Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1รายงานอบรมPISA ขยายโอกาส ปี60

1รายงานอบรมPISA ขยายโอกาส ปี60

Published by bonus2549, 2019-05-21 05:22:47

Description: 1รายงานอบรมPISA ขยายโอกาส ปี60

Search

Read the Text Version

ก บทสรุปสาํ หรบั ผบู รหิ าร การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพัฒนาครูผูสอนในการจดั การเรยี นการสอนการรเู ร่อื งการอานตาม แนวทางประเมนิ ผลนานาชาติ PISA ระหวางวันที่ 3 - 4 พฤษภาคม 2560 ณ หองประชุม 1 สํานักงาน เขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลาํ พูน เขต 2 ตามโครงการยกระดับผลสมั ฤทธิ์ พชิ ิตการอานและ การเขยี น นาํ ผูเรยี นสูศ ตวรรษที่ 21 ปง บประมาณ 2560 มีผเู ขารวมอบรมฯ จํานวน 18 คน ซงึ่ เปน ครผู ูส อนภาษาไทยระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-3 ผูเขารวมอบรมมีความสนใจ ตงั้ ใจในการฝก ทักษะและ ปฏิบตั ิกจิ กรรม และสามารถสรา งแบบทดสอบการอา นตามแนวทางการวดั ประเมนิ ผลนักเรยี นนานาชาติ (PISA) ไดทกุ คน ตามทว่ี ิทยากรเสนอแนะ ซึ่งผูเขา รบั การอบรมมีความพึงพอใจในภาพรวม อยูในระดบั มากท่สี ดุ หวังเปนอยางยง่ิ วาครผู ูสอนจะสามารถนาํ ความรูและทักษะที่ไดรับไปใชใหเกดิ ประโยชนสูงสดุ ในการจดั การเรยี นการสอน เพ่อื ใหเ กิดประโยชนสงู สุดกบั ผเู รยี น ในการนี้ ขอขอบคุณศกึ ษานเิ ทศกท่รี บั ผดิ ชอบ คณะวิทยากร ทกุ ทาน ที่มสี ว นรว มใน การดําเนนิ โครงการต้ังแตเตรยี มการ ประสานงาน และดูแลผเู ขา รว มอบรมฯ จนบรรลุวตั ถปุ ระสงค ทว่ี างไว (นายสวุ ทิ ย มุกดาภริ มย) ผูอ าํ นวยการสํานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลําพนู เขต 2

ข คาํ นาํ รายงานฉบับนี้ เปนสรุปรายงานตามโครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ พชิ ติ การอานและการเขียน นําผูเ รียนสศู ตวรรษท่ี 21 ปงบประมาณ 2560 กจิ กรรม การอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารพัฒนาครผู สู อนในการ จดั การเรยี นการสอนการรเู รื่องการอา นตามแนวทางประเมินผลนานาชาติ PISA ระหวา งวันท่ี 3 - 4 พฤษภาคม 2560 มเี นอ้ื หาประกอบดวย หลกั การและเหตุผล วตั ถุประสงคข องโครงการ วธิ ีการดาํ เนิน โครงการ ผลท่ไี ดจากโครงการ ปญ หาและอุปสรรค ขอเสนอแนะ รายงานฉบบั น้ี สําเร็จลลุ วงไปดว ยดี ดว ยความชวยเหลือจากทา นผอู ํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาลาํ พูน เขต 2 ทานรองผูอํานวยการสํานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษา ลําพูน เขต 2 ผอู าํ นวยการกลุมนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา ศึกษานเิ ทศกทกุ คน และบคุ ลากรในสงั กัดสาํ นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลําพูน เขต 2 ทุกทา น ทใ่ี หการสงเสริม สนบั สนนุ เสนอแนะใหก าํ ลงั ใจ และใหความรว มมือในการดาํ เนนิ โครงการ ผูรายงานมีความคาดหวัง วา สรปุ รายงานโครงการนี้จะเปน ประโยชนต อผทู ส่ี นใจ นาํ ไประยกุ ตใชใ นการจัดทํารายงานโครงการให เกิดประโยชนสงู สุด อันจะเปนประโยชนต อการสรุปรายงานโครงการนสี้ มบรู ณยงิ่ ขน้ึ ผูรายงานยนิ ดีรบั ขอเสนอแนะและขอบพระคุณมา ณ โอกาสน้ี (นางจริ าพร ไกรพล) ศกึ ษานเิ ทศกช าํ นาญการพิเศษ สํานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลําพนู เขต 2

ค สารบัญ หนา บทสรปุ สําหรบั ผบู ริหาร ก คํานํา ข สารบัญ ค สารบัญตาราง ง บทที่ 1 บทนาํ 1 หลกั การและเหตุผล 1 วัตถปุ ระสงค 1 เปา หมาย 2 2 ตัวช้วี ัดความสําเร็จ 2 ผลท่คี าดวา จะไดรบั บทท่ี 2 วธิ ดี าํ เนนิ งาน 3 บทที่ 3 ผลการประเมนิ การอบรม 6 บทที่ 4 สรปุ และอภปิ รายผล 10 ภาคผนวก 14 ก หนงั สือตางๆ ท่เี กีย่ วขอ ง - บันทกึ ขอความขออนุมัติโครงการและงบประมาณการดาํ เนินการ - หนงั สือแจง โรงเรียน - คาํ สงั่ แตงตงั้ คณะกรรมการดาํ เนินงาน - รายชื่อผูเขาผานการอบรมและรบั เกียรตบิ ัตรเครอ่ื งมือที่ใชประเมนิ การอบรม - แบบสอบถามความพึงพอใจหลงั การอบรบ ข ภาพกจิ กรรมการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการฯ 24

