Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานอบรมพัฒนาทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความตามแนวBBL

รายงานอบรมพัฒนาทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความตามแนวBBL

Published by bonus2549, 2019-05-07 23:25:05

Description: รายงานอบรมพัฒนาทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความตามแนวBBL

Search

Read the Text Version

ก บทสรปุ สำหรับผ้บู รหิ ำร สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาพนู เขต 2 ได้ดาเนนิ การอบรมเชิงปฏิบตั ิการ พัฒนาทกั ษะการอา่ น การคิดวิเคราะห์ และการเขียนส่ือความ ตามแนวทาง BBL โดยมีเปา้ หมายคือ ครผู ู้สอนภาษาไทย ระดบั ประถมศึกษาและศึกษานิเทศก์ จานวนทั้งหมด 102 คน และครูผ้สู อนที่สมัคร อบรมฯ เพิ่มเติมจานวน 55 คน รวมทั้งหมด 157 คน โดยมีวตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือสง่ เสริมและพฒั นา ทกั ษะการอา่ น การคดิ วิเคราะห์ และเขยี นส่ือความของนกั เรียนระดบั ชนั้ ประถมศึกษาช้ันประถมศึกษา 2. เพือ่ ส่งเสรมิ สนับสนุนใหค้ รูผู้สอนภาษาไทยสามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้เพอื่ พัฒนาทักษะ การ อา่ น การคดิ วิเคราะห์และการเขียนสือ่ ความ 3. เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น ผลการทดสอบ ความสามารถพืน้ ฐานของผเู้ รียนระดับชาติ (NT) และผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ใหส้ งู ขึน้ สรปุ ผลการดาเนนิ การอบรมฯ ดังน้ี 1. ผเู้ ข้ารับการอบรม มคี วามร้พู ื้นฐานอยู่ในระดับปานกลาง มีคา่ เฉลี่ย 3.29 ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน 1.08 2. ความพงึ พอใจของผเู้ ข้ารบั การอบรมฯ โดยภาพรวม อยูใ่ นระดบั มากทีส่ ดุ มีค่าเฉล่ีย 4.53 ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 0.55 เม่ือพิจารณาเปน็ รายขอ้ สามลาดบั แรก พบวา่ การถา่ ยทอดของวทิ ยากร ทาให้เกดิ การเรยี นรู้ อยู่ในระดับมากที่สดุ ค่าเฉลย่ี 4.87 ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน 0.34 รองลงมา คือ ความค้มุ ค่าที่ไดเ้ ขา้ รับการอบรม อยู่ในระดับมากทีส่ ุด ค่าเฉลีย่ 4.84 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.39 และ เนือ้ หาสาระทไ่ี ดร้ บั จากการฝึกอบรมสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ไดจ้ ริง อย่ใู นระดบั มากท่ีสุด คา่ เฉลี่ย 4.81 สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.42 การเรียนรทู้ เี่ กิดขน้ึ จากการฝึกอบรมฯ ครูผ้สู อนสามารถออกแบบการจัดการเรียนรูเ้ พื่อ พฒั นาทกั ษะการอ่าน การคิดวิเคราะห์ และเขียนสือ่ ความ สามารถนาทักษะกระบวนการการเรียนรู้ ตา่ งๆ เปน็ แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนได้ นาความรทู้ ่ีได้ไปประยุกต์ใชใ้ นการจดั การ เรียนการสอนในสาระอืน่ ๆ ได้และสามารถนาไปพฒั นาผู้เรียนได้จรงิ เพ่อื ให้ผเู้ รียนได้รบั การพฒั นา ความสามารถด้านภาษา (Literacy) ทักษะการคิด และการเขยี นสอ่ื ความ ของผู้เรียนได้อย่างมี ประสิทธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธผิ ลอย่างแท้จรงิ ในการนี้ ขอขอบคุณศึกษานเิ ทศก์ท่ีรับผดิ ชอบ และคณะกรรมการดาเนนิ การทุกท่าน ทม่ี สี ว่ น รว่ มในการดาเนินโครงการต้ังแตเ่ ตรียมการ ประสานงาน และดแู ลผเู้ ข้าร่วมอบรมฯ จนบรรลุ วตั ถปุ ระสงค์ทว่ี างไว้ (นายธนาดุลย์ แสนทวสี ขุ ) ผู้อานวยการสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาพูน เขต 2

ข คำนำ รายงานฉบบั น้ี เป็นสรุปรายงานผลการดาเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการพฒั นาทกั ษะการอา่ น การคดิ วิเคราะห์ และการเขยี นสอ่ื ความ ตามแนวทาง BBL จัดขนึ้ ระหวา่ งวันท่ี 15–16 มิถุนายน 2561 ณ หอประชุมที่ว่าการอาเภอเวยี งหนองล่อง จ.ลาพูน มเี นื้อหาประกอบด้วย หลักการและเหตุผล วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ วธิ กี ารดาเนนิ โครงการ ผลทไ่ี ด้จากโครงการ ข้อเสนอแนะ รายงานฉบบั น้ี สาเรจ็ ลลุ ว่ งไปด้วยดี ดว้ ยความชว่ ยเหลอื จากทา่ นผอู้ านวยการสานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาลาพูน เขต 2 ท่านรองผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาพนู เขต 2 ศึกษานิเทศก์และบุคลากรในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาพูน เขต 2 ทุกท่าน ทใ่ี ห้การส่งเสรมิ สนับสนุน เสนอแนะให้กาลงั ใจ และใหค้ วามรว่ มมือในการดาเนินโครงการ ผู้รายงานมีความคาดหวังว่าสรปุ รายงานผลดาเนินการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารพัฒนาทักษะการอา่ น การคดิ วเิ คราะห์ และการเขยี นสอ่ื ความ ตามแนวทาง BBL จะเป็นประโยชนต์ ่อผู้ทสี่ นใจ นาไป ประยุกตใ์ ชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาต่อไป (นางจิราพร ไกรพล) ศึกษานิเทศกช์ านาญการพิเศษ สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาพูน เขต 2

