณุ ภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนครราชสีมา 1
สารบญั หน้า 3เร่อื ง 4คณะจัดการความรู้ 5ที่มาของการจดั การความรู้ 6กระบวนการจดั การความรู้ตาม KM Action Plan 9แผนการจดั การความรู้ (KM Action Plan) 9การกาหนดความรูห้ ลักที่จาเป็น 10การเสาะหาความร้ทู ่ตี ้องการ 20การสร้างความรู้ใหเ้ หมาะตอ่ การใชง้ านและเผยแพร่ในWebsite 21การประยกุ ต์ใช้ความรู้การนาความรูไ้ ปทดลองใช้ในกิจการงานของตน 26การนาประสบการณจ์ ากการทางานหรือการประยกุ ตใ์ ช้ความรู้ 27มาแลกเปลีย่ นเรยี นรแู้ ละสกดั “ขุมความรู้” 36สรปุ “ขมุ ความรู้” และ “แก่นความร”ู้ เผยแพร่ 37Show and share ขุมความรู้ภายในองคก์ ร 38ภาคผนวก ก รายชือ่ ผู้เข้าร่วมประชมุ 39-รายชอ่ื ผเู้ ข้าร่วมประชุมระดมความคดิ เหน็ เพอ่ื กาหนดความรหู้ ลกั ทจี่ าเป็น 40-รายชอื่ ผ้เู ข้าร่วมประชมุ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ 41-รายชือ่ ผู้เข้าร่วมประชมุ ปรบั ปรงุ ดัดแปลงสร้างความรใู้ ห้เหมาะต่อการใช้งานและเผยแพร่-รายช่ือผู้เข้ารว่ มประชมุ นาประสบการณจ์ ากการทางานและการประยกุ ต์ใชค้ วามรู้มา 42แลกเปลย่ี นเรียนรู้ภาคผนวก ข บนั ทึกความรูท้ ไ่ี ดจ้ ากการแลกเปลี่ยน 2
คณะจดั การความรู้1. นางสาวรสสคุ นธ์ พไิ ชยแพทย์ รองผู้อานวยการฯกล่มุ งานยุทธศาสตรแ์ ละประกนั คณุ ภาพ2. นางวรรณา ธนานุภาพไพศาล พยาบาลวิชาชีพชานาญการพเิ ศษ3. นางสุชาฎา คลา้ ยมณี พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ4. นางสชุ าดา วงศ์สวาสดิ์ วทิ ยาจารยช์ านาญการพิเศษ5. นางสุภาวดี ไชยเดชาธร พยาบาลวิชาชีพชานาญการพิเศษ6. นางสาวปิยะรัตน์ แสงบารงุ พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ7. นางสาวอุดมลักษณ์ กาญจนรงั สิชยั บรรณารักษ์ชานาญการ8. นายศกั ดิธชั ทิพวัฒน์ นกั วิชาการคอมพวิ เตอร์9. นายอรรถสิทธิ์ สิทธิปรุ นักวชิ าการคอมพิวเตอร์10.นางสาวอรสา กลบี กลาง นักจดั การงานท่ัวไป11. นางสาวอมรพรรณ สาธพุ ันธ์ ผู้ปฏิบตั งิ านดา้ นวิเคราะห์นโยบายและแผน12.นายธนากร อ่อนตา ผู้ปฏิบตั ิงานด้านโสตทศั นศึกษา13.นายทวีศักดิ์ ไชยชนะ พนกั งานโสตทัศนปู กรณ์14. นายธนาคาร ววิ ัฒนากรชัย บรรณารักษ์15. นางสาวกมลทพิ ย์ อาสนะนนั ทน์ ผู้ปฏบิ ตั ิงานประจาหอ้ งปฏบิ ัติการ16. นางสงั เวยี น สนสูงเนนิ พนักงานประจาหอ้ งปฏิบัตกิ าร 3
ทมี่ าของการจดั การความรู้ การจดั การเรยี นรู้สมัยใหม่ในยคุ ศตวรรษท่ี 21 ผู้สอนจาเป็นต้องมคี วามร้คู วามสามารถหลายอย่างในการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และได้รับการพัฒนาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ประกอบกับปัจจุบันเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ได้มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างย่ิงการเช่ือมต่อด้วยเครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต ทม่ี บี ริการในรปู แบบต่างๆ ซ่งึ เอ้ือประโยชนใ์ นการใหบ้ รกิ ารทางด้านการ สื่อสารขอ้ มลู ด้วยศักยภาพดังกล่าวจึงเป็นท่ีมาของการนารูปแบบของบริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมาใช้สนับสนุนการเรียนร้ผู ่านเว็บที่ผู้เรียนสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับเนื้อหา บทเรียน และผู้สอน เหมือนอยู่ในหอ้ งเรียนเสมอื น โดยหน่งึ ในวิธีการนัน้ คอื การใช้ Moodle ทั้งนก้ี ลุ่มงานยทุ ธศาสตรแ์ ละการประกันคุณภาพซึ่งรับผิดชอบในงานด้านเทคโนโลยีสารเทศได้เห็นถึงความสาคัญในการสนับสนุนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จึงได้ทาการจัดการความรู้เร่ืองการใช้ Moodle ข้ึน เพ่ือนาไปสู่การสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและแพร่หลายยิง่ ขึ้น 4
กระบวนการจดั การความรู้ตาม KM Action Plan คณะกรรมการจัดการความรู้กลมุ่ งานยุทธศาสตร์และประกันคุณภาพ ได้ดาเนนิ การจัดการความรตู้ ามข้นั ตอน ไดแ้ ก่ 1. การกาหนดความรู้หลักท่จี าเปน็ 2. การเสาะหาความรู้ทตี่ อ้ งการ 3. การสรา้ งความรู้ใหเ้ หมาะต่อการใช้งานและเผยแพรใ่ นWebsite 4. การประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ 5. การนาประสบการณ์จากการทางานหรือการประยุกต์ใช้ความรมู้ าแลกเปลย่ี นเรียนรู้และสกัด “ขุมความร”ู้ ออกมาบนั ทกึ ไว้ 6. สรุป “ขมุ ความรู้” และ “แกน่ ความรู้” เผยแพร่ โดยมแี ผนการจดั การความรู้ ดงั นี้ 5
แผนการจดั การความรู้ (KM ACTION PLAN)ลาดับ ข้นั ตอนการจัดการความรู้ วธิ ปี ฏิบตั ิ ระยะเวลา ผรู้ ับผิดชอบ1 การกาหนดความรู้หลัก คณะจัดการความรู้ร่วมกัน ม.ค. 61 คณะจดั การ ทจ่ี าเป็น พจิ ารณาองคค์ วามรทู้ ่ีจาเปน็ ตอ่ ความรกู้ ล่มุ งาน งานยทุ ธศาสตร์และประกัน ยทุ ธศาสตรแ์ ละ คณุ ภาพ และพิจารณาร่วมกันวา่ ประกันคุณภาพ จะจดั การความรใู้ นเร่ืองอะไร2 การเสาะหาความรู้ท่ี เมื่อได้เร่อื งท่จี ะจัดการความรู้ ก.พ. 61 คณะจัดการ ตอ้ งการ แล้ว ทาการวิเคราะหต์ อ่ ไปวา่ ความรกู้ ลมุ่ งาน กลุ่มงานยุทธศาสตรแ์ ละประกัน ยทุ ธศาสตรแ์ ละ คณุ ภาพ มอี งค์ความรนู้ ้หี รือไม่ ประกันคณุ ภาพ หากมี อย่ใู นรูปแบบใด อยู่ที่ บคุ คลใด หากไมม่ ีจะไปแสวงหา ความรู้จากใครหรือแหล่งใด 6