สารบญั ตาราง ง ตาราง หนา ตารางที่ 1 แสดงระดบั ความพงึ พอใจของผเู ขา รบั การอบรม 7 ตารางที่ 2 แสดงระดบั การวางแผนจะดาํ เนนิ การในสถานศกึ ษาหลังการอบรม 8

1 บทท่ี 1 บทนํา หลักการและเหตุผล สืบเนือ่ งจากรฐั มนตรีวา การกระทรวงศึกษาธิการ มนี โยบายปฏิรปู การเรยี นรูท ั้งระบบใหสมั พันธ เช่ือมโยงกนั เพื่อใหผ เู รยี นสามารถคิดวิเคราะห แกปญ หา และเรยี นรูไ ดด ว ยตนเองอยา งตอเน่ือง โดยมีความ เชอ่ื มโยงกนั ท้ังหลักสูตรและการเรียนการสอนใหกา วทันการเปลี่ยนแปลง และสอดคลองกับการเรยี นรยู ุคใหม จากแนวนโยบายดงั กลาว นาํ ไปสกู ารใหค วามสําคญั กบั การเรยี นรภู าษาไทย ซ่ึงพบวาการอานยงั เปน ปญ หาของ นกั เรียนในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน จงึ กาํ หนดนโยบายอานออกเขียนไดสาํ หรบั นกั เรยี นช้ันประถมศึกษา และการรูเรื่องการอานสาํ หรับนักเรยี น ตามแนวทางการประเมินผลนักเรยี นนานาชาติ (PISA) ในระดบั ช้นั มัธยมศึกษาตอนตน ซง่ึ ในปงบประมาณ 2560 เปนตน ไปจะไดมีการทดสอบการรเู รือ่ งการอาน ตามแนวทาง การประเมินผลนกั เรยี นนานาชาติ (PISA ) สาํ หรบั นกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 1-3 สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน โดยสาํ นกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลําพนู เขต 2 จงึ ไดด ําเนินการตามนโยบายอานออกเขียนได และตามตวั ชีว้ ดั ความสําเร็จและชดุ โครงการตาม ยทุ ธศาสตรการปฏริ ปู การศกึ ษา ประจําปง บประมาณ 2560 โครงการยอยที่ 4 โครงการพัฒนาการอา นการ เขียนเพื่อการส่ือสาร (อานเขาใจ) ยุทธศาสตรท ่ี 3 สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน โดยในป การศึกษา 2560 ในการทดสอบการอานการเขยี น จะดําเนินการทดสอบอา นออกเขยี นได ในระดับชนั้ ป.1-6 และประเมินการอา นรเู ร่ืองตามแนวทางการประเมนิ ผลนานาชาติ PISA ในชั้น ม.1-3 จึงมีความจาํ เปนทจ่ี ะ พัฒนาครูผสู อนภาษาไทยในระดับชน้ั ม.1-3 (ร.ร.ขยายโอกาสทางการศกึ ษา) ใหม ีความรู ความเขา ใจ มีทักษะ ในและสามารถออกแบบเคร่ืองมอื วัดและประเมนิ ผลการอานรเู รื่องตามแนวทางประเมนิ ผลนานาชาติ PISA เพือ่ พัฒนาการเรียนการสอน และเพ่ือยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ของนกั เรียนตอไป กลมุ นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา โดยผรู ับผิดชอบกลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย จึง ไดจัดทาํ โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิ พชิ ติ การอานและการเขียน นําผเู รียนสูศตวรรษท่ี 21 ปง บประมาณ 2560 และไดกําหนด กจิ กรรมพฒั นาครผู สู อนในการจัดการเรียนการสอนการอานรูเ รื่องตามแนวทาง ประเมินผลนานาชาติ PISA ไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธผิ ลตอผูเ รียน และเตรียมการประเมินผล นานาชาติ PISA 2018 (เนน การอา น) ขน้ึ เพ่ือใหครสู อนภาษาไทยมคี วามรู ทกั ษะ และสามารถจัดการเรยี น การสอนการอานไดอยางมีประสิทธิภาพซ่ึงจะทําใหผเู รียนสามารถวิเคราะหบ ทอา น ซ่งึ เปนพน้ื ฐานในการเรียนรู ตอ ไป วตั ถปุ ระสงค 1. เพอื่ ใหครผู ูส อนภาษาไทยสามารถจัดการเรียนการสอนการรูเร่ืองการอาน และสามารถสรา ง แบบทดสอบการอา นตามแนวทาง PISA ได 2. เพ่อื สงเสรมิ และพัฒนาใหน กั เรียนสามารถอานรูเร่ืองและส่ือสารได 3. เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิการเรยี นการสอนภาษาไทย อยางนอ ยรอ ยละ 3