สารบญั ค บทสรุปสาหรบั ผ้บู ริหาร หน้า คานา สารบญั ก สารบญั ตาราง ข บทท่ี 1 บทนา ค ง หลกั การและเหตุผล 1 วัตถุประสงค์ 1 เปา้ หมาย 1 ตวั ช้ีวดั ความสาเร็จ 2 บทท่ี 2 วิธีดาเนินงาน 2 บทที่ 3 ผลการประเมินการอบรม 3 บทท่ี 4 สรุปและอภปิ รายผล 7 10 ภาคผนวก ก หนงั สือตา่ งๆ ที่เกีย่ วขอ้ ง 12 - บันทกึ ข้อความขออนุมัติโครงการและงบประมาณการดาเนินการ 13 - โครงการฯ 15 - คาสงั่ แต่งตง้ั คณะกรรมการดาเนนิ งาน 20 - หนงั สือแจ้งโรงเรียนสง่ รายชื่ออบรมฯ 23 - หนงั สอื แจง้ โรงเรียนแจง้ รายช่ืออบรมฯ 28 - หนังสือแจ้งวิทยากรวิทยากร 36 ข เครอื่ งมือทใี่ ช้ประเมินการอบรม 37 - แบบสอบถามความพงึ พอใจหลังการอบรบ 38 ค ผลการประเมินการอบรม 42 - ผลการประเมินความพึงพอใจหลังการอบรม 43 48 ง รายชื่อผผู้ ่านการอบรม 54 จ ภาพกจิ กรรมการอบรม 56 คณะผจู้ ดั ทา

สารบัญตาราง ง ตาราง หน้า ตารางท่ี 1 แสดงระดบั ความรพู้ ้นื ฐานของผ้เู ข้ารับการอบรม 8 ตารางที่ 2 แสดงระดับความพงึ พอใจของผ้เู ข้ารับการอบรม 8

1 บทท่ี 1 บทนา หลักการและเหตผุ ล สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานไดด้ าเนนิ การขับเคลื่อนนโยบายอา่ นออกเขียนได้ ต้งั แตป่ ี 2558 จนถงึ ปจั จบุ ัน เพื่อส่งเสริมใหน้ ักเรียนได้รบั การพัฒนาความสามารถในการอ่านและการเขยี น และการ ส่งเสรมิ นสิ ยั รักการอ่าน อันจะนามาซึ่งความรู้และสง่ เสริมใหเ้ กดิ การคิดวเิ คราะห์ มวี ิจารณญาณ แยกแยะ และ ประยกุ ตใ์ ช้ขอ้ มลู ท่เี ป็นประโยชนต์ อ่ ชีวติ พร้อมท้งั สามารถถ่ายทอดสื่อสารความรู้ ความคิดให้ผู้อื่นทราบและ เข้าใจได้ ซ่ึงเป็นทักษะท่ีสาคัญในศตวรรษที่ 21 สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาลาพูน เขต 2 จงึ ได้ดาเนินการพัฒนาการอ่านและการเขยี น ของนักเรยี นและพัฒนากระบวนการเรียนการสอน และรูปแบบเทคนิคการจดั การเรียนการสอนท่ีหลากหลาย ให้กบั ครผู ้สู อนภาษาภาษาไทยอยา่ งต่อเนอ่ื ง และประกอบกับผลการทดสอบระดับชาติปกี ารศกึ ษา 2560 ซง่ึ ผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผเู้ รียนระดับชาติ (NT) ด้านภาษา ของสานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษา ประถมศึกษาลาพูน เขต 2 มีค่าเฉล่ยี 50.92 ซึ่งตา่ กว่าคา่ เฉลี่ยระดับสงั กดั อยู่ 1.02 (ค่าเฉลยี่ ระดับสงั กัด 51.94) และต่ากวา่ คา่ เฉล่ียระดับประเทศ 1.75 (ค่าเฉล่ยี ระดบั ประเทศ 52.67) และผลการทดสอบทาง การศึกษาระดบั ชาติข้นั พืน้ ฐาน (O-NET) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 วิชาภาษาไทย มีค่าเฉล่ยี 49.17 สงู กวา่ ระดับสังกดั 3.88 (ค่าเฉลย่ี ระดับสพฐ. 45.29) และสูงกว่าระดับประเทศ 2.59 (คา่ เฉลีย่ ระดับประเทศ 46.58) ซึ่งในการ วิเคราะห์ผลจากการประเมนิ พบวา่ ครูผูส้ อนยังขาดเทคนิควธิ กี ารจดั การเรียนการสอน ส่ือการสอนโดยใช้ รปู แบบทหี่ ลากหลาย โดยเฉพาะการสอนอา่ น การคิดวิเคราะหแ์ ละการเขยี นส่ือความ อีกทั้งครผู สู้ อนภาษาไทย ไม่ไดจ้ บวิชาเอกภาษาไทย สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาพูน เขต 2 โดยกล่มุ นเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจัด การศึกษา ในฐานะผู้รบั ผิดชอบนโยบายอา่ นออกเขียนได้ จึงเห็นความสาคัญและตระหนักในการพัฒนาการอา่ น การเขียนการคิดวเิ คราะห์ของนกั เรียนในสังกดั จงึ ไดจ้ ัดทาโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ พฒั นาทักษะการอา่ น การคดิ วิเคราะหแ์ ละการเขยี นส่ือความ เพอื่ พัฒนาไปสกู่ ารเขียนสรุป ย่อความ และสื่อ ความได้ ท้ังนเี้ พ่ือใหผ้ ู้เรยี นมีความสามารถด้านการอา่ นและการเขียน ความสามารถในการรเู้ รื่องการอา่ น (Reading Literacy) ยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน และผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผูเ้ รียน ระดบั ชาติ (NT) และผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) ใหส้ งู ขึ้น วัตถุประสงค์ 1. เพ่อื สง่ เสริมและพัฒนาทกั ษะการอา่ น การคดิ วิเคราะห์ และเขยี นส่ือความของนักเรยี นระดับชนั้ ประถมศึกษาชน้ั ประถมศึกษา 2. เพ่ือสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ครูผู้สอนภาษาไทยสามารถออกแบบการจดั การเรยี นรู้เพอื่ พัฒนาทกั ษะ การอา่ น การคดิ วิเคราะหแ์ ละการเขียนส่ือความ 3. เพื่อยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ผลการทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผ้เู รียนระดับชาติ (NT) และผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พน้ื ฐาน (O-NET) ให้สงู ขึ้น