ลาดบั ขน้ั ตอนการจัดการความรู้ วธิ ปี ฏิบัติ ระยะเวลา ผรู้ ับผิดชอบ3 การสร้างความรู้ให้เหมาะ -ทาการแลกเปล่ียนความรู้ มี.ค.-เม.ย. 61 คณะจดั การต่อการใช้งานและเผยแพร่ วางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียม ความรกู้ ลมุ่ งานในWebsite พร้อมสาหรับการเกบ็ ความรู้อยา่ งเปน็ ยุทธศาสตรแ์ ละ ระบบ สรุปองค์ความรู้ที่แลกเปล่ยี น ประกนั คุณภาพ รวมทั้งเผยแพร่ใหก้ ับผ้รู ้ไู ดเ้ ขา้ มา แลกเปล่ยี นผ่านชอ่ งทางเว็บ KM ของ วทิ ยาลยั ฯ (เผยแพร่รอบท่ี 1)4 การประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ -นาความรูท้ ่ผี ู้ร้ไู ด้เข้ามาแลกเปลยี่ น พ.ค. 61 คณะจัดการ ผา่ นช่องทางเว็บ KM ของวทิ ยาลยั ฯมา พ.ค. 61 ความรกู้ ลุ่มงาน ทาการปรับปรงุ รปู แบบ เน้ือหาให้ ยุทธศาสตร์และ สมบรู ณย์ งิ่ ขึ้น และเชิญผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ประกันคุณภาพ เข้าร่วมพจิ ารณากลน่ั กรองความรู้ นาความรู้ทผี่ า่ นการกลั่นกรองจาก ผู้ทรงคณุ วุฒแิ ลว้ เผยแพร่ผา่ นชอ่ งทาง เวบ็ KM ของวิทยาลยั ฯ อีกคร้งั (เผยแพร่รอบท่ี 2) บคุ ลากรในองคก์ ร หรอื ผู้ที่เกีย่ วขอ้ ง รวมท้ังบุคคลทว่ั ไป นาองคค์ วามรทู้ ่ี ผา่ นการปรบั ปรงุ เนือ้ หาให้สมบูรณ์ เหมาะตอ่ การใช้งาน ที่ได้เผยแพรผ่ า่ น ทาง Website ไปทดลองใช้ พรอ้ มกับ เปิดใหแ้ สดงความคิดเหน็ เม่อื ไดน้ าองค์ ความรไู้ ปใชแ้ ลว้ 7
ลาดบั ขนั้ ตอนการจดั การความรู้ วิธปี ฏบิ ัติ ระยะเวลา ผู้รบั ผิดชอบ ม.ิ ย.-ก.ค. 61 คณะจัดการ5 การนาประสบการณ์จาก หลังจากทบี่ คุ ลากรในองค์กร หรอื ผู้ท่ี ความรกู้ ลุ่มงาน ส.ค.-ก.ย.61 ยทุ ธศาสตรแ์ ละการทางานหรอื การ เกยี่ วข้อง รวมทงั้ บุคคลทว่ั ไป มีการ ประกนั คณุ ภาพประยุกตใ์ ช้ความรูม้ า ทดลองใชอ้ งค์ความรู้ คณะจดั การ คณะจดั การ ความรกู้ ลุ่มงานแลกเปล่ียนเรียนรู้และ ความรู้ จะรวบรวมข้อคดิ เห็นทั้งหมด ยุทธศาสตรแ์ ละ ประกันคณุ ภาพสกดั “ขุมความรู้” มาสรปุ รวมทงั้ เชิญผู้ท่ีทดลองใช้ออกมาบันทกึ ไว้ มารว่ มแบ่งปนั แลกเปล่ียนเรียนรู้ กอ่ นทจ่ี ะทาการสกัด “ขมุ ความรู้” ออกมาบันทึกไว้6 สรปุ “ขมุ ความรู้” และ นา“ขมุ ความร”ู้ และ “แกน่ ความร”ู้ “แกน่ ความร”ู้ เผยแพร่ เผยแพร่ในเว็บ KM ของวิทยาลัยฯ (เผยแพร่รอบที่ 3) เพ่อื บุคลากรใน องคก์ ร หรือผู้ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง รวมท้งั บคุ คลทว่ั ไปได้นาความรไู้ ปใช้ ประโยชนใ์ นการการดาเนินงานให้ เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ ต่อองคก์ รต่อไปซงึ่ จะกล่าวถงึ รายละเอียดในแตล่ ะข้นั ตอน ดงั น้ี 8
การกาหนดความรูห้ ลกั ทจ่ี าเป็ น จากทมี่ าของการจดั การความรู้ดังกล่าว คณะจดั การความรู้กลุ่มงานยทุ ธศาสตรแ์ ละประกนัคุณภาพ จึงได้ประชมุ ระดมความคิดเหน็ เพอ่ื กาหนดความรู้หลกั ทจ่ี าเปน็ ตอ่ งานยุทธศาสตรแ์ ละประกันคุณภาพ เมอื่ วนั ท่ี 11 มกราคม 2561 รายชอ่ื ผู้เข้ารว่ มประชุม ดังภาคผนวก ก คณะจัดการความรู้ไดร้ ่วมกันกาหนดองคค์ วามรู้ท่ีจาเปน็ ต่องานยุทธศาสตรแ์ ละประกนัคุณภาพ ซ่ึงรบั ผิดชอบในงานด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ ได้เห็นถึงความสาคญั ในการสนบั สนนุ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และสง่ เสริมใหผ้ ู้สอนได้มคี วามรูค้ วามเข้าใจในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศประกอบการจดั การเรยี นการสอนมากข้นึ จงึ พจิ ารณาร่วมกนั ว่าจะจดั การความรู้ในเร่อื ง “การใช้Moodle สนับสนนุ การจัดการเรยี นรู้” โดยมวี ัตถุประสงค์เพื่อให้ไดอ้ งคค์ วามรู้ท่จี ะกอ่ ให้เกดิ ประโยชนต์ ่องานเทคโนโลยีสารสนเทศในการสนับสนนุ การจดั การเรยี นร้สู มัยใหม่ในยคุ ศตวรรษที่ 21 สาหรับผู้สอนที่จาเป็นต้องมีความรู้ความสามารถหลายอย่างในการจัดการเรยี นรู้ให้มีประสทิ ธิภาพและเกดิ ประสทิ ธิผลสงู สดุการเสาะหาความรูท้ ตี่ อ้ งการ หลงั จากได้เรอ่ื งที่จะจดั การความรแู้ ล้ว คือ “การใช้ Moodle สนับสนนุ การจัดการเรียนรู้”คณะจดั การความรไู้ ด้เสาะหาความรู้ท่ีตอ้ งการ พบว่า บุคลากรของกลมุ่ งานยุทธศาสตรแ์ ละประกนัคณุ ภาพ มอี งค์ความรู้ในเรื่องนี้ จากการศึกษาและฝกึ อบรมทง้ั ในและตา่ งประเทศ รวมทงั้ มีประสบการณ์ในการจดั การเรียนการสอนโดยใช้ Moodle จงึ ไดท้ าการประชมุ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เมือ่ วันที่ 5 มกราคม 2561 รายชอ่ื ผู้เข้าร่วมประชมุ ดงั ภาคผนวก ก โดยไดว้ างโครงสร้างความรู้ เพอ่ื เตรียมพรอ้ มสาหรบั การเก็บความร้อู ย่างเปน็ ระบบประกอบด้วย ความหมายของ Moodle บทบาทของผู้เข้าใช้ Moodle ความสามารถของ Moodle ตัวอยา่ งการจดั การเรียนรู้โดยใช้ Moodle 9
และไดท้ าการสรุปองค์ความร้ทู แ่ี ลกเปลีย่ นรว่ มกนั พร้อมกบั ให้คณะจัดการความรู้สง่บันทึกความรูท้ ี่ไดจ้ ากการแลกเปล่ยี น ดงั ภาคผนวก ข สรปุ ความรเู้ รื่องการใช้ Moodle สนบั สนนุ การจดั การเรียนรู้ จากการประชุมแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ได้ ดงั น้ีความหมายของ Moodle Moodle (Modular Object-Oriented Dynamic Learning Environment) คือซอฟต์แวร์ท่ที างานผ่านเครือข่ายอินเทอร์เนต็ แบบใหส้ ิทธผิ ใู้ ช้เขา้ มาใชง้ านในหลายสถานะ เชน่ เปน็ผดู้ แู ลระบบ ผู้สอน หรอื ผเู้ รยี น ซึ่งสามารถรวบรวมแหลง่ ความรู้ทง้ั หมดมารวมกันไว้ ทาให้ทุกคนสามารถเข้าใชง้ านร่วมกันได้ จัดเปน็ ซอฟต์แวรท์ ่ีประกอบดว้ ยเคร่อื งมอื อานวยความสะดวก โดยที่ผสู้ อนนาเนือ้ หาและส่ือการสอน ไม่ว่าจะเปน็ ไฟล์เอกสาร ไฟล์รปู ภาพ ไฟล์เสียง และไฟลว์ ดิ โี อมาสรา้ งเปน็ บทเรียนด้วยซอฟต์แวรน์ ้ี ส่วนผู้เรียนก็สามารถเขา้ ถงึ เน้ือหา กิจกรรมต่างๆ ไดโ้ ดยผ่านเว็บไซต์ ทงั้ ผ้สู อนและผู้เรียนสามารถตดิ ตอ่ สือ่ สารไดผ้ า่ นทางเครอื่ งมอื การสื่อสารที่ระบบจัดไวใ้ ห้เชน่ หอ้ งสนทนา กระดานถาม-ตอบ โดยมผี ู้ดูแลระบบทาหน้าที่ในการติดต้งั และดแู ลระบบบทบาทของผเู้ ขา้ ใช้ Moodle 1. ผดู้ แู ล (Admin) มหี น้าทต่ี ิดตงั้ ระบบ บารุงรกั ษา กาหนดค่าเรม่ิ ต้น กาหนดสิทธก์ ารเป็นผู้สอน แก้ไขปญั หาใหแ้ ก่ผสู้ อน และผู้เรยี น 2. ผู้สอน (Teacher) มหี น้าที่เพ่ิมแหล่งขอ้ มลู เพิม่ กิจกรรม ให้คะแนน ตรวจสอบกิจกรรมตอบคาถาม และติดต่อสอ่ื สารกบั ผู้เรียน 3. ผู้เรยี น (Student) มีหนา้ ท่ี เขา้ ศกึ ษาแหล่งข้อมลู และทากิจกรรม ตามแผนการสอน 4. ผู้เย่ียมชม (Guest) สามารถเข้าเรยี นได้เฉพาะวิชาทอ่ี นุญาต และถกู จากัดสิทธ์ในการทากจิ กรรม 10