2 เปา หมาย เชิงปรมิ าณ 1. ครูผูสอนภาษาไทย ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนตน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลําพนู เขต 2 ทีเ่ ขา รับการอบรมจํานวน 18 คน มีความรู ความเขาใจ เห็นความสาํ คัญของการรเู ร่อื งการอา นของนกั เรยี น 2. ครผู สู อนภาษาไทย ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศกึ ษา สังกัดสํานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลําพนู เขต 2 ที่เขารับการอบรมจาํ นวน 18 คน สามารถ สรา งแบบทดสอบการอา นตามแนวทาง PISA ได 3. ครผู ูสอนภาษาไทย ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนตน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สงั กดั สํานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาลําพนู เขต 2 ทเ่ี ขารับการอบรมจํานวน 18 คน เชิงคุณภาพ 1. ครูผูสอนภาษาไทยทุกคน ท่เี ขา รับการอบรมฯ ทกุ คน มีความรู ความเขาใจและสามารถสรา ง แบบทดสอบตามแนวทาง PISA ได 2. ครูผสู อนภาษาไทยทุกคน สามารถขยายผลการอบรมไปสูครผู ูสอนภาษาไทยทุกระดบั ชน้ั ให สามารถสรา งแบบทดสอบการอาน ที่สอดคลองกับแบบทดสอบตามแนวทาง PISA ได 3. ครูผสู อนภาษาไทยสามารถขยายผลใหก ับครทู ุกคนในโรงเรยี นของตน เพ่ือใหค รูทุกคนสามารถ สรางแบบทดสอบการอา นตามแนวทาง PISA และนําไปประยกุ ตใชใ นระดับช้ันท่ตี นสอนได ตัวชว้ี ดั ความสาํ เร็จ 1. รอยละ 100 ของครูผสู อนท่เี ขารบั การอบรมฯมคี วามรู ความเขาใจ สามารถสรางแบบทดสอบ การอานตามแนวทาง PISA ได 2. รอยละ 100 ของครผู ูสอนทเี่ ขารับการอบรมฯสามารถขยายผลการอบรมฯ ไปสคู รูผสู อนภาษาไทย ในโรงเรยี นของตนได 3. รอ ยละ 100 ของครูผูสอนภาษาไทยทุกคนทเี่ ขารบั การอบรมฯ สามารถสรางแบบทดสอบ ตาม แนวทาง PISA ได ผลทีค่ าดวาจะไดรับ 1. ครผู ูส อนทเี่ ขารบั การอบรมมีความรู ความเขา ใจ เห็นความสาํ คัญของการรเู รือ่ งการอานได ของนักเรียน 2. ครูผูสอนท่ีเขารบั การอบรมฯ สามารถสรางแบบทดสอบการอานตามแนวทาง PISA ได 3. ครูผูสอนทีเ่ ขา รบั การอบรมฯ สามารถขยายผลใหกบั ครูทุกคนในโรงเรียนของตน เพ่ือใหครูทุกคน สามารถสรา งแบบทดสอบการอานตามแนวทาง PISA และนาํ ไปประยกุ ตใ ชในระดับชั้นทตี่ นสอนได

บทที่ 2 วธิ ีดําเนนิ งาน โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ พิชิตการอา นและการเขยี น นําผูเรยี นสูศตวรรษท่ี 21 ปง บประมาณ 2560 ไดกาํ หนด การอบรมเชงิ ปฏิบัติการพฒั นาครูผสู อนในการจดั การเรยี นการสอนการรูเ รอ่ื งการอา นตาม แนวทางประเมินผลนานาชาติ PISA ระหวางวนั ที่ 3 - 4 พฤษภาคม 2560 ณ หองประชมุ 1 สํานักงานเขต พน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาลาํ พนู เขต 2 มีข้ันตอนในการดาํ เนนิ งาน คอื 1. กลุมเปา หมาย 2. คณะวทิ ยากร 3. ขอบเขตการอบรม 4. ขนั้ ตอนการดําเนนิ การ 5. การประเมนิ ผลโครงการฝก อบรม 6. การวิเคราะหผล กลุมเปา หมาย ครผู สู อนภาษาไทยระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสํานกั งาน เขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลําพูน เขต 2 จาํ นวน 18 คน คณะวทิ ยากร ศึกษานเิ ทศกชํานาญการพเิ ศษ สพป.ลําพนู เขต 2 1. นางจริ าพร ไกรพล 1ศกึ ษานิเทศกชํานาญการ 1 สพป.ลําพนู เขต 2 1 2. นางกรณั ฑา อัมพุธ ขอบเขตการอบรม เนื้อหาท่ใี ชใ นการอบรม 1. การอานกบั ทกั ษะการคดิ 2. การอา นแนว PISA 2.1 สมรรถนะการเขา ถงึ และคนคนื สาระ (Access and retrieve) 2.2 สมรรถนะการบูรณาการและตคี วาม (Integrate and interpret) 2.3 สมรรถนะการสะทอนและประเมิน (Reflect and evaluate) 3. การสรางแบบทดสอบการรูเร่ืองการอานตามแนวทางการประเมนิ ผลนักเรยี นนานาชาติ (PISA) วิธกี ารอบรม ฝก อบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ (ประกอบดว ย การบรรยาย กจิ กรรมกลุมยอย ฝกปฏบิ ัติ การอภิปรายผล และแลกเปลี่ยนเรยี นร)ู