2 เป้าหมาย เชิงปรมิ าณ 1. ผลสัมฤทธิ์การเรียนภาษาไทยของนกั เรียนทุกระดบั ชัน้ เพ่ิมขึน้ อย่างน้อยร้อยละ เมอ่ื เปรียบเทยี บกับปีทผ่ี า่ นมา 2. ร้อยละ 100 ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1-3 อา่ นออกเขียนได้ นักเรยี นชั้นประถมศึกษา ปที ี่ 4–6 อา่ นคลอ่ งเขียนคล่อง และมที ักษะการอา่ น การคิดวเิ คราะหแ์ ละการเขยี นส่อื ความ 3. ครผู สู้ อน ร้อยละ 80 ท่ีเข้ารบั การอบรมฯไดร้ บั การพฒั นาสามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้ ทีพ่ ัฒนาทักษะการอา่ น การคิดวเิ คราะห์ และการเขียนสื่อความ เชิงคณุ ภาพ 1. ผลสัมฤทธ์กิ ารเรยี นภาษาไทยของนกั เรียนทุกระดับชัน้ เพม่ิ ขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 3 เมื่อเปรยี บเทียบ กบั ปที ี่ผ่านมา 2. นกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1-3 อ่านออกเขียนได้ นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4–6 อ่านคล่อง เขยี นคล่อง และมีทักษะการอ่าน การคิดวิเคราะห์และการเขยี นสือ่ ความ 3. ครูผสู้ อนภาษาไทยสามารถออกแบบการจัดการเรยี นรู้ พัฒนาสอ่ื /นวตั กรรมสาหรับใชแ้ ก้ปญั หา/ พฒั นาผูเ้ รยี นที่มปี ัญหา ด้านการอ่าน และการเขียน และยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์การเรียนภาษาไทยได้อย่างมี คุณภาพและประสิทธภิ าพ ตัวชีว้ ดั ความสาเร็จ 1. ผลสมั ฤทธิก์ ารเรยี นภาษาไทยของนักเรยี นทุกระดบั ชั้น เพ่มิ ขึน้ อยา่ งน้อยร้อยละ 3 เมอ่ื เปรยี บเทียบกบั ปีทผี่ า่ นมา 2. นักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1–3 รอ้ ยละ 100 อา่ นออกเขียนได้ตามจุดเน้นพัฒนาคุณภาพ ผู้เรยี นนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4-6 อา่ นคล่องเขียนคลอ่ ง และนักเรยี นมีปัญหาอ่าน เขยี นภาษาไทยลดลง อยา่ งน้อยร้อยละ 1 เมื่อเปรียบเทียบกับปีการศึกษาทีผ่ า่ นมา 3. ครผู ูส้ อนภาษาไทย รอ้ ยละ 80 สามารถพฒั นาสือ่ /นวัตกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการ อ่าน การเขยี น และ/หรือยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์การเรยี นภาษาไทยของนักเรยี นที่มีคุณภาพ

3 บทท่ี 2 วิธดี าเนนิ งาน การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการพัฒนาทกั ษะการอา่ น การคดิ วิเคราะห์ และเขียนสื่อความ ตามแนวทางBBL จัดขึน้ ระหว่างวันท่ี 15–16 มิถนุ ายน 2561 ณ หอประชุมท่วี า่ การอาเภอเวยี งหนองล่อง จ.ลาพนู มขี น้ั ตอน ในการดาเนินงาน คือ 1. กลมุ่ เปา้ หมาย 2. คณะวิทยากร 3. ขอบเขตการอบรม 4. ข้ันตอนการดาเนนิ การ 5. การประเมนิ ผลโครงการฝกึ อบรม 6. การวิเคราะหผ์ ล กลุ่มเป้าหมาย ครผู ู้สอนภาษาไทยและศึกษานเิ ทศก์ จานวน 157 คน (ตามเปา้ หมายในโครงการฯ จานวน 91 คน ศกึ ษานเิ ทศก์ จานวน 11 คนและครผู ้สู อนทส่ี มคั รเข้ารบั การอบรมฯเพิม่ เติมจานวน 55 คน) คณะวทิ ยากร 1. อาจารย์พรพไิ ล เลศิ วิชา เมธวี จิ ัยอาวุโส สานกั งานกองทุนสนบั สนุนการวจิ ยั ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นการจัดการเรียนรู้ (Brain-based Learning) 2. อาจารย์ฉตั รียา เลศิ วิชา ผู้เชีย่ วชาญดา้ นการจัดการเรียนรู้ BBL 3. อาจารย์เดอื นฉาย รุม่ จิตร ผู้เช่ยี วชาญด้านการจดั การเรียนรู้ BBL 4. อาจารย์เยาวเรศ ขดั นาค ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นการจดั การเรียนรู้ BBL 5. อาจารย์ชนากานต์ กองรัตน์ ผู้เชีย่ วชาญด้านการจัดการเรียนรู้ BBL 6. นางจิราพร ไกรพล ศกึ ษานเิ ทศกช์ านาญการพิเศษ 7. นางกรัณฑา อมั พธุ ศกึ ษานเิ ทศก์ชานาญการพเิ ศษ 8. นางสาวจนั ศรี วงศ์ศรใี ส ครูชานาญการพิเศษ ร.ร.บา้ นฮ่อมต้อ 9. นางสาวเสรี ยาอุตม์ ครูชานาญการพิเศษ ร.ร.บ้านห้วยหญา้ ไซ