ความสามารถของ Moodle ช่วยรวบรวมวิชาเป็นหมวดหมู่ เผยแพร่เนื้อหาของผ้สู อน เชน่ Microsoft Office,Power point, VDO, Web Page, PDF หรือ Image เปน็ ต้น พร้อมบริการให้ผู้เรยี นเข้ามาศกึ ษาก่ีรอบก็ได้ จบไปเขา้ แล้วกลับมาทบทวนกไ็ ด้ มรี ะบบติดต่อสอ่ื สารระหวา่ งผ้เู รียน เพ่ือนร่วมช้ัน และผสู้ อน เช่น chat หรอื webboard เป็นต้น มีระบบแบบทดสอบ รบั การบ้าน และกจิ กรรมที่รองรับระบบให้คะแนนท่ีหลากหลายใหส้ ง่ งาน ใหท้ าแบบฝึกหัด ตรวจใหค้ ะแนนแล้ว export ไป excel ได้ตวั อยา่ งการจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้ Moodle ผสู้ อนทาการสร้างรายวิชาใน Moodle ด้วยตนเอง 11
ผู้สอนใส่เอกสาร บทเรียน ลาดับเหตุการณ์ตามความเหมาะสม และผู้เรียนเปิดศึกษาบทเรียนไดต้ ามทีผ่ ู้สอนเตรียมไว้ 12
ผ้สู อนใสส่ ่อื animation หรอื Link ให้ผู้เรยี นเปิดเข้าไปศึกษา 13
เมอ่ื ศึกษาบทเรียนแล้ว ผ้เู รยี นสามารถเลือกทาแบบทดสอบตามที่ผสู้ อนไดเ้ ตรยี มไว้ หลังจากทาแบบทดสอบ ผูเ้ รียนจะทราบผลการประเมนิ วา่ ผ่านการประเมินหรือไม่ 14
สรปุ การจดั การเรยี นรู้โดยใช้ Moodle นับเป็นทางเลอื กหน่ึงของการจัดการเรียนรู้ในยคุศตวรรษที่ 21 ทไ่ี ดน้ าความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีการสื่อสารมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ ซึง่ เปน็โปรแกรมท่ีมีความศักยภาพหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มวชิ า การเพ่มิ เนอื้ หาของรายวิชา สื่อประกอบการเรียน การเพิ่มกจิ กรรมการเรยี นการสอน เช่น ใบงาน การบ้าน แบบทดสอบ รวมทั้งการประเมินผล และติดตามดูพฤตกิ รรมของผู้เรียน รวมทงั้ ผ้เู รียนสามารถเข้ามาศึกษาและทบทวนบทเรียนได้ตลอดเวลา 15
การสรา้ งความรูใ้ หเ้ หมาะต่อการใช้งานและเผยแพร่ในWebsite คณะจดั การความรู้ไดท้ าการสรปุ องคค์ วามรู้ท่ีแลกเปลี่ยนรว่ มกนั ในกลมุ่ งาน ฯ โดยไดท้ าการเผยแพร่ความรู้ (รอบท่ี 1) ให้กับผรู้ ู้ไดเ้ ข้ามาแลกเปลี่ยนผ่านช่องทางเว็บ KM ของวิทยาลัยฯเมือ่ เดือน มีนาคม 2561 ดังภาพ 16
ซงึ่ มีผเู้ ขา้ มารว่ มแลกเปลยี่ นและแสดงความคิดเหน็ ดงั ภาพ 17
หลังจากเผยแพร่ให้กับผู้รู้ได้เข้ามาแลกเปลี่ยนในเว็บไซด์ คณะจัดการความรู้ได้ทาการประชุมนาความรู้ท่ีผู้รู้ได้เข้ามาแลกเปล่ียน มาทาการปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์ยิ่งข้ึน เหมาะต่อการใช้งานเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2561 รายช่ือผู้เข้าร่วมประชุม ดังภาคผนวก ก รวมทั้งเชิญผู้ทรงคุณวุฒิประกอบด้วย ผศ.ดร.สุรพล บุญลือ ภาควิชาเทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และทีมผู้เช่ียวชาญของกลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันพระบรมราชชนก ไดพ้ จิ ารณาและให้ข้อคิดเหน็ เพม่ิ เตมิ จากน้นั คณะจัดการความรู้ได้นาความรทู้ ี่ผ่านการปรับปรงุ เน้อื หาให้สมบูรณ์ย่ิงขนึ้ เหมาะตอ่การใชง้ าน เผยแพรผ่ ่านช่องทางเว็บ KM ของวิทยาลัยฯ อีกครง้ั (รอบท่ี 2) เม่ือเดือน พฤษภาคม2561 แลว้ และเผยแพรผ่ ่านชอ่ งทางเวบ็ เพจกลมุ่ ยุทธศาสตร์และประกนั คุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยฯ เพื่ออานวยความสะดวกให้บุคลากรในองค์กร หรอื ผู้ท่ีเกยี่ วขอ้ ง รวมทัง้ บุคคลท่ัวไปสามารถเข้าถึงองคค์ วามรไู้ ด้โดยทวั่ กนั และนาไปทดลองใช้ พร้อมกับเปิดใหแ้ สดงความคิดเห็นเมือ่ไดน้ าองค์ความรู้ไปทดลองใช้ 18
โดยโครงสรา้ งความรู้หลังการปรับปรงุ รปู แบบ เนอื้ หาให้สมบูรณย์ ิ่งขึน้ เหมาะตอ่ การใช้งาน ประกอบด้วย ความหมายของ Moodle บทบาทของผู้เขา้ ใช้ Moodle ความสามารถของ Moodle ขอ้ ดีและขอ้ จากัดของการจดั การเรียนรู้โดยใช้ Moodle การประยุกตใ์ ชเ้ ครอื่ งมือใน Moodle ตวั อย่างการจัดการเรยี นรู้โดยใช้ Moodle ดังภาพ 19
การประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ คณะจดั การความรู้กลุ่มงานยุทธศาสตร์และประกนั คณุ ภาพ ไดน้ าองค์ความรทู้ ี่ผ่านการปรับปรุงเน้ือหาให้สมบูรณ์ เหมาะต่อการใช้งาน เผยแพร่ผ่านทางเวบ็ KM ของวทิ ยาลัยฯ อกี และเผยแพร่ผา่ นชอ่ งทางเว็บเพจกลุม่ ยุทธศาสตรแ์ ละประกันคณุ ภาพการศึกษาของวิทยาลัยฯ เพื่ออานวยความสะดวกให้บคุ ลากรในองค์กร หรือผู้ท่เี กี่ยวข้อง รวมทงั้ บุคคลท่วั ไป สามารถเข้าถึงองค์ความรไู้ ดโ้ ดยท่ัวกัน และนาไปทดลองใช้ พร้อมกับเปิดใหแ้ สดงความคิดเหน็ พร้อมกบั เปดิ ใหแ้ สดงความคดิ เหน็ เมอื่ ไดน้ าองค์ความรู้ไปใช้แลว้ 20