4 ข้ันตอนการดําเนินการ ผรู ับผิดชอบ 1. ข้ันตอนการเตรียมการอบรม นางจริ าพร ไกรพล นางจริ าพร ไกรพล ท่ี กจิ กรรมท่ีดาํ เนนิ การ นางจิราพร ไกรพล 1 จัดทาํ /เสนอโครงการ/กิจกรรม อบรมเชิงปฏบิ ัติการ การจัดการเรียน นางจิราพร ไกรพล นางกรณั ฑา อมั พุธ การสอนการรเู รองการอาน และการสรางแบบทดสอบการอานตาม นางจริ าพร ไกรพล แนวทางการประเมินผลนกั เรียนนานาชาติ (PISA) นางจริ าพร ไกรพล 2 เสนอขออนมุ ัตงิ บประมาณในการดาํ เนินงาน นางกรัณฑา อมั พุธ 2.1 ขออนุมัติงบประมาณในการดาํ เนินงาน นางสกุ นั ดา สารแสง 3 จดั ทาํ รา งคําส่งั คณะกรรมการดาํ เนินการอบรม/เสนอคาํ สงั่ แตงตัง้ นายเกยี รติศักด ชมภกู า คณะกรรมการ 4 จดั ทําเอกสารประกอบการอบรมฯ นางจิราพร ไกรพล นางกรณั ฑา อมั พธุ 5 ทาํ หนงั สอื แจงโรงเรียน 6 จดั เตรยี มกอนการอบรม 6.1 ตดิ ตอ ประสานงานสถานทีอ่ บรม/อาหาร/อาหารวางและท่พี ัก สําหรับผูเขา รับการอบรม 6.2 ยมื เงินสาํ รองจา ย 6.3 จัดทําหนังสือเชญิ วิทยากร 6.4 จัดทําคูม ือ เตรยี มวสั ดแุ ละอุปกรณที่ใชใ นการอบรมฯ 6.5 จดั ทาํ คํากลา วรายงานและกลาวเปด 6.6 รวบรวมรายชอื่ ผเู ขา รบั การอบรม 6.7 จัดทําบญั ชีลงเวลา 6.8 จดั ทําแบบประเมนิ ความพึงพอใจของผูเขา รับการอบรม 7 จัดเตรยี มความพรอมของสถานที่ใชอ บรม/ส่ือ/อุปกรณท ่ีใชในการ อบรม 2. ข้นั ตอนระหวางการดาํ เนินการอบรม ที่ กจิ กรรมท่ีดาํ เนนิ การ ผูร ับผดิ ชอบ 1 รับลงทะเบยี นผูเขารบั การอบรม/แจกวสั ดแุ ละอุปกรณผลติ สอ่ื ฯ นางสุกันดา สารแสง นายเกยี รตศิ ักด์ิ ชมภกู า 2 จดั เกบ็ ภาพกจิ กรรมตลอดการอบรม นายเกียรตศิ ักดิ์ ชมภูกา 3 ดาํ เนินกจิ กรรมการอบรมโดยวทิ ยากรหลกั /วทิ ยากรประจํากลมุ นางจริ าพร ไกรพล ตามตารางการอบรมฯ นางกรณั ฑา อมั พุธ 4 แจกและเกบ็ รวบรวมแบบประเมินความพงึ พอใจของผูเขารับการอบรม นางสกุ นั ดา สารแสง 5 พธิ เี ปด /ปดการอบรม นางจิราพร ไกรพล

5 3. ขัน้ ตอนหลงั การดาํ เนนิ การอบรม ผูรับผดิ ชอบ ท่ี กจิ กรรมท่ีดําเนินการ นางจิราพร ไกรพล 1 บันทึกขอความสงใชเงนิ ยืม นางสกุ นั ดา สารแสง นางจิราพร ไกรพล 2 ทําการวเิ คราะหแ ละประมวลผลการอบรมจากแบบสอบถาม 3 รวบรวมหลักฐานเอกสารตางๆ ท่ีเก่ียวของในการอบรมเพื่อจดั ทาํ นางจิราพร ไกรพล นางสุกันดา สารแสง รายงานโครงการ นางจริ าพร ไกรพล 4 จัดทํารายงานผลการดําเนินการอบรมฯ การประเมินผลโครงการฝกอบรม 1. การสังเกตพฤติกรรมผเู ขา รับการอบรม เชน ความสนใจ, การรวมกิจกรรม, การฝกปฏิบตั งิ านตามที่ มอบหมาย 2. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของผเู ขารบั การอบรม การวเิ คราะหผล สถติ ทิ ใี่ ชใ นการวิเคราะหข อมลู 1. คา เฉลยี่ (Arithmetic mean) (ลวน สายยศและอังคณา สายยศ, 2540 : 54) ใชส ตู รตอ ไปน้ี ∑X X= N เม่อื X แทน คาเฉล่ีย แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมด ∑X แทน จํานวนคนทั้งหมด N วิเคราะหค ุณภาพ โดยการหาคา เฉล่ีย (Arithmetic mean) แลวนําคาเฉลี่ยมา แปลความหมายโดยเทียบกับเกณฑ ดงั น้ี (บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2535 : 99 - 100) คา เฉล่ีย 4.50 – 5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจมากท่ีสดุ คาเฉล่ีย 3.50 – 4.49 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจมาก คาเฉลี่ย 2.50 – 3.49 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจปานกลาง คา เฉล่ีย 1.50 – 2.49 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจนอย คาเฉล่ยี 1.00 – 1.49 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจนอ ยที่สดุ