4 ขอบเขตการอบรม เนือ้ หาท่ีใช้ในการอบรม - Update การศึกษายุค 4.0 - แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูเ้ พื่อพัฒนาทักษะการอา่ น - แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เพ่ือกจิ กรรมพัฒนาการคดิ วิเคราะห์ - แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูเ้ พอ่ื กิจกรรมพัฒนาทักษะการเขยี นสรปุ ความและการ เขยี นจบั ใจความสาคญั วธิ กี ารอบรม ฝกึ อบรมเชงิ ปฏิบัติการ ประกอบดว้ ย การบรรยาย กิจกรรมกลุ่มย่อย ฝึกปฏิบัติ การอภิปรายผล และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ข้นั ตอนการดาเนินการ ผรู้ บั ผดิ ชอบ นางจริ าพร ไกรพล 1. ขั้นตอนการเตรยี มการอบรม นางจิราพร ไกรพล ท่ี กจิ กรรมท่ีดาเนนิ การ นางจริ าพร ไกรพล 1 จัดทา/เสนอโครงการ/กจิ กรรม อบรมเชงิ ปฏิบัติการออกแบบการ เรียนรพู้ ัฒนาทักษะการอ่าน การวิเคราะห์ และการเขยี นส่ือความ นางจริ าพร ไกรพล ตามแนวทาง BBL นางจิราพร ไกรพล นางกรณั ฑา อัมพธุ 2 เสนอขออนมุ ัติงบประมาณในการดาเนนิ งาน นางสาวปริศรา ริยะกาศ ขออนุมัติงบประมาณในการดาเนนิ งาน นายเกยี รติศักดิ์ ชมภกู า 3 จัดทารา่ งคาสัง่ คณะกรรมการดาเนินการอบรม/เสนอคาส่งั แตง่ ตง้ั คณะศึกษานิเทศก์ คณะกรรมการ นางจิราพร ไกรพล นางกรัณฑา อมั พุธ 4 ทาหนังสอื แจ้งโรงเรียน/หนังสือเชญิ วิทยากร นางสาวปริศรา รยิ ะกาศ นายเกยี รตศิ ักด์ิ ชมพูกา 5 จัดเตรยี มก่อนการอบรม นายนรวิชญ์ เหล่าวีระไชย 6.1 ติดตอ่ ประสานงานสถานท่ีอบรม/อาหาร/อาหารว่างและที่พัก สาหรับผเู้ ข้ารบั การอบรม 6.2 ยืมเงนิ สารองจา่ ย 6.3 จดั ทาคูม่ ือ เตรียมวสั ดุและอุปกรณ์ท่ีใช้ในการอบรมฯ 6.4 รวบรวมรายชือ่ ผ้เู ข้ารบั การอบรม 6.7 จัดทาบัญชีลงเวลา 6.8 จดั ทาแบบประเมนิ ความพึงพอใจของผเู้ ขา้ รบั การอบรม 7 จดั เตรียมความพร้อมของสถานทใ่ี ช้อบรม/สื่อ/อปุ กรณท์ ี่ใชใ้ น การอบรม

2. ขั้นตอนระหว่างการดาเนนิ การอบรม 5 ที่ กิจกรรมทีด่ าเนนิ การ 1 รับลงทะเบยี นผู้เข้ารับการอบรม/แจกเอกสารประกอบการอบรมฯ ผ้รู บั ผิดชอบ คณะศึกษานเิ ทศก์ 2 จัดเก็บภาพกจิ กรรมตลอดการอบรม นางสาวปรศิ รา รยิ ะกาศ 3 ดาเนินกิจกรรมการอบรมตามตารางการอบรมฯ นายเกยี รตศิ ักดิ์ ชมภกู า นายเกียรติศักด์ิ ชมภูกา 4 เก็บรวบรวมแบบประเมินความพงึ พอใจของผู้เข้ารบั การอบรม นางจริ าพร ไกรพล 5 พธิ ีเปิด/ปดิ การอบรม นางจริ าพร ไกรพล 3. ขัน้ ตอนหลงั การดาเนนิ การอบรม นางจิราพร ไกรพล ที่ กจิ กรรมที่ดาเนินการ นางกรณั ฑา อมั พธุ 1 บนั ทกึ ข้อความส่งใชเ้ งินยมื 2 ทาการวิเคราะหแ์ ละประมวลผลการอบรมจากแบบสอบถาม ผรู้ ับผดิ ชอบ นางจริ าพร ไกรพล 3 รวบรวมหลกั ฐานเอกสารต่างๆ ที่เกีย่ วข้องในการอบรมเพ่ือจดั ทา นางจริ าพร ไกรพล รายงานโครงการ นางกรณั ฑา อัมพธุ นางจริ าพร ไกรพล 4 จัดทารายงานผลการดาเนนิ การอบรมฯ นางสาวปรศิ รา ริยะกาศ นางจิราพร ไกรพล การประเมินผลโครงการฝกึ อบรม 1. การสงั เกตพฤติกรรมผู้เข้ารับการอบรม เช่น ความสนใจ, การรว่ มกจิ กรรม, การฝึกปฏิบตั งิ านตามท่ี มอบหมาย 2. แบบประเมินความพงึ พอใจของผู้เข้ารบั การอบรม การวเิ คราะหผ์ ล สถติ ิท่ีใช้ในการวิเคราะหข์ ้อมลู 1. ค่าเฉล่ยี (Arithmetic mean) (ล้วน สายยศและอังคณา สายยศ, 2540 : 54) ใชส้ ตู รตอ่ ไปนี้ =  ค่าเฉลยี่ ผลรวมของคะแนนท้ังหมด เมื่อ   จานวนคนทั้งหมด  แทน แทน N แทน