การนาความรูไ้ ปทดลองใชใ้ นกจิ การงานของตน คณะจดั การความรู้กล่มุ งานยุทธศาสตร์และประกนั คณุ ภาพไดน้ าความรู้ไปทดลองใชใ้ นกิจการงานของตน พรอ้ มกับให้คาปรึกษาแนะนาแกผ่ ูส้ อนในการใช้ Moodle สรา้ งบทเรียนในรายวิชาต่างๆ ดังน้ี การจดั การเรยี นรู้โดยใช้ Moodle วิชา กายวิภาคศาสตรแ์ ละสรรี วิทยา 1,2โดย อ. สภุ าวดี ไชยเดชาธร 21
การจดั การเรยี นรู้โดยใช้ Moodle วิชา พหวุ ัฒนธรรมและภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ินโดย อ.สชุ าดา วงศ์สวาสด์ิ การจัดการเรยี นรู้โดยใช้ Moodle วิชา การพยาบาลบคุ คลทท่มี ปี ญั หาสุขภาพ 2โดย อ.สุชาฎา คล้ายมณี 22
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ Moodle วิชา การพยาบาลมารดา ทารก และการผดงุ ครรภ์ 1โดย อ.ปยิ ะรัตน์ แสงบารงุ การจดั การเรยี นรู้โดยใช้ Moodle วชิ า การพยาบาลครอบครวั และชมุ ชน 1โดย อ.วรรณ ธนนภุ าพไพศาล อ. รสสคุ นธ์ พไิ ชยพทย์ 23
การใช้ Moodle การสอบสรรถนะคอมพวิ เตอร์ของนกั ศึกษาโดย อ.ศกั ดิธชั ทิพวัฒน์ อ.อรรถสทิ ธิ์ สิทธปิ รุ การใช้ Moodle ในงานหอ้ งสมดุ และส่อื ทรพั ยากรการเรียนรู้โดย อ.อดมลักษณ์ กาญจนรงั สิชยั 24
ซ่ึงหลังนาองคค์ วามรู้ไปทดลองใช้ มผี ูเ้ ขา้ มาร่วมแลกเปลย่ี นและแสดงความคิดเหน็ ดงั ภาพ 25
การนาประสบการณ์จากการทางานหรอื การประยุกตใ์ ชค้ วามรูม้ าแลกเปลยี่ นเรยี นรูแ้ ละสกดั ขุมความรูอ้ อกมาบนั ทกึ ไว้ หลังจากทบี่ คุ ลากรในองค์กร หรอื ผู้ที่เก่ยี วข้อง รวมทั้งบุคคลทั่วไป มีการทดลองใช้องค์ความรแู้ ล้ว คณะจดั การความรู้จะรวบรวมขอ้ คิดเห็นท้ังหมดมาสรุป และเชญิ ผู้ทีท่ ดลองใชม้ ารว่ มประชมุ นาประสบการณจ์ ากการทางานหรือการประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้มาแลกเปลีย่ นเรียนรู้ เมอื่ วนั ที่ 20กรกฎาคม 2561 รายชอ่ื ผู้เขา้ ร่วมประชุม ดังภาคผนวก ก เพอ่ื ทาการสกัด “ขุมความร”ู้ ออกมาบันทกึ ไว้ โดยคณะจดั การความรู้ไดส้ กัดขมุ ความรู้ออกมาบนั ทึกไว้ ประกอบด้วยขุมความรูใ้ นเร่อื ง ความหมายของ Moodle บทบาทของผู้เขา้ ใช้ Moodle ความสามารถของ Moodle ข้อดแี ละข้อจากัดของการจดั การเรยี นรู้โดยใช้ Moodle เทคนคิ การใช้ Moodle ในการจดั การเรยี นรู้ให้ประสบความสาเรจ็ การประยุกตใ์ ชเ้ ครื่องมือใน Moodle ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Moodle 26
สรุปขุมความรูแ้ ละแก่นความรูเ้ ผยแพร่ ห ลั งจ าก ก ารป ระ ชุ ม น าป ระ ส บ ก ารณ์ จ าก ก ารท างาน ห รือ ก ารป ระ ยุ ก ต์ ใช้ ค วาม รู้ม าแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรียบร้อยแล้วคณะจัดการความรู้ ได้สรุป “ขุมความรู้” และ “แก่นความรู้”เผยแพร่ในเว็บ KM ของวิทยาลัยฯ และเผยแพร่ในเว็บ KM ของวิทยาลัยฯ ในรูปของไฟล์เอกสารเพอ่ื ใหบ้ คุ ลากรในองค์กร หรอื ผ้ทู ่เี ก่ียวข้อง รวมทง้ั บุคคลทั่วไปได้นาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ในการการดาเนินงานใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสุดตอ่ องค์กรตอ่ ไป โดยมีรายละเอยี ดดงั นี้ 27
การใช้ Moodle สนบั สนนุ การจดั การเรยี นรู้ความเป็นมา การจัดการเรยี นรู้สมยั ใหมใ่ นยคุ ศตวรรษที่ 21 ผูส้ อนจาเป็นต้องมีความรู้ความสามารถหลายอยา่ งในการจดั การเรียนรู้ใหม้ ีประสทิ ธิภาพและเกดิ ประสิทธผิ ลสงู สุด เพ่อื พัฒนาผู้เรียนให้มคี วามรู้ และได้รับการพัฒนาตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิประกอบกับปจั จบุ ันเทคโนโลยีทางดา้ นคอมพวิ เตอร์ได้มีการพฒั นาไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะ อยา่ งย่ิงการเชอ่ื มต่อดว้ ยเครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต ทมี่ บี ริการในรูปแบบต่างๆ ซึ่งเอ้ือประโยชน์ในการใหบ้ ริการทางด้านการ สือ่ สารข้อมลู ดว้ ยศกั ยภาพดังกลา่ วจงึ เปน็ ทมี่ าของการนารปู แบบของบรกิ ารเครือขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ มาใช้สนับสนุนการเรียนรผู้ า่ นเว็บทีผ่ เู้ รยี นสามารถมี ปฏิสัมพันธ์กับเนอ้ื หา บทเรียน และผูส้ อน เหมอื นอย่ใู น ห้องเรยี นเสมือน โดยหน่งึ ในวิธกี ารนน้ั คือ การใช้ Moodle ทั้งนก้ี ล่มุ งานยุทธศาสตร์และการประกนั คุณภาพซ่งึ รับผดิ ชอบในงานด้านเทคโนโลยสี ารเทศ ไดเ้ หน็ ถึง ความสาคัญในการสนับสนุนการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 จึง ไดท้ าการจัดการความรู้เรอ่ื งการใช้ Moodle ขน้ึ เพ่อื นาไปสกู่ ารสนับสนนุ การจัดการเรยี นรู้ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ และแพรห่ ลายยง่ิ ข้ึนMoodle คอื อะไร Moodle ย่อมาจาก Modular Object-OrientedDynamic Learning Environment คอื ซอฟตแ์ วรท์ ที่ างานผ่านเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตแบบให้สิทธิผใู้ ช้เขา้ มาใช้งานในหลายสถานะ เช่น เป็นผู้ดแู ลระบบ ผูส้ อน หรอื ผู้เรียน ซ่ึงสามารถรวบรวมแหลง่ ความรทู้ ้ังหมดมารวมกันไว้ ทาให้ทุกคนสามารถเขา้ ใช้งานรว่ มกันได้ จัดเปน็ ซอฟตแ์ วร์ท่ปี ระกอบดว้ ยเคร่ืองมืออานวยความสะดวก โดยทผ่ี ู้สอนนาเนอ้ื หาและส่ือการสอน ไม่ว่าจะเป็นไฟล์เอกสาร ไฟล์รปู ภาพ ไฟล์เสียง และไฟลว์ ิดโี อมาสร้างเป็นบทเรยี นด้วยซอฟตแ์ วร์นี้ ส่วนผ้เู รยี นกส็ ามารถเข้าถึงเน้ือหา กจิ กรรมตา่ งๆ ไดโ้ ดยผา่ นเว็บไซต์ ท้ังผู้สอนและผเู้ รียนสามารถตดิ ต่อ ส่อื สารไดผ้ า่ นทางเครื่องมือการสอื่ สารท่ีระบบจดั ไวใ้ ห้ เช่น ห้องสนทนา กระดานถาม-ตอบ โดยมีผู้ดูแลระบบทาหน้าทีใ่ นการติดตง้ั และดูแลระบบ 28