บทที่ 3 ผลการประเมนิ การอบรม การอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารพฒั นาครผู ูสอนในการจัดการเรยี นการสอนการรเู รื่องการอานตามแนวทาง ประเมนิ ผลนานาชาติ PISA ระหวา งวนั ท่ี 3 - 4 พฤษภาคม 2560 ณ หองประชุม 1 สาํ นกั งานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษาลําพนู เขต 2 จากการตอบแบบสอบถามของผเู ขารบั การอบรมท้ังหมด 18 คน ไดร ับ แบบสอบถามคืนจํานวน 18 ฉบับ คดิ เปน รอยละ 100 มีผลการประเมนิ ดงั นี้ ตอนที่ 1 ขอมลู ท่วั ไป 1. สภาพของผตู อบ พบวา ครผู ูส อนท่เี ขา รบั การอบรมฯ สว นใหญเปนเพศหญิง จาํ นวน 14 คน คดิ เปนรอยละ 77.78 และเปนเพศชาย 4 คน คดิ เปน รอ ยละ 22.22 2. อายุของผตู อบ พบวา ครผู สู อนสว นใหญม อี ายุ 51 – 60 ป จํานวน 5 คน คิดเปน รอยละ 22.78 และอายุ 41 – 50 ป จาํ นวน 5 คน คิดเปน รอ ยละ 22.78 รองลงมา คือ อายุ 31 – 40 ป จาํ นวน 4 คน คดิ เปน รอ ยละ 22.22 และอายุ 20 - 30 ป จาํ นวน 4 คน คดิ เปน รอยละ 22.22 3. การศึกษา พบวา ครผู ูสอนทีเ่ ขารบั การอบรมฯ สว นใหญม ีวุฒิปรญิ ญาตรี จํานวน 11 คน คดิ เปน รอ ยละ 61.11 และรองลองมา คือวุฒิปริญญาโท จาํ นวน 7 คน คดิ เปน รอยละ 38.89 4. ประสบการณในการสอนภาษาไทย พบวา ครูผูส อนมปี ระสบการณสอนภาษาไทย 1-5 ป มากทสี่ ดุ จาํ นวน 8 คน คดิ เปน รอยละ 44.44 รองลองมาคอื 16 ปข ึ้นไปจาํ นวน 7 คน คดิ เปน รอยละ 38.89 11 – 15 ป จาํ นวน 2 คน คิดเปน รอยละ 11.11 และ 5 – 10 ป จํานวน 1 คน คดิ เปนรอยละ 5.56

7 ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจในการเขารบั การอบรม ตาราง 1 แสดงระดับความพึงพอใจของผูเขา รับการอบรม ขอ ประเด็น คาเฉลย่ี สว นเบยี่ งเบน การแปล มาตรฐาน ความหมาย 1 ความรูพื้นฐานในเรื่องที่อบรม 3.61 2 วัตถุประสงคการอบรมสอดคลองกับที่คาดหวงั 4.22 1.14 มาก 3 เน้อื หาที่อบรมสอดคลอ งกบั วัตถุประสงค 4.50 0.73 มาก 0.51 มากท่ีสุด ของโครงการ 4.67 4 เนื้อหาสาระทไี่ ดรบั จากการฝกอบรมสามารถ 0.49 มากทีส่ ดุ 4.67 นาํ ไปประยุกตใชไดจ ริง 0.49 มากที่สดุ 4.61 5 การฝก อบรมพฒั นาชว ยสรา งความรูและ 4.83 0.50 มากทส่ี ดุ มุมมองใหมได 4.83 0.38 มากท่ีสดุ 0.38 มากทสี่ ุด 6 กจิ กรรมอบรมทาํ ใหเ ขาใจเน้อื หาทีอ่ บรม 4.94 0.24 มากทส่ี ุด 7 การถายทอดของวทิ ยากรทาํ ใหเกดิ การเรยี นรู 4.83 8 สภาพบรรยากาศของการอบรมเอ้ือตอ การ 0.38 มากท่สี ุด 4.50 เรยี นรู 4.76 0.86 มากทส่ี ุด 9 เอกสารที่แจกในการอบรมมีความเหมาะสม 4.61 0.44 มากทีส่ ุด 4.72 0.50 มากท่ีสดุ ตอ เนื้อหาการฝกอบรม 4.50 0.46 มากทีส่ ดุ 0.59 มากทีส่ ุด 10 ส่อื เทคโนโลยที ่ใี ชในการนาํ เสนอทาํ ใหเ ขา ใจ 4.28 ไดง า ย 0.75 มาก 4.58 11 ระยะเวลาที่ใชในการอบรมเหมาะสม 0.56 มากทีส่ ุด 12 ความเหมาะสมของสถานที่ในการอบรม 13 ความเหมาะสมดา นการจัดการของผจู ดั อบรม 14 ความคมุ คา ท่ีไดเขารับการอบรม 15 ความสามารถในการพฒั นาขีดสมรรถนะ หลังจากฝกอบรม 16 ความสามารถในการสรา งเครือขา ย หลงั จากฝกอบรม รวมเฉลี่ย