6 2. วเิ คราะหค์ ณุ ภาพ โดยการหาค่าเฉล่ยี (Arithmetic mean) แลว้ นาคา่ เฉลี่ยมาแปล ความหมายโดยเทยี บกบั เกณฑ์ ดงั น้ี (บุญชม ศรีสะอาด, 2535 : 99 - 100) คา่ เฉลยี่ 4.50 – 5.00 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจมากที่สุด ค่าเฉลย่ี 3.50 – 4.49 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก ค่าเฉลีย่ 2.50 – 3.49 หมายถึง มีความพงึ พอใจปานกลาง คา่ เฉล่ยี 1.50 – 2.49 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจนอ้ ย ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.49 หมายถงึ มีความพึงพอใจน้อยทส่ี ุด

7 บทท่ี 3 ผลการประเมนิ การอบรม การอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการพัฒนาทักษะการอา่ น การคิดวิเคราะห์ และเขียนส่ือความ ตามแนวทางBBL จดั ข้นึ ระหวา่ งวนั ท่ี 15–16 มิถนุ ายน 2561 ณ หอประชมุ ท่วี า่ การอาเภอเวียงหนองล่อง จ.ลาพนู ผู้เขา้ รับการ อบรมท้งั หมด 157 คน มีผตู้ อบสอบถาม จานวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 76.43 มผี ลการประเมิน ดงั นี้ ตอนที่ 1 ข้อมลู ทั่วไป 1.1 อายุของผู้เข้ารบั การอบรมฯ อายขุ องผ้เู ข้ารับการอบรมฯ ส่วนใหญอ่ ายุ 31-40 ปี จานวน 45 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 37.50 รองลงมา คอื 51-60 ปี จานวน 30 คน คดิ เป็นร้อยละ 25, 20-30 ปี จานวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 23.30 และ 41-50 ปี จานวน 17 คน คิดเปน็ ร้อยละ 14.20 1.2 ระดับชนั้ ทส่ี อน ระดบั ช้ันที่สอนของผู้เขา้ รับการอบรมฯ มีดังนี้ ชั้น ป.1 จานวน 27 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 22.50, ชน้ั ป.2 จานวน 15 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 12.50, ชั้น ป.3 จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 16.70, ชน้ั ป.4 จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 16.70, ชน้ั ป.5 จานวน 12 คน คิดเปน็ ร้อยละ 10.00 และชัน้ ป.6 จานวน 26 คน คิดเปน็ ร้อยละ 21.70

8 ตอนท่ี 2 ระดบั ความคดิ เหน็ ของผู้เข้ารับการอบรมฯ ตาราง 1 แสดงระดับความรู้พื้นฐานของผเู้ ขา้ รบั การอบรม ประเด็น คา่ เฉลี่ย สว่ นเบีย่ งเบน การแปล มาตรฐาน ความหมาย ความรูพ้ น้ื ฐานในเร่ืองที่อบรม 3.29 1.08 ปานกลาง จากตาราง 1 แสดงใหเ้ ห็นว่าผู้เขา้ รบั การอบรม มคี วามรพู้ ้ืนฐานอยู่ในระดับ ปานกลาง มีคา่ เฉลีย่ 3.29 ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน 1.08 ตาราง 2 แสดงระดับความพึงพอใจของผู้เข้ารบั การอบรม ขอ้ ประเด็น ค่าเฉล่ี ส่วน การแปล ย เบี่ยงเบน ความหมา มาตรฐาน ย 1 เนอ้ื หาท่ีอบรมสอดคล้องกับวัตถุประสงคข์ องโครงการ 4.71 0.49 มากที่สดุ 2 เนอ้ื หาสาระทีไ่ ด้รบั จากการฝึกอบรมสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ได้ 4.81 0.42 มากทส่ี ดุ จรงิ 3 การฝึกอบรมพฒั นาชว่ ยสร้างความรแู้ ละมุมมองใหมไ่ ด้ 4.77 0.42 มากที่สดุ 4 กิจกรรมอบรมทาใหเ้ ข้าใจเนอ้ื หาทอ่ี บรม 4.77 0.42 มากทีส่ ดุ 5 การถ่ายทอดของวทิ ยากรทาใหเ้ กิดการเรียนรู้ 4.87 0.34 มากทส่ี ุด 6 สภาพบรรยากาศของการอบรมเอ้ือตอ่ การเรยี นรู้ 4.45 0.66 มาก 7 เอกสารที่แจกในการอบรมมีความเหมาะสมต่อเน้ือหาการ 4.75 0.47 มากทส่ี ดุ ฝึกอบรม 8 ส่ือเทคโนโลยที ่ีใช้ในการนาเสนอทาให้เข้าใจได้ง่าย 4.71 0.49 มากทส่ี ดุ 9 ระยะเวลาท่ีใชใ้ นการอบรมเหมาะสม 4.34 0.81 มาก 10 ความเหมาะสมของสถานที่ในการอบรม 3.76 1.02 มากที่สุด 11 ความคุ้มคา่ ที่ได้เข้ารบั การอบรม 4.84 0.39 มากทส่ี ุด 12 ความสามารถในการพฒั นาขีดสมรรถนะหลังจากฝึกอบรม 4.49 0.50 มาก 13 ความสามารถในการสร้างเครือขา่ ยหลังจากฝกึ อบรม 4.18 0.61 มาก 15 นาความรทู้ ไ่ี ด้รบั ไปขยายผลให้ครแู ละผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาทราบ 4.38 0.54 มาก 16 วางแผนพัฒนางานเพอื่ ใหก้ ารจดั การเรียนการสอนมคี ุณภาพ 4.47 0.53 มาก 17 สรา้ งเครือข่ายในการพัฒนางาน 4.22 0.60 มาก รวมเฉลย่ี 4.53 0.55 มากทสี่ ดุ