บทบาทของผเู้ ข้าใช้ Moodle 1. ผู้ดแู ล (Admin) มหี นา้ ทต่ี ิดตัง้ ระบบ บารุงรักษา กาหนดคา่ เร่ิมตน้ กาหนดสิทธ์การเปน็ ผ้สู อน แก้ไขปญั หาใหแ้ ก่ผู้สอน และผู้เรยี น 2. ผู้สอน (Teacher) มหี นา้ ที่เพิม่ แหล่งขอ้ มลู เพ่ิมกิจกรรม ให้คะแนน ตรวจสอบกจิ กรรม ตอบคาถาม และติดตอ่ ส่ือสารกบั ผเู้ รียน 3. ผเู้ รียน (Student) มีหน้าท่ี เข้าศกึ ษาแหล่งข้อมูล และทากจิ กรรม ตามแผนการสอน 4. ผเู้ ยี่ยมชม (Guest) สามารถเขา้ เรียนไดเ้ ฉพาะวิชาท่ีอนุญาต และถูกจากัดสทิ ธใ์ นการทากิจกรรมความสามารถของ Moodle ช่วยรวบรวมวชิ าเปน็ หมวดหมู่ เผยแพรเ่ นือ้ หาของผสู้ อน เชน่ Microsoft Office, Power point, VDO, WebPage, PDF หรือ Image เป็นต้น พร้อมบริการให้ผู้เรียนเข้ามาศกึ ษาก่รี อบก็ได้ จบไปเข้าแลว้ กลับมาทบทวนก็ได้ มีระบบตดิ ต่อส่ือสารระหว่างผเู้ รียน เพ่ือนร่วมช้นั และผู้สอน เช่น chat หรือ web board เปน็ ตน้ มีระบบแบบทดสอบ รับการบา้ น และกจิ กรรมท่ีรองรบั ระบบให้คะแนนท่หี ลากหลาย ใหส้ ่งงาน ให้ทาแบบฝึกหัด ตรวจให้คะแนนแลว้ export ไป excel ได้ขอ้ ดแี ละขอ้ จากดั ของการจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้ Moodle จากทผ่ี ู้รูไ้ ดเ้ ขา้ มารว่ มแลกเปลีย่ นผา่ นช่องทางเว็บ KM ของวทิ ยาลัยฯ และจากผู้ทรงคุณวุฒิ สรปุ ได้ดงั น้ี ขอ้ ดี Moodle สามารถประยุกตใ์ ชก้ บั การเรยี นการสอนในรูปแบบตา่ งๆได้มากมาย เช่น การใช้ PBL การสอนแบบCollaborative การสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐานหรือรูปแบบอ่นื ๆ ผู้สอนสามารถออกแบบให้ตรงกบั สง่ิ ท่เี ราต้องการได้ ซึ่งประเดน็ น้เี ราสามารถท่จี ะนามาใชก้ บั การเรียนการสอนในงานพยาบาลไดเ้ ป็นอยา่ งดี เพราะมสี ว่ นช่วยในการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง สามารถใส่ส่ือการเรยี นการสอนได้หลายรูปแบบ เช่น เอกสาร word, PDF, Power Point, Video, ไฟล์เสียง สามารถจัดทาแบบทดสอบทงั้ เติมคา หลายตวั เลอื ก ตัวเลือกถูกผดิ ทาแบบทดสอบออนไลน์ จับเวลาได้ เปน็ ชอ่ งทางติดต่อสอ่ื สารกบั นกั ศึกษาในชน้ั เรียน เป็นแหลง่ เรียนรู้ทถี่ กู ต้อง ทผี่ ้สู อนสรา้ งข้ึนเองและยงั สามารถวดั และประเมนิ ผลได้เลย ช่วยให้ผ้เู รยี นไดเ้ ตรยี มความพร้อมก่อนเรยี น และสามารถทบทวนบทเรยี นในภายหลังได้ 29
Moodle เวอรช์ นั ใหมย่ ังสามารถ Backup ข้อมูลและสร้างบทเรยี นแบบ Offline ทาให้สะดวกในการผลติ และต่อยอดขยายผลบทเรยี นอย่างต่อเน่ือง Moodle สามารถแยกส่วนของขอ้ มูล แตล่ ะอาจารย์ แตล่ ะหัวข้อชดั เจน ทาใหส้ ะดวกในการติดตามเน้ือหา Moodle สนับสนุนการทางานแบบ Single sign on น่นั คอื ทางานรว่ มกบั อเี มล์ KNC ทเ่ี ราคุ้นเคย ท้ังผูส้ อนและเรียนสามารถเขา้ สรู่ ะบบได้โดยไม่ต้องจารหัสเพิ่ม จาเพียงอเี มล์ KNC ก็สามารถเข้าสู่ระบบจดั การเรียนการสอนได้แล้วนอกจากนยี้ ังสนบั สนุนการเข้าเรียนหลาย ๆ User พร้อมกันโดยราบร่ืน ขอ้ จากดั ขาดปฏสิ ัมพันธ์ในการเรยี นการสอน การส่อื สารผ่านทาง Moodle ไมเ่ ป็น real time เหมือน Kahoot! PingPong Line ทาใหก้ ารกระตุ้นใช้Moodle ไม่สนุกเทา่ Kahoot! PingPong เทคนคิ การใช้ Moodle ในการจดั การเรยี นรใู้ หป้ ระสบความสาเรจ็ การสรา้ งรายวชิ าใน Moodle ผู้สอนควรทบทวนการออกแบบการเรยี นการสอนตามท่ีผสู้ อนได้ออกแบบไว้ใน มคอ.3 กอ่ น เพือ่ จะช่วยให้มีทศิ ทางในการสร้างรายวชิ าใน Moodle ควรมีการทาํ แบบทดสอบเกบ็ ไวในคลงั ขอ สอบ ใหห ลากหลายและมีการปรบั เปลยี่ น เพอื่ ใหง ายในการแขวนขอ สอบไวในสอ่ื การสอน ในการสร้างบทเรยี นผู้สอนจาเปน็ ต้องมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ Moodle มาก่อนจึงจะสร้างบทเรียนได้ดี หากได้ลองใช้ Moodle ไปนานๆและบ่อยๆกจ็ ะเกิดความชานาญทาให้ใช้งานง่ายและสะดวกข้ึน Moodleเป็นระบบจดั การเรยี นการสอนทด่ี ี สามารถออกแบบกจิ กรรมเพื่อให้นักศึกษาไดใ้ ช้อย่างหลากหลายทสี่ าคญั สามารถนาไปออกแบบการจดั เรียนการสอน เชน่ การทาปฏิบตั กิ าร การใชป้ ัญหาเป็นฐาน การใหผ้ ้เู รยี นสะท้อนกลบัฯลฯ อย่างไรก็ดีผู้ออกแบบการเรยี นการสอน ตอ้ งมกี ารตดิ ตามผลตดิ ตามการใช้งาน การตรวจงานทท่ี นั เวลาและรวดเร็วเพอื่ เป็นการกระตุ้นผู้เรยี นเป็นระยะระยะ เพอ่ื ใหม้ ีการสอื่ สารสองทาง ทาใหผ้ เู้ รยี นรู้ว่าอาจารย์สามารถให้คาปรึกษาได้อย่างทนั ท่วงทีและตลอดเวลา การใช้งาน Moodle จะประสบความสาเร็จได้ ผู้สอนต้องมีความสามารถในการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่น่าสนใจ มีทมี เทคนิคช่วยในการผลติ สอ่ื ทีผ่ สู้ อนไดอ้ อกแบบไว้ และมีทีมเทคนิคช่วยแกไ้ ขปัญหาให้กับผู้สอนและผเู้ รียน 30
การประยกุ ตใ์ ชเ้ ครอื่ งมอื ใน Moodle การประยุกตใ์ ช้เครื่องมือใน Moodle สาหรบั การจัดการแหล่งข้อมลู และกจิ กรรมการเรียนการสอน (Activities &Resource) ผ้สู อนสามารถใส่เนอื้ หาหรอื ส่ือทีต่ ้องการใหผ้ ู้เรยี นเรียนรู้ โดยผา่ นการอ่าน การฟัง หรือสอ่ื นาเสนอแบบต่างๆไดด้ ว้ ยการเพ่ิมแหลง่ ข้อมูลและกจิ กรรมในบทเรยี น การสรา้ งแหลง่ ขอ้ มลู แหลง่ ขอ้ มูล คอื เครื่องมอื หลักในการนาเน้ือหามาสู่รายวชิ า เชน่ 1. Label ใช้สาหรบั สร้างแหลง่ ข้อมูลแบบข้อความ รปู ภาพ และสื่อมัลติมเี ดีย ทจ่ี ะปรากฏในหนา้ แรกเมื่อผู้เรยี นเปิดเขา้ มาศกึ ษาบทเรียน 2. Page ใช้สาหรับสรา้ งแหล่งขอ้ มูลท่ีหนา้ แรกจะปรากฏเปน็ ชื่อหัวขอ้ ที่สามารถคลิกลิงค์ไปเปิดได้ 3. URL ใช้สาหรบั สร้างแหล่งข้อมูลแบบการ Link หน้า web page จากทอี่ ่นื ๆ เข้ามาแสดงในหน้าบทเรยี น 4. แหล่งขอ้ มลู ใช้สาหรบั สร้างแหล่งขอ้ มูลแบบการเพ่ิมไฟลข์ ้อมูลมาแสดงให้ผเู้ รยี นสามารถนาดาวนโ์ หลด หรอื เรียกใชง้ านได้โดยมสี ญั ลักษณ์ของโปรแกรมทส่ี นับสนุนแจง้ ใหผ้ ูเ้ รียนสามารถรไู้ ด้ว่า เอกสารนั้นอยู่ในรูปแบบข้อมูลชนดิ ใด เชน่MSword หรอื pdf 5. Folder ใชส้ าหรับสร้างแหล่งข้อมลู แบบการเพิ่มโฟลเ์ ดอร์ของรายวชิ า มาแสดงใหผ้ ู้เรียนสามารถนาดาวน์โหลด หรอืเรยี กใชง้ านได้ 31