8 จากตารางท่ี 1 พบวา ความพงึ พอใจของผเู ขารับการอบรมฯ โดยภาพรวม อยใู นระดับมากทส่ี ุด มคี าเฉลยี่ 4.58 เม่ือพจิ ารณาเปนรายขอ ส่ลี ําดับแรก พบวา เอกสารที่แจกในการอบรมมีความเหมาะสม ตอเนอ้ื หาการฝกอบรม อยูในระดบั มากท่ีสุด คาเฉลีย่ 4.94 การถายทอดของวิทยากรทาํ ใหเกิดการเรยี นรู อยใู นระดบั มากท่ีสุด คาเฉล่ยี 4.83 สภาพบรรยากาศของการอบรมเอ้ือตอการเรียนรู อยูในระดับมากท่ีสุด คาเฉลยี่ 4.83 และสื่อเทคโนโลยีทีใ่ ชใ นการนาํ เสนอทาํ ใหเ ขาใจไดงา ย อยูในระดบั มากที่สดุ คาเฉล่ยี 4.83 ตารางท่ี 2 แสดงระดับการวางแผนจะดาํ เนนิ การในสถานศึกษาหลงั การอบรม ขอ ขอความ คาเฉลี่ย สว นเบยี่ งเบน การแปล มาตรฐาน ความหมาย 1 นาํ ความรูท ไ่ี ดร บั ไปขยายผลใหค รู 4.11 0.76 มาก และผบู ริหารสถานศึกษาทราบ 4.22 0.88 มาก 2 วางแผนพฒั นางานเพ่อื ใหการจดั การเรียน การสอนมีคุณภาพ 3.89 0.83 มาก 4.07 0.82 มาก 3 สรา งเครือขายในการพฒั นางาน รวมเฉล่ีย จากตารางที่ 2 พบวา การวางแผนจะดาํ เนินการในสถานศึกษาหลังการอบรม พบวา โดยภาพรวม อยูในระดบั มาก คา เฉล่ีย 4.07 เมือ่ พิจารณาเปนรายขอ พบวา วางแผนพฒั นางานเพ่ือใหก ารจัดการเรียน การสอนมีคุณภาพ อยูในระดับมาก คา เฉล่ีย 4.22 รองลงมาคือ นําความรูท่ีไดรับไปขยายผลใหครู และ ผูบรหิ ารสถานศึกษาทราบ อยใู นระดบั มาก คา เฉล่ยี 4.11 และสรา งเครือขายในการพฒั นางาน อยูในระดับ มาก คา เฉล่ยี 3.89 ตอนท่ี 4 ขอ คดิ เห็นอ่นื ๆ 4.1 ความรูสกึ ตอ การจัดฝก อบรม 1. วทิ ยากรใหความรูผานการปฏิบัตทิ าํ ใหเ ขาใจ 2. ไดร ับความรมู ากข้นึ 3. เปนการอบรมทส่ี ามารถนําไปใชในช้ันเรียน การสอนในโรงเรียนไดเ ปน อยางดี รสู กึ ประทบั ใจและอยากนําเอาความรูไปถายทอดใหบคุ คลอื่น 4. ไมมีความเครยี ดเหมือนครั้งอืน่ ๆ ไดร ับการช้ีแนะในสวนทย่ี ังไมเขา ใจจากวิทยากรดีมาก ทาํ ใหรูสึกไมยากอยางทีเ่ คยอบรมมา 5. ไดร บั ความรูใหมๆเพ่ิมขนึ้ 6. วิทยากรมีความเปนกันเอง การรับรขู องผเู ขาอบรมไมเ ครยี ด 7. บรรยากาศในการอบรมเปนกันเองดี สรา งความสุขในการอบรม ไมเ ครียด

9 4.2 การเรียนรูท่ีเกดิ ขึน้ จากการฝกอบรม 1. ไดร บั ความรทู จ่ี ะนําไปประยุกตใ ชในเนือ้ หาวิชทจี่ ะนําไปสอนแกนักเรียน 2. ไดรบั ความรมู ากขึน้ 3. เขาใจแนวขอ สอบ PIAS เทคนคิ การออกขอ สอบ 4. วเิ คราะหโจทยและเลอื กคําตอบไดถกู ตองมากยิ่งข้นึ 5. พฒั นาความรู ความเขาใจในดานการออกแบบทดสอบการประเมนิ ผลความสามารถในการ อา นเพิ่มข้ึน จากทีย่ งั เขา ยังไมกระจา ง 6. มคี วามรู ความเขา ใจเกยี่ วกบั การหาบทความ และการทดลองแตง ขอ สอบ 7. สามารถสรางจอสอบท่มี ีประสทิ ธิภาพ 8. ไดร ับประสบการณอ ยางนอยสามรถนาํ ไปใชใ นการแยกแยะขอมูล และตดั สนิ ใจจัดทําได ถูกตอง 9. ไดร ับตวั อยางขอ ทดสอบท่ีมกี ารคดั กรองพอสมควร 10. ความรคู วามเขาใจในการทําขอสอบแบบ PISA 11. สามารถนาํ ไปขยายผลใหครูในโรงเรียน 4.3 ความคิดเห็นและขอ เสนอแนะตา งๆ ในการจัดฝก อบรม 1. อยากไดต ัวอยางแนวขอสอบท่เี ก่ียวกับสาระวิชาโดยตรง 2. ทําอยา งตอเน่ือง 3. นา จะอบรมครทู กุ คน เพื่อใหม ีความรูความเขา ใจไปดว ยกัน 4. ควรจัดการอบรมทกุ ป 5. ควรมีการอบรมขยายผลใหครคู รบทุกสาระ