9 จากตารางท่ี 2 พบว่า ความพงึ พอใจของผเู้ ข้ารบั การอบรมฯ โดยภาพรวม อยูใ่ นระดับมากท่สี ดุ มีคา่ เฉล่ีย 4.53 สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 0.55 เมอื่ พจิ ารณาเป็นรายขอ้ สามลาดบั แรก พบว่า การถ่ายทอดของ วิทยากรทาให้เกดิ การเรียนรู้ อยใู่ นระดบั มากทส่ี ดุ ค่าเฉลยี่ 4.87 ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน 0.34 รองลงมา คือ ความคุ้มคา่ ที่ได้เขา้ รับการอบรม อยูใ่ นระดับมากทีส่ ุด คา่ เฉลีย่ 4.84 ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 0.39 และเนื้อหา สาระท่ีได้รับจากการฝกึ อบรมสามารถนาไปประยุกต์ใชไ้ ดจ้ ริง อยใู่ นระดับมากทส่ี ุด ค่าเฉลย่ี 4.81 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.42 ตอนท่ี 3 ข้อคดิ เห็นอื่นๆ 1. อยากใหจ้ ัดอกี ในรายวิชาอื่นๆ 2. สามารถนาความรูท้ ี่ได้รับไปปรับใช้ให้เกดิ ประโยชน์ในการเรยี นการสอน 3. สามารถนาความรู้ไปใช้ในการจดั การเรยี นการสอนไดจ้ ริง 4. เป็นการอบรมทไ่ี ด้ความรู้และประโยชน์ 5. เป็นการจัดอบรมที่มปี ระโยชน์ ได้ความรู้เพ่ิมขนึ้ และนาไปประยกุ ต์ใชก้ บั นักเรียนได้จริง 6. ควรมีการจัดอบรมลักษณะน้ีบอ่ ยๆ เพราะวทิ ยากรมกี ารถ่ายทอดความรูท้ ่ีน่าสนใจ ไม่นา่ เบ่อื และ ไดร้ ับความรทู้ ี่สามารถนาไปใช้ไดจ้ ริง 7. ทา่ นวิทยากร / ท่าน ศน. /ผเู้ ก่ยี วข้องให้ความเปน็ กันเอง สนกุ อบอุ่น ได้รับความร้มู ากครบั 8. สามารถบูรณาการได้ทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 9. ได้รับความรู้และเทคนิคการสอนทีเ่ ป็นความรู้มาก 10. ควรมกี ารอบรมการสอนแบบBBL ในกลุ่มสาระอนื่ ๆเช่น คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ 11. สามารถนาไปพฒั นาผเู้ รียนได้ตรงตามความต้องการ 12. ควรจดั ให้มีการอบรมในครงั้ ตอ่ ไปอีก 13. กิจกรรมดมี ากๆ อยากให้มกี ารจดั อบรมอีก เพราะไดค้ วามรู้เพ่มิ ขึ้นมาก 14. เพิม่ ระยะเวลาในการอบรม 15. ไดเ้ ทคนิคกระบวนการเรียนการสอนทีเ่ ป็นขนั้ ตอนละเอยี ดดมี าก สอนจากง่ายไปยากมีสอื่ รูปภาพ ทาให้ผูเ้ รียน เรียนอยา่ งมคี วามสุข 16. ควรจดั ทง้ั เขตหรือจดั อบรมทุกเครือข่ายให้ครูใน สพป.ลพ.2ได้อบรมครบทุกคน โดยเฉพาะหัวขอ้ การท้งั 5 หวั ข้อที่จัดในวันนี้ 17. อยากให้คณุ ครูทุกคนได้มีโอกาสเขา้ รบั การฝกึ อบรมเช่นน้อี ยา่ งทัว่ ถึงกนั เพ่อื จะได้ช่วยกนั พฒั นา เดก็ ไปในทศิ ทางเดียวกนั 18. ควรจดั อบรมในสถานที่ที่มีความพร้อมด้านหอ้ งน้ามากกว่าน้ี

10 บทท่ี 4 สรุป และอภิปรายผล การอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารพฒั นาทกั ษะการอ่าน การคิดวิเคราะห์ และเขยี นส่ือความ ตามแนวทาง BBL ระหว่างวนั ท่ี 15–16 มถิ นุ ายน 2561 ณ หอประชุมท่ีว่าการอาเภอเวียงหนองล่อง จ.ลาพูน ผเู้ ข้ารบั การอบรม ทัง้ หมด 157 คน มแี นวทางการดาเนินงาน ดงั น้ี วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อสง่ เสรมิ และพัฒนาทกั ษะการอ่าน การคิดวเิ คราะห์ และเขียนสื่อความของนักเรียนระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาชน้ั ประถมศึกษา 2. เพอื่ สง่ เสริม สนับสนุนให้ครผู ู้สอนภาษาไทยสามารถออกแบบการจดั การเรยี นรู้เพ่ือพัฒนาทักษะ การอา่ น การคิดวิเคราะหแ์ ละการเขียนส่ือความ 3. เพอ่ื ยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรยี นระดับชาติ (NT) และผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พืน้ ฐาน (O-NET) ใหส้ ูงข้ึน เป้าหมาย ครจู านวน 91 คน และศึกษานิเทศก์ จานวน 11 คน และครผู ู้สนใจอบรมฯเพ่ิมเติม จานวน 55 รวม ทงั้ หมด 157 คน ขั้นตอนการดาเนนิ การ การดาเนินการแบ่งเปน็ 3 ข้นั ตอนคือ 1. ขัน้ ตอนการเตรยี มการอบรม 2. ขนั้ ตอนระหว่างการดาเนินการอบรม 3. ข้นั ตอนหลงั การดาเนินการอบรม สรุปและอภิปรายผลการดาเนนิ การอบรม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาพนู เขต 2 ได้ดาเนนิ การจดั การอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร พฒั นาทักษะการอ่าน การคดิ วเิ คราะห์ และเขียนสือ่ ความ ตามแนวทาง BBL สรุปผลการดาเนินการอบรมฯ ดังน้ี ตอนที่ 1 ขอ้ มูลท่ัวไป 1.1 อายุของผเู้ ขา้ รับการอบรมฯ สว่ นใหญ่อายุ 31-40 ปี จานวน 45 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 37.50 รองลงมาคอื 51-60 ปี จานวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 25, 20-30 ปี จานวน 28 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 23.30 และ 41-50 ปี จานวน 17 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 14.20

11 1.2 ระดบั ชน้ั ที่สอนของผ้เู ขา้ รบั การอบรมฯ มีดงั นี้ ช้ัน ป.1 จานวน 27 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 22.50, ชั้น ป.2 จานวน 15 คน คดิ เป็นร้อยละ 12.50, ชั้น ป.3 จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 16.70, ช้นั ป.4 จานวน 20 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 16.70, ชน้ั ป.5 จานวน 12 คน คิดเปน็ ร้อยละ 10.00 และชัน้ ป.6 จานวน 26 คน คดิ เป็น รอ้ ยละ 21.70 ตอนท่ี 2 ระดบั ความคิดเห็นของผ้เู ขา้ รบั การอบรมฯ 2.1 ความรูพ้ ื้นฐานของผเู้ ขา้ รับการอบรม ผู้เข้ารบั การอบรม มีความรพู้ ื้นฐานอย่ใู นระดับ ปานกลาง มีคา่ เฉลยี่ 3.29 ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน 1.08 2.2 ความพึงพอใจของผเู้ ข้ารับการอบรม ความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ รับการอบรมฯ โดยภาพรวม อยู่ในระดับมากทีส่ ุด มีคา่ เฉลย่ี 4.53 สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน 0.55 เม่อื พิจารณาเปน็ รายขอ้ สามลาดบั แรก พบว่า การถา่ ยทอดของวทิ ยากรทาให้ เกดิ การเรยี นรู้ อยู่ในระดับมากทส่ี ุด ค่าเฉล่ีย 4.87 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.34 รองลงมา คือ ความคุ้มค่าทไี่ ด้ เขา้ รับการอบรม อยูใ่ นระดับมากทีส่ ุด ค่าเฉล่ยี 4.84 สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน 0.39 และเน้ือหาสาระที่ได้รับจาก การฝกึ อบรมสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ไดจ้ ริง อยู่ในระดบั มากทสี่ ดุ ค่าเฉล่ีย 4.81 สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน 0.42 ตอนที่ 3 ขอ้ คดิ เห็นอืน่ ๆ ของผูเ้ ขา้ รบั การอบรม สรปุ ไดด้ ังนี้ ดา้ นเนอ้ื หาการอบรม 1. ครผู ูส้ อนสามารถนาทักษะกระบวนการการเรยี นรู้ตา่ งๆ เปน็ แนวทางในการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนได้ 2. ครูผสู้ อนสามารถออกแบบการจดั การเรยี นรู้เพอ่ื พัฒนาทักษะการคิด ตามแนวทาง BBL 3. ครผู ้สู อนสามารถนาความรู้ท่ไี ด้ไปประยุกต์ใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนในสาระอ่ืนๆ ได้ 4. เนื้อหาสาระในการอบรมครง้ั น้มี ปี ระโยชน์ต่อผู้เข้ารบั การอบรมมาก และสามารถนาไป พฒั นาผ้เู รียนได้จรงิ 5. ได้เทคนิคกระบวนการเรยี นการสอนท่ีเป็นขัน้ ตอนละเอียดดีมาก สอนจากง่ายไปยากมีสื่อ รูปภาพทาให้ผูเ้ รียน เรียนอย่างมีความสขุ ด้านวิทยากร วิทยากรถ่ายทอดความรู้ได้ดีและเขา้ ใจ สามารถนาไปปฏบิ ตั ไิ ด้จรงิ ในชน้ั เรยี น ดา้ นระยะเวลาการอบรม 1. ให้มีการจดั การอบรมพฒั นาอย่างต่อเนอื่ ง 2. ใชเ้ วลาในการอบรม 3 วัน ดา้ นสถานท่ี สถานทอี่ ยู่ไกล ห้องนา้ ไม่เพยี งพอ

12 ข้อเสนอแนะอื่นๆ 1. จัดให้มีการอบรมเพ่ิมเตมิ อีกคร้ังเพอ่ื พฒั นาการสอนBBL อยา่ งเต็มรูปแบบ 2. ควรใหค้ รทู กุ คนเขา้ รบั การอบรมจะไดม้ ีแนวคดิ และปฏิบตั ิไปทิศทางเดียวกนั 3. เปน็ การจัดการอบรมทส่ี อดคล้องกับวัตถุประสงคส์ ามารถนาไปใช้จดั การเรียนการสอนได้ 4. การอบรมBBL ควรมกี ารอบรมทุกปี เพื่อทบทวนความร้เู ดิมและเพมิ่ เติมความร้ใู หม่ เพื่อให้ ได้ความร้แู ละเทคนิคใหมๆ่ หรือมมุ มองใหมๆ่ จากวิทยากร และคณะครผู ู้เข้ารับการอบรม 5. ควรมกี ารอบรมการสอนแบบBBL ในกลมุ่ สาระอนื่ ๆ เช่น คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ 6. ใหค้ ุณครทู ุกคนได้มีโอกาสเข้ารับการฝกึ อบรมเช่นนี้อย่างท่ัวถงึ กนั เพื่อจะได้ช่วยกันพัฒนา เด็กไปในทศิ ทางเดยี วกัน

12 ภาคผนวก ก หนงั สือตา่ งๆ ท่ีเกยี่ วขอ้ ง - บนั ทึกขอ้ ความขออนมุ ตั โิ ครงการและงบประมาณการดําเนนิ การ - โครงการฯ - คําสงั่ แตง่ ตัง้ คณะกรรมการดําเนินงาน - หนังสือแจ้งโรงเรยี น - หนังสือเชญิ วทิ ยากร

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37 ภาคผนวก ข เคร่ืองมือทใ่ี ช้ประเมินความพงึ พอใจ

38

39 ภาคผนวก ค - ผลการประเมนิ ความพึงพอใจหลงั การอบรม

40

41

42 ภาคผนวก ค ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล

เอกสาร เนอื้ หา การ ทแ่ี จกใน สาระท่ี ฝกึ อบร การ เน้ือหาที่ ไดร้ บั จาก มพัฒนา การ อบรมมี คน อบรม การ ชว่ ย กิจกรรม ถ่ายทอ สภาพ ความ ที่ สอดคลอ้ ง ฝึกอบรม สร้าง อบรม ดของ บรรยากา เหมาะส ความรู้ กับ สามารถ ความรู้ ทาํ ให้ วิทยากร ศของการ มต่อ พนื้ ฐาน วตั ถุประสง นาํ ไป และ เขา้ ใจ ทําให้ อบรมเออ้ื เนือ้ หา ในเรือ่ ง คข์ อง ประยุกตใ์ มุมมอง เนื้อหาที่ เกิดการ ต่อการ การ ที่อบรม โครงการ ช้ได้จริง ใหม่ได้ อบรม เรียนรู้ เรียนรู้ ฝึกอบรม 13 5 5 555 5 5 23 4 4 445 5 5 33 4 5 555 5 5 44 4 5 455 5 5 55 5 5 555 5 5 63 4 4 444 4 4 72 5 5 555 5 4 85 5 5 555 4 4 92 5 5 555 5 5 10 2 5 5 555 4 5 11 3 4 5 555 5 4 12 2 5 5 555 3 5 13 3 5 5 555 5 5 14 3 5 5 555 5 4 15 5 5 5 555 5 5 16 5 5 5 555 4 5 17 4 4 5 444 4 5 18 5 5 5 555 5 5

43 วางแผน พัฒนา สอื่ งาน เทคโนโล นาํ ความรู้ เพอื่ ให้ ยีทีใ่ ชใ้ น ระยะเวล ความ ความสามาร ความสามาร ทไ่ี ดร้ บั ไป การ การ าที่ใช้ใน เหมาะส ความ ถในการ ถในการ ขยายผล จดั การ สรา้ ง นาํ เสนอ การ มของ คุ้มค่าที่ พัฒนาขดี สรา้ ง ใหค้ รูและ เรียน เครือขา่ ทาํ ให้ อบรม สถานที่ ไดเ้ ข้า สมรรถนะ เครอื ข่าย ผ้บู รหิ าร การ ยในการ เขา้ ใจได้ เหมาะส ในการ รับการ หลงั จาก หลังจาก สถานศกึ ษ สอนมี พฒั นา งา่ ย ม อบรม อบรม ฝึกอบรม ฝกึ อบรม าทราบ คุณภาพ งาน 5 5 55 5 5 5 55 4 2 35 4 3 4 44 5 4 45 5 5 5 44 5 5 35 4 4 3 43 5 5 45 5 5 5 55 4 3 44 4 4 4 44 5 5 35 5 5 4 53 5 5 35 4 4 4 45 5 5 25 5 4 4 44 5 4 35 4 4 4 44 5 5 55 4 4 4 54 4 4 25 5 4 4 44 5 4 45 4 4 4 44 4 5 25 5 4 4 44 5 5 45 5 5 5 55 5 5 45 4 4 5 55 5 4 34 4 4 4 55 5 5 55 4 4 4 45