การสรา้ งกจิ กรรม กิจกรรม คือ เครื่องมือสาหรบั ผ้สู อนที่ใช้เพ่อื วัดและประเมินประสทิ ธภิ าพของการสอนและเน้ือหาที่สรา้ งจากแหลง่ ข้อมลู โดยผเู้ รียนจะใชก้ ิจกรรมเป็นช่องทางในการสื่อสารความรู้ความเขา้ ใจผา่ นทางสื่อกิจกรรม เชน่ 1. Assignment ใชส้ าหรับสร้างกิจกรรมการมอบหมายงาน ช่วยใหค้ รสู ามารถสือ่ สารงานรวบรวมผลงานผู้เรยี น ใหค้ ะแนนและขอ้ เสนอแนะ โดยผู้เรียนสามารถพิมพข์ ้อความผ่านระบบโดยตรง (online text) หรือ ส่งเน้อื หา (file submission) เช่นไฟลเ์ อกสาร รปู ภาพ คลิปเสยี ง และวิดโี อ ซง่ึ ผู้เรยี นเรยี นสามารถสง่ งานไดเ้ ป็นรายบคุ คลหรอื เป็นสมาชิกในกลุม่ 2. แบบทดสอบ ใช้สาหรับสร้างกิจกรรมแบบทดสอบ เพ่ือวัดความรู้ ความเข้าใจของผเู้ รยี น ทัง้ ก่อนเรียน และหลังเรียน กิจกรรมแบบทดสอบที่สร้างขน้ึ ผสู้ อนจะตอ้ งตัง้ ชอ่ื แบบทดสอบท่ีบอกว่าเปน็ แบบทดสอบเพ่ือวัดอะไร เช่น แบบทดสอบกอ่ นเรียนแบบทดสอบหลังเรยี น เปน็ ตน้ ในแต่ละแบบทดสอบจะมีคาถามที่ถูกเลือกมาใชง้ านจากคลงัคาถาม (Question Bank) เชน่ คาถามปรนัย อัตนัย ถูก-ผดิ เติมคาในช่องว่าง ซ่งึ สามารถสรา้ งขน้ึ ได้ โดยใช้เครอื่ งมือท่ีมีอยู่ ใน Moodle (Create anew question) หรือนาเขา้ คาถามจากภายนอก 3. กระดานเสวนา ผู้สอนสามารถใช้เคร่ืองมือน้ีติดตอ่ สอื่ สารระหวา่ งผู้สอนและผู้เรียน หรือผเู้ รยี นกับผ้เู รียน โดยอาจเป็นการถามตอบแสดงความคดิ เหน็ ในบทเรียน นอกจากน้ยี ังชว่ ยในการสรา้ งสีสันและความเคล่ือนไหวให้กับรายวิชาจากการมีผู้เข้ามาต้ังกระทู้ถามตอบอกี ด้วย 32
ตวั อยา่ งการจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้ Moodleผูส้ อนทาการสรา้ งรายวชิ าใน Moodle ดว้ ยตนเองผูส้ อนใส่เอกสาร บทเรยี น ลาดับเหตกุ ารณต์ ามความเหมาะสม และผ้เู รียนเปิดศกึ ษาบทเรียนไดต้ ามที่ผ้สู อนเตรียมไว้ 33
ผสู้ อนใส่สอ่ื animation หรอื Link ใหผ้ ู้เรยี นเปิดเข้าไปศกึ ษา เม่ือศึกษาบทเรยี นแลว้ ผู้เรยี นสามารถเลอื กทาแบบทดสอบตามที่ผ้สู อนไดเ้ ตรยี มไว้ 34
หลงั จากทาแบบทดสอบ ผู้เรียนจะทราบผลการประเมนิ ว่าผา่ นการประเมินหรอื ไม่ และทาไดถ้ ูกต้องหรอื ไม่ สรปุ การจัดการเรียนรู้โดยใช้ Moodle นบั เป็นทางเลือกหน่งึ ของการจัดการเรยี นรู้ในยคุ ศตวรรษท่ี 21 ทไี่ ด้นาความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการสอ่ื สารมาใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ ซ่ึงเป็นโปรแกรมท่ีมีความศกั ยภาพหลากหลาย ไมว่ ่าจะเป็นการเพ่ิมวชิ า การเพ่ิมเนอ้ื หาของรายวิชา ส่อื ประกอบการเรียน การเพ่ิมกจิ กรรมการเรยี นการสอน เช่น ใบงานการบ้าน แบบทดสอบ รวมทงั้ การประเมนิ ผล และตดิ ตามดูพฤติกรรมของผูเ้ รียน รวมท้งั ผเู้ รียนสามารถเขา้ มาศึกษาและทบทวนบทเรียนได้ตลอดเวลา 35
Show and share ขุมความรูใ้ นองคก์ ร คณะจัดการความรู้กลุ่มงานยุทธศาสตรแ์ ละประกนั คณุ ภาพ ได้นาเสนอแนวปฏิบตั ิท่ีดแี ละจดั บทู นทิ รรศการในโครงการ การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ KNC Show & Share 2018 ณ หอประชมุวทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครราชสมี า เม่ือวนั ที่ 25 กรกฎาคม 2561 เพื่อเผยแพร่การจดั การความร้เู ร่อื ง การใช้ Moodle สนับสนนุ การจดั การความรู้ให้กบั บคุ ลากรในองคก์ ร 36
ภาคผนวก กรายชื่อผู้เขา้ รว่ มประชุม 37
ภาคผนวก ขบนั ทึกความรทู้ ่ไี ด้จากการแลกเปลยี่ น 42
โดย นางสาวรสสุคนธ์ พไิ ชยแพทย์ การจดั รูปแบบการเรียนโดยใช้ Moodle เปน็ ทางเลือกหนงึ่ ในการจดั การเรียนการสอน ดิฉนั และคณะยงั ไม่เคยใช้วธิ กี ารเรียนโดยผ่านระบบน้ี แต่ใชร้ ูปแบบการสอนในหองเรียนโดยใช้ส่ือประกอบการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ซงึ่ เม่ือมาเรียนรู้รปู แบบการใช้ Moodle เกดิ ความสนใจนาวิธีการสอนในชั้นเรยี นมาพฒั นาเข้าระบบ Moodle อาจเนอื่ งดว้ ยว่า รูปแบบการสอนทที่ าอย่สู ามารนุ าเขา้ สกู่ ารเรียนแบบน้ีได้ และนา่ จะทาใหน้ กั ศกึ ษามีอสิ ระในการแลกเปล่ียนความเหน็ และไดร้ ูจ้ ักกระบวนการคิดของนักศกึ ษารายบคุ คลมากกวา่ เดิม และสามารใช้ส่ือการเรียนไดห้ ลายวิธีมาก และในโอกาสต่อไปอาจได้มกี ารพัฒนา APP Moodle ให้ใชก้ นั อย่างแพรห่ ลายมากขึ้น การจัดการเรียนรู้สมัยใหม่ในยุคศตวรรษที่ 21 ผู้สอนจาเป็นต้องมีความรู้ความสามารถหลายอย่างในการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ ประกอบกับปัจจุบันเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ได้มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเช่ือมต่อด้วยเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่มีบริการในรูปแบบต่างๆ ซึ่งเอ้ือประโยชน์ในการให้บริการทางด้านการสื่อสารข้อมลู ท้ังน้กี ลมุ่ งานยุทธศาสตร์และการประกันคณุ ภาพซง่ึ รับผิดชอบในงานด้านเทคโนโลยีสารเทศ ไดเ้ หน็ ถงึ ความสาคัญในการสนับสนุนการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 จึงไดท้ าการจดั การความรูเ้ ร่ือง การใช้ Moodle ขึน้ เพ่ือนาไปสูก่ ารสนับสนุนการจัดการเรียนรูใ้ หม้ ีประสิทธิภาพและแพรห่ ลายย่งิ ขนึ้ 43