10 บทที่ 4 สรปุ และอภิปรายผล การอบรมเชิงปฏบิ ัติการพัฒนาครผู ูส อนในการจดั การเรยี นการสอนการรเู ร่ืองการอานตามแนวทาง ประเมนิ ผลนานาชาติ PISA ระหวางวนั ที่ 3 - 4 พฤษภาคม 2560 ณ หองประชุม 1 สาํ นักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษาลาํ พนู เขต 2 มีผเู ขารวมอบรมทงั้ หมด 18 คน คดิ เปน รอยละ 100 มีแนวทางการ ดําเนนิ งาน ดงั นี้ วตั ถุประสงค 1. เพือ่ ใหครูผสู อนภาษาไทยสามารถจัดการเรียนการสอนการรเู รอื่ งการอา น และสามารถสราง แบบทดสอบการอานตามแนวทาง PISA ได 2. เพื่อสงเสริมและพฒั นาใหนักเรยี นสามารถอานรเู รื่องและสอ่ื สารได 3. เพอื่ ยกระดับผลสมั ฤทธิ์การเรียนการสอนภาษาไทย อยางนอยรอ ยละ 3 เปา หมาย ครูผสู อนภาษาไทยระดับชน้ั มัธยมศึกษาตอนตน โรงเรยี นขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสาํ นกั งาน เขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาลาํ พนู เขต 2 จาํ นวน 18 คน ขั้นตอนการดําเนินการ การดําเนินการแบง เปน 3 ขน้ั ตอนคือ 1. ขนั้ ตอนการเตรยี มการอบรม 2. ขนั้ ตอนระหวางการดําเนนิ การอบรม 3. ขน้ั ตอนหลังการดําเนินการอบรม สรุปและอภปิ รายผลการดาํ เนินการอบรม สาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลําพนู เขต 2 ไดด ําเนนิ การพัฒนาคุณภาพการ เรยี นการสอนภาษาไทย ตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ พิชิตการอา นและการเขยี น นําผูเรียนสศู ตวรรษท่ี 21 ปง บประมาณ 2560 และไดอ บรมเชิงปฏิบตั ิการพัฒนาครผู ูสอนในการจัดการเรยี นการสอนการรูเ ร่ืองการอาน ตามแนวทางประเมนิ ผลนานาชาติ PISA ในวันที่ 3-4 พฤษภาคม 2560 สรปุ ผลการดําเนินการอบรมฯดงั น้ี ตอนที่ 1 ขอมลู ท่ัวไป 1. สภาพของผูต อบ พบวา ครผู สู อนท่เี ขารบั การอบรมฯ สว นใหญเ ปนเพศหญิง จํานวน 14 คน คดิ เปนรอยละ 77.78 และเปนเพศชาย 4 คน คิดเปน รอ ยละ 22.22 2. อายขุ องผตู อบ พบวา ครูผูสอนสวนใหญมีอายุ 51 – 60 ป จาํ นวน 5 คน คิดเปน รอยละ 22.78 และอายุ 41 – 50 ป จาํ นวน 5 คน คดิ เปนรอยละ 22.78 รองลงมา คือ อายุ 31 – 40 ป จาํ นวน 4 คน คิดเปน รอยละ 22.22 และอายุ 20 - 30 ป จํานวน 4 คน คิดเปนรอ ยละ 22.22 3. การศึกษา พบวา ครูผสู อนท่เี ขา รับการอบรมฯ สว นใหญมีวุฒปิ ริญญาตรี จํานวน 11 คน คดิ เปน รอยละ 61.11 และรองลองมา คอื วุฒปิ รญิ ญาโท จาํ นวน 7 คน คิดเปนรอ ยละ 38.89

11 4. ประสบการณในการสอนภาษาไทย พบวา ครูผสู อนมีประสบการณส อนภาษาไทย 1-5 ป มากที่สดุ จาํ นวน 8 คน คดิ เปนรอ ยละ 44.44 รองลองมาคอื 16 ปข ึ้นไปจาํ นวน 7 คน คดิ เปน รอยละ 38.89 11 – 15 ป จํานวน 2 คน คดิ เปน รอยละ 11.11 และ 5 – 10 ป จํานวน 1 คน คิดเปนรอ ยละ 5.56 ตอนที่ 2 ความพึงพอใจของผูเขารับการอบรมฯ พบวา ความพึงพอใจของผูเ ขารับการอบรมฯ โดยภาพรวม อยใู นระดับมากทสี่ ุด มคี าเฉล่ีย 4.58 เมอ่ื พิจารณาเปน รายขอ สล่ี าํ ดับแรก พบวา เอกสารท่แี จกในการอบรมมีความเหมาะสม ตอเนอื้ หาการฝกอบรม อยูใ นระดบั มากท่ีสดุ คาเฉลย่ี 4.94 การถา ยทอดของวทิ ยากรทําใหเ กดิ การเรยี นรู อยใู นระดบั มากทส่ี ุด คาเฉลีย่ 4.83 สภาพบรรยากาศของการอบรมเอ้ือตอการเรียนรู อยูในระดบั มากที่สดุ คาเฉลยี่ 4.83 และส่ือเทคโนโลยีที่ใชใ นการนาํ เสนอทาํ ใหเขาใจไดงา ย อยใู นระดับ มากท่ีสดุ คา เฉลี่ย 4.83 ตอนที่ 3 การวางแผนจะดําเนนิ การในสถานศกึ ษาหลงั การอบรม พบวา การวางแผนจะดําเนินการในสถานศกึ ษาหลงั การอบรม พบวา โดยภาพรวม อยใู นระดบั มาก คา เฉลย่ี 4.07 เม่ือพิจารณาเปน รายขอ พบวา วางแผนพัฒนางานเพ่ือใหการจดั การเรียน การสอนมี คณุ ภาพ อยูในระดบั มาก คาเฉลีย่ 4.22 รองลงมาคือ นําความรทู ไี่ ดรับไปขยายผลใหค รู และผบู รหิ าร สถานศึกษาทราบ อยใู นระดับมาก คาเฉลีย่ 4.11 และสรางเครือขา ยในการพฒั นางาน อยูในระดับมาก คา เฉลี่ย 3.89 ตอนท่ี 4 ขอคิดเห็นอื่นๆ 4.1 ความรสู ึกตอ การจัดฝกอบรม 1. วิทยากรใหความรผู านการปฏิบตั ิทําใหเขาใจ 2. ไดร ับความรมู ากข้ึน 3. เปน การอบรมที่สามารถนําไปใชใ นชัน้ เรียน การสอนในโรงเรียนไดเ ปนอยางดี รสู กึ ประทบั ใจและอยากนาํ เอาความรไู ปถายทอดใหบุคคลอ่ืน 4. ไมม ีความเครยี ดเหมือนครั้งอนื่ ๆ ไดรบั การชแ้ี นะในสว นทย่ี ังไมเขาใจจากวทิ ยากรดีมาก ทํา ใหรูส กึ ไมย ากอยางทเ่ี คยอบรมมา 5. ไดร ับความรใู หมๆเพ่ิมขึ้น 6. วิทยากรมคี วามเปนกันเอง การรบั รูของผูเขาอบรมไมเครยี ด 7. บรรยากาศในการอบรมเปนกนั เองดี สรางความสขุ ในการอบรม ไมเ ครียด 4.2 การเรยี นรทู เี่ กดิ ขึ้นจากการฝกอบรม 1. ไดร บั ความรทู ี่จะนําไปประยกุ ตใ ชใ นเน้อื หาวชิ ทจี่ ะนาํ ไปสอนแกนักเรียน 2. ไดร บั ความรมู ากขึน้ 3. เขา ใจแนวขอ สอบ PIAS เทคนิคการออกขอ สอบ 4. วเิ คราะหโจทยแ ละเลือกคําตอบไดถ ูกตอ งมากยิ่งขน้ึ 5. พัฒนาความรู ความเขาใจในดานการออกแบบทดสอบการประเมินผลความสามารถในการ อา นเพ่ิมข้นึ จากทย่ี ังเขา ยงั ไมกระจาง