โดย นางสุชาดา วงศส์ วาสดิ์ Moodle เป็นซอฟต์แวรส์ าํ หรับใชใ้ นการจัดการรายวิชาผ่านเว็บ โดยมีระบบการจัดการเว็บไซต์ซึ่งรองรับทั้ง ผ้ดู ูแลระบบ ผ้สู อน และผูเ้ รียน มเี ครอื่ งมือที่ช่วยในการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บให้เป็นไปได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ Moodle มีความสามารถ ดงั น้ี - ช่วยรวบรวมวิชาเป็นหมวดหมู่ เผยแพร่เนื้อหาของผู้สอน พร้อมบริการให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษาบันทึกกิจกรรมของผู้เรียน และตัดเกรด สามารถ รองรับ Microsoft Office, Web Page, PDF,Animation หรือ Image เป็นต้น เพื่อการเผยแพร่ได้ ผู้เรียนเข้ามาเรียนก่ีรอบก็ได้ จบไปเข้าแล้วกลับมาทบทวนกไ็ ด้ - มีระบบติดต่อสื่อสารระหว่างผู้เรียน เพ่ือนร่วมช้ัน และผู้สอน เช่น chat หรือ web boardผู้เรยี นฝากคําถาม ผู้สอนให้การบา้ นไว้ ผ้สู อนนดั หมาย หรือแจกเอกสารให้อ่านก่อนเข้าเรียนได้ - มรี ะบบแบบทดสอบ รับใบงาน และกิจกรรมที่รองรับระบบให้คะแนนท่ีหลากหลาย ให้ส่งงาน ให้ทําแบบฝึกหัด ตรวจใหค้ ะแนนแล้ว export ไป excel ได้ การประยุกต์ใช้เคร่ืองมือใน Moodle สําหรับการจัดการแหล่งข้อมูล และกิจกรรมการเรียนการสอน (Activities & Resource) ผ้สู อนสามารถใส่เนอ้ื หาหรอื สอ่ื ทตี่ ้องการให้ผู้เรียนเรียนรู้ โดยผ่านการอ่านการฟัง หรอื สื่อนาํ เสนอแบบตา่ งๆ ได้ดว้ ยการเพม่ิ แหล่งข้อมลู และกจิ กรรมในบทเรียน เชน่ 1. Label ใชส้ ําหรบั สร้างแหล่งข้อมลู แบบขอ้ ความ รูปภาพ และส่ือมัลติมีเดีย ท่ีจะปรากฏในหน้าแรกเม่อื ผูเ้ รียนเปิดเข้ามาศึกษาบทเรยี น 2. Page ใช้สาํ หรับสรา้ งแหลง่ ข้อมลู ท่หี น้าแรกจะปรากฏเปน็ ชื่อหัวข้อทสี่ ามารถคลิกลิงค์ไปเปิดได้ 3. URL ใช้สําหรับสร้างแหล่งข้อมูลแบบการ Link หน้า web page จากที่อ่ืนๆ เข้ามาแสดงในหนา้ บทเรียน 4. แหล่งข้อมูล ใช้สําหรับสร้างแหล่งข้อมูลแบบการเพ่ิมไฟล์ข้อมูลมาแสดงให้ผู้เรียนสามารถนาดาวน์โหลด หรือเรียกใช้งานได้ โดยมีสัญลักษณ์ของโปรแกรมที่สนับสนุนแจ้งให้ผู้เรียนสามารถรู้ได้ว่าเอกสารนนั้ อยูใ่ นรูปแบบข้อมูลชนดิ ใด เชน่ MSword หรือ pdf 5. Folder ใช้สําหรับสร้างแหล่งข้อมูลแบบการเพิ่มโฟล์เดอร์ของรายวิชา มาแสดงให้ผู้เรียนสามารถนาดาวนโ์ หลด หรอื เรียกใช้งานได้ 44
โดย นางสภุ าวดี ไชยเดชาธร จากท่ีใชก้ ารเรยี นใน Moodle มาเป็นส่อื เสริมรว่ ม 10 ปีพบว่าช่วยให้นักศกึ ษาไดเ้ ตรียมความพร้อมก่อนเรียน ไดท้ บทวนเนอื้ หาผ่านแบบฝกึ หดั ท่เี รียน และสะดวกในการวางสื่อAnimation ให้ได้ดูทบทวนภายหลงั จากทเี่ รียนในห้องเรียน ท้งั นี้ Moodle Ver.ใหม่ยังสามารถ Backup ข้อมลู และสร้างบทเรยี นแบบ Offline ทาใหส้ ะดวกในการผลติ และตอ่ ยอดขยายผลบทเรียนอย่างตอ่ เนื่อง หากได้มีการสรา้ งหอ้ งเรียนเสมอื นอกี 1ห้อง เพ่ือวางส่อื การสอนตา่ งๆในภาพรวมของหน่วยวิทยบรกิ ารเช่น คลิป vdo ปฏบิ ตั ิการพยาบาล Animation หตั ถการต่างๆ การเชือ่ มโยงแหล่งขอ้ มูลตา่ งๆทเี่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ การเรียนรู้ และให้ นศ. Enrole เข้าไปใช้งานไดใ้ นแหลง่เดียวด้วยจะดมี าก เครื่องมือที่ใชจ้ ะมคี วามหลากหลายกว่าการทา Google classroom สามารถดู Reportได้หลายรปู แบบ ประมวลผลคะแนนได้ assign งานได้ และ...etc ภายหลังจากอบรมเชิงปฎิบัตกิ ารเร่ืองการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 พบว่าเราสามารถใช้ Moodle เปน็ สือ่ เชื่อมโยงการเรียนการสอนไดห้ ลายรปู แบบ และสามารถนาApplication ตา่ งๆมาผสมผสาน เช่น Padlet ,Google site....เป็นต้น นอกจากนั้นพบวา่ หากนาProgram ผลติ สื่อเคลอ่ื นไหวมาผสมผสานดว้ ยจะทาให้บทเรียนดนู า่ สนใจยง่ิ ขน้ึ อีกท้ังปัจจุบนั มี Application Moodle ซงึ่ สามารถเขา้ ใชง้ านผ่านโทรศพั ท์มือถอื ได้สะดวกข้นึ ดว้ ย โดยจดั รปู แบบให้เข้าศึกษาบทเรียนได้งา่ ย 45
โดย นางวรรณา ธนานภุ าพไพศาล วพบ.นม.มรี ะบบ ITท่ีมีมาตรฐาน internet ท่ีสมบรู ณ์ รองรบั นศ.ส่วนใหญ่ก็ มีสมารท์โฟน สามารถจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Application Moodle ไดห้ ลากหลายทง้ั ดา้ นPre clinic และ clinic ให้เหมาะสมกับเนอื้ หา สามารถใส่ภาพนิง่ ภาพเคลอื่ นไหว ประเมินผลกอ่ นและหลงั การเรยี นการสอนไดไ้ ด้ จึงเหมาะอย่างยิ่งกับการสอน นศ.พยาบาล Moodle คือ โปรแกรมที่ทาํ หนา้ ทใ่ี ห้บริการระบบอีเลริ ์นนิง บรกิ ารให้นกั เรยี นเข้าเรยี นรู้ตามลําดับ ตามช่วงเวลา ตามเงอื่ นไขท่คี รูได้จัดเตรยี มอย่างเป็นระบบ และประเมินผลการเรียนรูข้ องนกั เรียน พรอ้ มแสดงผลการประเมินใหท้ ราบทันที Moodle มีกิจกรรม (Activities) ใหอ้ าจารยเ์ พมิ่ เติมเข้าไป เช่น กระดานเสวนา หรอืเวบ็ บอร์ด แหล่งทเี่ ปดิ ให้มีการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ดว้ ยการ แสดงความคดิ เห็นหรือถามตอบ การบ้าน (Assignment) คือ การมอบหมายให้นักศึกษาทํางานแลว้ กลับมาสง่ ดว้ ยการอพั โหลด พมิ พ์ คําตอบ แบบทดสอบ (Quiz) คือ ข้อสอบวัดผลการเรียนรูเ้ พอื่ ประเมินกอ่ นเรียน หรือหลังเรยี น การพัฒนาบทเรียนดว้ ย Moodle ประกอบด้วย การเพิ่มแหล่งข้อมลู เชน่ Web Page,Web Site, Label ฯลฯ การเพมิ่ กจิ กรรม เช่น กระดานขา่ ว แบบทดสอบ และการเพม่ิบลอ็ ก เชน่ สมาชกิ ออนไลน์ เข้าสรู่ ะบบ ฯลฯ การนาํ Moodle มาใช้กับการเรยี นการสอนในรูปแบบ e-Learning จงึ มีความเหมาะสมเป็นอย่างยิ่ง เน่ืองจากคุณลักษณะและความสามารถของ Moodle จะช่วยส่งเสริมการเรียนตามทฤษฏีการเรยี นรู้แบบสรา้ งองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง 46
โดย นางสาวปยิ ะรตั น์ แสงบารงุ การจัดการเรียนการสอนในยคุ ปัจจบุ ัน เนน้ การเปิดโลกของการศกึ ษา ผเู้ รยี นสามารถมีโอกาสเข้าถึงไดง้ ่าย และมีวิธกี ารเรียนรูท้ ี่หลากหลาย ดงั นนั้ การจดั รปู แบบการเรียนโดยใช้E- learning จงึ เป็นทางเลือกหน่ึงในการจัดการเรียนการสอน เมอื่ หลายเดือนก่อน ดฉิ ันจัดการเรยี นการสอนโดยใช้ APP Google classroom พบวา่ สามารถจดั การเพิ่มเตมิ เน้อื หา การสอนวิดีโอ ทาได้ง่าย แต่ความหลากหลายของการเพิ่ม ส่ือ หรอื การวางรปู แบบให้เปน็ การติดตอ่ระหวา่ งผู้เรยี นและผู้สอน ไมค่ อ่ ยสะดวกเท่าที่ควร รวมถงึ การสร้างขอ้ สอบ ภายหลังจากได้มีการพฒั นาส่ือการเรยี นการสอนโดยใช้ APP Moodle ในการจัดการเรียนการสอนพบว่า การแทรกเน้ือหา หรือสื่อตา่ งๆ ทาได้หลากหลาย เพ่มิ ขึน้ กว่าการใช้ APPGoogle classroom แตม่ ีขอ้ เสนอแนะในการทาคอื การทาแบบสอบถามตา่ งๆ ไมว่ า่ จะเปน็ pre test ,post test ควรมีการทาแบบทดสอบเก็บไว้ในคลงั ข้อสอบ ใหห้ ลากหลายและมกี ารปรบั เปลี่ยนเพ่อื ใหง้ ่ายในการแขวนข้อสอบไว้ในสอ่ื การสอน และในโอกาสตอ่ ไปอาจไดม้ กี ารพัฒนา APPMoodle ใหใ้ ชก้ นั อย่างแพรห่ ลายมากขึน้ 47
โดย นางสุชาฎา คล้ายมณี การออกแบบการเรียนการสอนในลักษณะการเรยี นรู้ผ่านเวบ็ ไซส์ เปน็ การใช้คุณสมบตั ติ ่างๆของอนิ เทอรเ์ นต็ มาออกแบบและพฒั นาการจดั การเรยี นการสอนในลกั ษณะทผี่ เู้ รยี นสามารถมีปฏสิ ัมพนั ธก์ ับเนอ้ื หา บทเรยี น และผู้สอนเหมอื นอยกู่ บั ในหอ้ งเรียนเสมือน (Virtual Classroom)ซงึ่ สามารถศึกษาเนื้อหา อภปิ รายกลมุ่ สมั มนาซักถาม และตอบปัญหาการเรียนการสอนผ่านเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรท์ ่เี ชอื่ มโยงระหว่างคอมพิวเตอรข์ องผเู้ รยี นกบั เคร่ืองคอมพวิ เตอรแ์ มข่ ่าย (Server) ทมี่ ีแหล่งขอ้ มลู ดา้ นการศึกษาหรือฐานความรู้ (Knowledge-based) เพ่ือการมีปฏสิ ัมพันธก์ นั ระหวา่ งผเู้ รยี นกบั ผ้เู รยี น หรอื ผเู้ รียนกับผสู้ อน มีการนาํ เสนอสอื่ ในลกั ษณะของสื่อประสมทง้ั ขอ้ ความรูปภาพ ภาพเคลอื่ นไหว และเสยี งกิจกรรมตา่ งๆ เชน่ การสนทนาผา่ นหอ้ งสนทนา การต้งั กระทู้ถาม-ตอบบนกระดานขา่ วหรือการส่งการบ้าน ซงึ่ เปน็ รปู แบบการจัดการเรยี นการสอนทเี่ หมาะสมในยุคศตวรรษท่2ี 1 และในอนาคตตอ่ ไป เปน็ การส่งเสรมิ จดั การเรยี นการสอนทีเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สําคญัท่ใี ช้เน้นการใชร้ ปู แบบการเรียนรู้ทห่ี ลากหลาย ผ้เู รียนสามารถเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง และสามารถเข้าถงึส่ือและเนื้อหาการเรยี นรไู้ ดง้ ่าย สะดวก และรวดเรว็ จากประสบการณก์ ารจดั การเรยี น การสอนโดยใช้ E- learning โดยใช้ APP Googleclassroom พบวา่ สามารถถ่ายทอดเนอื้ หา ใบงาน สอ่ื และเนอื้ หาสาระต่างๆ ที่เป็นแนวทางในการกระตุ้นการเรียนรูไ้ ด้ง่าย การอภปิ ราย ตอบขอ้ ซกั ถาม สื่อสารตา่ งๆกบั ผเู้ รียนไดง้ า่ ย สะดวก และรวดเรว็ แต่การจัดการเรยี นการสอนรปู แบบน้ผี ู้สอนตอ้ งมีความคล่องตัวเกี่ยวกบั ทักษะการใช้internet และสถาบนั ตอ้ งมีระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ทเี่ ชอ่ื มโยงระหวา่ งคอมพวิ เตอร์ของผูเ้ รยี นกบั เคร่อื งคอมพวิ เตอรแ์ มข่ ่าย (Server) ทท่ี ันสมยั รวดเรว็ มปี ระสทิ ธิภาพให้สอดคลอ้ งตามยคุ ตามสมัยและพฒั นาระบบ E- learning ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพและใช้กนั อย่างแพรห่ ลายทวั่ ท้ังองคก์ ร 48
โดย นางสภุ าวดี ไชยเดชาธร จากท่ีใชก้ ารเรยี นใน Moodle มาเป็นส่อื เสริมรว่ ม 10 ปีพบว่าช่วยให้นักศกึ ษาไดเ้ ตรียมความพร้อมก่อนเรียน ไดท้ บทวนเนอื้ หาผ่านแบบฝกึ หดั ท่เี รียน และสะดวกในการวางสื่อAnimation ให้ได้ดูทบทวนภายหลงั จากทเี่ รียนในห้องเรียน ท้งั นี้ Moodle Ver.ใหม่ยังสามารถ Backup ข้อมลู และสร้างบทเรยี นแบบ Offline ทาใหส้ ะดวกในการผลติ และตอ่ ยอดขยายผลบทเรียนอย่างตอ่ เนื่อง หากได้มีการสรา้ งหอ้ งเรียนเสมอื นอกี 1ห้อง เพ่ือวางส่อื การสอนตา่ งๆในภาพรวมของหน่วยวิทยบรกิ ารเช่น คลิป vdo ปฏบิ ตั ิการพยาบาล Animation หตั ถการต่างๆ การเชือ่ มโยงแหล่งขอ้ มูลตา่ งๆทเี่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ การเรียนรู้ และให้ นศ. Enrole เข้าไปใช้งานไดใ้ นแหลง่เดียวด้วยจะดมี าก เครื่องมือที่ใชจ้ ะมคี วามหลากหลายกว่าการทา Google classroom สามารถดู Reportได้หลายรปู แบบ ประมวลผลคะแนนได้ assign งานได้ และ...etc ภายหลังจากอบรมเชิงปฎิบัตกิ ารเร่ืองการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 พบว่าเราสามารถใช้ Moodle เปน็ สือ่ เชื่อมโยงการเรียนการสอนไดห้ ลายรปู แบบ และสามารถนาApplication ตา่ งๆมาผสมผสาน เช่น Padlet ,Google site....เป็นต้น นอกจากนั้นพบวา่ หากนาProgram ผลติ สื่อเคลอ่ื นไหวมาผสมผสานดว้ ยจะทาให้บทเรียนดนู า่ สนใจยง่ิ ขน้ึ อีกท้ังปัจจุบนั มี Application Moodle ซงึ่ สามารถเขา้ ใชง้ านผ่านโทรศพั ท์มือถอื ได้สะดวกข้นึ ดว้ ย โดยจดั รปู แบบให้เข้าศึกษาบทเรียนได้งา่ ย 49
Search