12 6. มีความรู ความเขา ใจเกย่ี วกับการหาบทความ และการทดลองแตง ขอ สอบ 7. สามารถสรา งจอสอบที่มีประสทิ ธิภาพ 8. ไดร บั ประสบการณอ ยางนอยสามรถนําไปใชใ นการแยกแยะขอมลู และตดั สินใจจัดทําได ถกู ตอง 9. ไดรับตัวอยางขอทดสอบที่มีการคดั กรองพอสมควร 10. ความรคู วามเขาใจในการทําขอ สอบแบบ PISA 11. สามารถนาํ ไปขยายผลใหครใู นโรงเรียน 4.3 ความคดิ เหน็ และขอเสนอแนะตางๆ ในการจดั ฝกอบรม 1. อยากไดต วั อยา งแนวขอ สอบทีเ่ กีย่ วกับสาระวิชาโดยตรง 2. ทําอยางตอเนื่อง 3. นาจะอบรมครทู ุกคน เพื่อใหม คี วามรูความเขาใจไปดว ยกัน 4. ควรจัดการอบรมทกุ ป 5. ควรมกี ารอบรมขยายผลใหครูครบทุกสาระ ผลที่ไดจ ากการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร ผลทีไ่ ดจากการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคของการอบรมเชงิ ปฏิบัติการ ดังน้ี 1. ครูผูสอนภาษาไทยสามารถจัดการเรยี นการสอนการรเู ร่ืองการอาน และสามารถสรางแบบทดสอบ การอานตามแนวทาง PISA ไดไดท ุกคน คิดเปนรอยละ 100 2. ครูผูสอนทผ่ี า นการอบรม สามารถวางแผนการจดั กจิ กรรมเพ่ือสงเสรมิ และพัฒนาใหน ักเรยี น สามารถอา นรเู ร่ืองและสอ่ื สารได 3. ครผู สู อนภาษาไทยมคี วามรู ความเขาใจ และทกั ษะในการสรา งแบบทดสอบการอานตามแนว ทางการประเมินผลนกั เรยี นนานาชาติ (PISA) อนั จะสงผลใหเกิดการพฒั นาผเู รียนในเร่ืองของการอา นรเู ร่ืองและ ส่ือสารได และมผี ลสมั ฤทธ์ทิ สี่ ูงขึ้น และจากผลการประเมนิ โดยภาพรวม ผเู ขารบั การอบรมมีความพึงพอใจ อยใู นระดับมากท่สี ดุ คิดเปนรอ ยละ 100 ของผูตอบแบบสอบถาม ซึ่งผเู ขา อบรม มีขอเสนอแนะเพ่ิมเตมิ คือ ควรเพม่ิ เวลาและควรมี การจดั อบรมอยา งตอเนื่อง เพื่อใหเกดิ ประโยชนส งู สุดกบั ผูเ รยี น ปญ หาและอปุ สรรค - ขอเสนอแนะ

13 ครผู สู อนทุกคนควรไดรับการพฒั นาตนเองทัง้ ในเรื่องการจัดการเรียนการสอนและการสรา ง แบบทดสอบการอา นตามแนวทางการประเมนิ ผลนักเรยี นนานาชาติ (PISA) โดยใหครผู ูสอนไดนาํ สชู ้นั เรียน อยางแทจ รงิ เพ่ือใหเ กิดประโยชนส ูงสดุ กับผเู รียน

คณะกรรมการสรปุ รายงานโครงการ คณะกรรมการทป่ี รึกษา ผอู ํานวยการสํานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา 1. นายสุวิทย มุกดาภริ มย ประถมศึกษาลาํ พนู เขต 2 2. นายบรรเลง สง บุญธรรม รองผูอ าํ นวยการกลมุ นิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา คณะกรรมการดําเนินการ ศกึ ษานเิ ทศกช าํ นาญการพิเศษ 1. นางจิราพร ไกรพล สํานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาลําพนู เขต 2 2. นางกรัณฑา อัมพธุ ศกึ ษานิเทศกช าํ นาญการ 3. นางสุกันดา สารแสง สาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลาํ พูน เขต 2 4. นายเกยี รติศักดิ์ ชมภกู า เจาพนกั งานธุรการปฏบิ ัติงาน เจาพนักงานธรุ การปฏบิ ตั ิงาน ผจู ดั ทํา/สรุปรายงาน ศึกษานิเทศกช าํ นาญการพิเศษ นางจริ าพร ไกรพล สาํ นกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลําพูน เขต 2


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook