Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Lesson 2 - External Anatomy of Fish

Lesson 2 - External Anatomy of Fish

Published by sumate962, 2018-03-28 05:52:37

Description: Lesson 2 - External Anatomy of Fish

Keywords: ปลา,fish

Search

Read the Text Version

โดยทวั่ ไปเมือ่ ปลาโตเต็มวัยจะมรี ูปรา่ งแบบสมมาตรซ้าย-ขวา (ยกเว้นปลาซีกเดียว)ซ่งึ รา่ งกายปลาแบ่งได้เป็น 3 ส่วน ดังน้ี 1. หวั (Head) เริ่มจากปลายสุดของจะงอยปากถึงรมิ สดุ ของกระดูกปิดเหงอื ก(Opercles) โดยส่วนหัวเป็นท่ีต้ังของอวัยวะรับความรู้สึก ได้แก่ ตา ปาก จมูกหนวด สมอง และเหงือก รวมท้ังฟนั ล้นิ ช่องคอ (ระบบย่อยอาหารบางสว่ น) 2. ลาตัว (Trunk หรือ Body) อยู่ถัดจากกระดูกปิดเหงือกไปจนถึงรูทวารส่วนนี้เป็นที่ต้ังของครีบเกือบท้ังหมด ยกเว้นครีบก้นและครีบหาง รวมท้ังเป็นส่วนที่มีเกล็ดและต่อมเมือก และเป็นท่ีต้ังของอวัยวะภายใน คือ ระบบทางเดินอาหาร ระบบขับถา่ ย ระบบสืบพันธ์ุ

3. หาง (Tail) เป็นส่วนสุดท้ายของตัวปลา โดยเร่ิมจากรูทวารไปจนสุดปลายครีบหาง เป็นท่ีต้ังของครีบก้นและครีบหาง มีเกล็ดและเมือกปกคลุมเช่นกันมกี ล้ามเน้อื อยหู่ นาแน่น ซึ่งใช้ในการเคล่ือนที่ ควบคุมทิศทาง และช่วยทรงตวั ปลาไม่มีคอ แต่มีส่วนท่ี เรียกว่า อิสท์มัส (Isthmus) อยู่ระหว่างเหงือก แบ่งเหงือกออกเป็น 2 ขา้ ง ซ้าย-ขวา



การวดั ขนาดและสดั ส่วนภายนอกของปลา ปลาโดยท่ัวไปมีร่างกายสมมาตรข้าง (Bilateral Symmetry) คือ เมื่อผ่าตัดร่างกายปลาในแนวระนาบด่ิง แล้วจะได้ชิ้นส่วนร่างกายปลาเป็นสองซีกเหมือนกันทุกประการ การวัดขนาดและสัดสว่ นความกวา้ ง ความยาวภายนอกของปลานัน้ มหี ลายรปู แบบ แต่วิธีที่นยิ มเปน็ วิธีของLagler และคณะ (1962) โดยมรี ายละเอยี ด ดังน้ี 1. ความยาวทั้งสิ้น (Total Length : TL) เป็นความยาวท่ีวัดโดยเริ่มจากปลายสุดของจะงอยปากทางดา้ นหน้าไปจนถงึ ปลายสดุ ของครีบหาง 2. ความยาวมาตรฐาน (Standard Length : SL) เปน็ ความยาวท่วี ัดเรมิ่ จากปลายสุดของจะงอยปากทางดา้ นหนา้ ไปจนถึงปลายสดุ ของกระดกู หาง 3. ความยาวถึงส่วนหยกั ลกึ ของหาง (Fork Length : FL) เป็นความยาวที่เร่ิมวัดจากปลายสุดของจะงอยปากทางด้านหน้าไปจนถึงมุมแหลมหยักลึกของหางปลา (Fork Tail) วัดเฉพาะปลาที่มีหางแบบหยกั ลกึ เท่านนั้ 4. การวัดความลึกของตัวปลา (Body Depth : BD) เป็นการวัดความยาวในแนวด่ิงจากขอบลาตัวทางด้านหลังปลาเมื่อหุบพับครีบหลังลงมาแล้ว วัดตรงลงมาจนถึงขอบล่างของลาตัวหรือขอบท้องปลา

5. ความกว้างของลาตัวปลา (Body Width : BW) เป็นการวดั จากจดุ กึ่งกลางของตัวปลาจากด้านหนง่ึ แล้ววัดเปน็ แนวเสน้ คร่งึ วงกลมไปจนถึงจุดกงึ่ กลางของตัวปลาอกี ดา้ นหนง่ึ โดยลอดใต้ทอ้ งปลาไป 6. การวดั ความยาวหน้าตา (Snout Length : SNOL) เป็นการวัดจากปลายสุดของจะงอยปากไปจนถงึ ขอบนอกลกู ตาปลา 7. การวัดความยาวครีบหลังอันแรก (Length of First Dorsal Fin) เป็นการจัดจากขอบครบี หลงั ด้านหน้าสุด ไปจนถึงขอบครีบหลังดา้ นทา้ ยสดุ ในแนวระนาบเมอ่ื กางครีบออก 8. การวัดความยาวครีบหลังอันท่ีสอง (Length of Second Dorsal Fin) เป็นการวัดจากปลายก้านครีบอันแรกสุดของครีบหลังอันท่ีสอง ไปจนถึงปลายก้านครีบอันสุดท้ายในแนวระนาบเม่ือกางครีบออกเตม็ ที่ 9. ความสูงของครีบหลังอันท่ีสอง (Height of Second Dorsal fin ) เป็นการวัดจากขอบหน้าสุดของโคนกา้ นครีบอนั แรกไปจนถงึ ปลายสดุ ของกา้ นครีบอันแรกในแนวระนาบเมื่อกางครีบหลังอันที่สองออกเต็มที่ 10. การวัดความสูงของครีบหูหรือครีบอก (Height of Pelvic fin ) เป็นการวัดจากฐานครีบบรเิ วณที่อย่ใู กล้แผน่ ปดิ เหงอื กมากทสี่ ดุ เปน็ จนถงึ ปลายสดุ ของครบี หใู นแนวระนาบ 11. การวัดความยาวของครีบก้น (Length of Anal fin) เป็นการวัดจากขอบหน้าสุดของครีบไปจนถึงขอบหลงั สดุ ของครีบกน้ ในแนวระนาบ

1. ความยาวหัว 2. ความกว้างของตา 3. ความยาวหลังตา4. จะงอกปาก 5. ความยาวคอดหาง 6. ความลึก

1. รมิ ฝีปากและปาก (Lip & Mouth)ภายในปากจะมีฟนั และล้นิ ทาหน้าที่บด กดัแทะ อาหาร ซึ่งปากของปลามหี ลายแบบขนึ้ อยู่กบั นสิ ัยการกนิ อาหาร 2. จะงอยปาก (Snout หรอื Rostrum) อยรู่ ะหวา่ งปลายสุดปากถงึ หนา้ ตา บรเิ วณนี้จะมีจมูกและหนวดอยู่ 3. จมกู (Nostril) ทาหนา้ ที่ดมกลนิ่ เพ่ือชว่ ยในการหาอาหาร 4. สไปราเคิล (Spiracle) เปน็ ทางผ่านของนา้ ทอี่ ยูบ่ นหัวลงไปยังเหงอื ก เพื่อแลกเปลี่ยนก๊าซ 5. ตา (Eye) ทาหนา้ ทม่ี องภาพต่างๆ ทั้งในน้าและในอากาศ 6. แผ่นปดิ เหงอื ก (Operculum) ทาหน้าที่ปิดเหงือก และขยับปิด-เปดิ เพือ่ หายใจ 7. หนวด (Barbel) ทาหน้าทใ่ี นการรบั สัมผสั ช่วยหาอาหาร มตี ่มุ รบั รส และรบั ความรสู้ ึก 8. เส้นข้างตัว (Lateral line) ทาหน้าท่ีรับแรงสั่นสะเทือนของน้ารอบตัว การเปลี่ยนแปลงอณุ หภูมิและความเคม็ รวมทงั้ ชว่ ยในการหลบหลีกอนั ตรายและหาอาหาร 9. ครีบ (Fin) ใชใ้ นการว่ายนา้ และทรงตัว รวมถึงเปน็ หางเสือคัดท้าย และการหยดุ หรอื เบรก 10. รูก้น (Anus;Bony fishes หรือ Cloaca;Catilage fishes) ทาหน้าท่ีเป็นทางออกของของเสีย และเซลล์สบื พันธุ์ 11. ต่อมบนผิวหนงั ได้แก่ แสงเรอื ง สตี วั ของปลา ตอ่ มพษิ และตอ่ มเมอื ก





รปู ร่างและรปู ทรงของปลา(Shape and form)1. แบ่งตามความยาวตวั ปลา 2. แบง่ ตามรปู ทรงของปลา (Body shape) (Body form)

1. แบ่งตามความยาวตวั ปลา (Body shape) การแบง่ ตามความยาวตวั ปลาเปน็ การจัดรูปทรงของปลา โดยเปรียบเทียบระหว่างความยาวกับความลกึ ของตวั ปลา แบ่งเป็น 3 แบบ คือ 1. ลาตัวยาว (Elongate) ลาตวั คอ่ นขา้ งยาวเมือ่ เทียบกับความลึกของลาตัว โดยความยาวSL มากกวา่ 4.1-8.0 เทา่ ของความลกึ หรอื มากกว่านก้ี ็ได้ เช่น ปลาไหล ปลาดาบลาวปลาน้าดอกไม้ ฯลฯ 2. ลาตวั ปานกลาง (Oblong) ลาตัวจะสั้นกว่าแบบแรก มคี วามยาว SL ของตวั ปลามากกวา่2 เท่า แตไ่ มเ่ กิน 4 เทา่ เชน่ ปลาใบขนุน ปลาโอ ฯลฯ 3. ลาตวั สน้ั (Ovate) ลาตวั สั้นกวา่ แบบท่ี 2 มีความยา SL ตอ่ ความลกึ เป็น 1-2 เทา่ เช่นปลาจะละเม็ด ปลาพระจันทร์ และปลาลนิ้ หมาบางชนดิ

ลาตวั ยาว (Elongate) ลาตวั ปานกลาง (Oblong) ลาตวั ส้นั (Ovate) ปลาไหล ปลาใบขนุน ปลาจะละเม็ดปลาดาบลาวปลานา้ ดอกไม้ ปลาโอลาย ปลาพระจันทร์ ปลาล้ินหมา

2. แบ่งตามรูปทรงของปลา (Body form) เมื่อมองทางดา้ นขา้ งและภาคตัดขวาง จะแบง่ รปู ทรงของปลาได้ 8 แบบ ดงั น้ี 1. รูปทรงกระสวย (Fusiform) ซ่ึงเป็นรูปทรงของปลาโดยทั่วไป มีลักษณะเรียวยาวแบบกระสวย รปู ทรงนี้จะตา้ นน้านอ้ ยปลาจงึ วา่ ยน้าได้เร็ว เชน่ ปลาโอ ปลาทู ปลาฉลาม ฯลฯ 2. รูปทรงกลม (Globiform) ลกั ษณะคอ่ นข้างเป็นทรงกลมคล้ายลูกโลก ปลาพวกนี้จะว่ายน้าได้ชา้ เชน่ ปลาปักเปา้ ปลาทอง ฯลฯ 3. รูปทรงแบบงู (Anguilliform หรือ Snake sharped) รูปร่างเรียวยาวคล้ายงู การว่ายน้าเหมอื นกับการส่นั ของเส้นเชือก เช่น ปลาไหล ปลาเข็ม ฯลฯ 4. รูปทรงแบบเส้นด้าย (Filiform หรือ Tread-like sharped) ลักษณะเรียวยาวมากคล้ายเสน้ ด้าย เชน่ ปลาไหลทะเลลกึ (Snipe eel) ฯลฯ 5. รูปทรงแบบแถบแบนยาว (Trachipteriform หรือ Teaniform หรือ Ribbon-shaped)ลกั ษณะแบนยาวคล้ายริบบ้ิน ว่ายน้าเหมือนการเล้ือยเช่นเดียวกับพวกรูปทรงแบบงู แต่สามารถเบนตวั เป็นมมุ ได้มากกวา่ เชน่ ปลาดาบลาว ปลาดาบเงนิ ฯลฯ

2. แบ่งตามรปู ทรงของปลา (Body form) ตอ่ 6. รูปทรงแบบลูกธนู (Sagittiform หรือ Arrow-shaped) ลักษณะคล้ายรูปทรงกระสวยแต่ลาตัวยาวกว่า ภาคตดั ขวางลาตวั จะกลมหรือค่อนข้างกลม ว่ายน้าได้ดี เช่น ปลาการ์ ปลาไพนก์ ปลาช่อน ปลาปากคม ปลานา้ ดอกไม้ ฯลฯ 7. รูปทรงแบนข้าง (Compressiform) เม่ือมองจากภาคตัดขวางจะเห็นว่าลาตัวด้านซ้ายและขวาจะแบนเขา้ หากนั เช่น ปลาอินทรี ปลาสีกนุ ปลาแปน้ ปลาผีเสื้อ ฯลฯ ซ่ึงแบ่งออกได้เป็น3 แบบ คือ 7.1 แบบรูปปอ้ ม (Bream type) รปู ทรงคลา้ ยไข่ เชน่ ปลากระดี่ ปลาผเี สื้อ 7.2 แบบรูปเหล่ียม (Moonfish type) มีลักษณะเป็นเหลี่ยม เช่น ปลาพระจันทร์ปลาโฉมงาม ฯลฯ 7.3 แบบลิ้นหมา (Pleuronectiid type) มีลักษณะท่ีเอาด้านข้างลงไปนอนกับพ้ืนแล้วววิ ฒั นาการเอาส่วนของตาขึน้ มาอยู่บนข้างเดียวกนั เชน่ ปลาลิ้นหมา ปลาลนิ้ ควายปลาซกี เดยี ว ปลาจกั รผาน ฯลฯ 8. รูปทรงแบนลง (Depressiform) ภาคตัดขวางลาตัวด้านบน-ล่างจะแบนเข้าหากัน เช่นปลากระเบน ปลาฉนาก ฯลฯ

ทรงกระสวย (Fusiform) แบบด้านขา้ ง (Compressiform) แบบแบนลง (Depressiform) แบบงู (Anguilliform) แบบเสน้ ดา้ ย (Filiform)แบบริบบน้ิ (Trachipteriform) แบบลูกธนู (Sagittiform) ทรงกลม (Globiform)

สงิ่ ปกคลมุ ตวั ปลา (Integument) 1. ผวิ หนัง (Skin) 2. เกลด็ (Scale)1.1 ชน้ั ของผวิ หนัง เกลด็ ปลามโี ครงสร้างและส่วนประกอบแตกตา่ ง กนั ไป อาจแบง่ เกล็ดออกตามลักษณะโครงสร้างได้ 2 1.1.1 ผวิ หนงั ช้ันนอก (Epidermis) ชนิด คือ 1.1.2 ผวิ หนังชัน้ ใน (Dermis) 2.1 เกล็ดพลาคอยด์ (Placoid scale)1.2 ส่วนประกอบของผวิ หนงั 2.2 เกล็ดนอ็ นพลาคอยด์ (Non- placoid scale) 1.2.1 ตอ่ มเมือก 2.2.1 เกลด็ คอสมอยด์ (Cosmoid scale) 1.2.2 ตอ่ มพิษ 2.2.2 เกลด็ กานอยด์ (Ganoid scale) 1.2.3 เซลลเ์ รอื งแสง 2.2.3 เกลด็ อีลาสมอยด์ (Elasmoid scale) 1.2.4 เซลลส์ ร้างสี 1.2.5 เซลลส์ ะท้อนแสง - เกล็ดไซคลอยด์ (Cycloid scale) 1.2.6 เกลด็ /แผ่นและตุ่มแข็ง - เกลด็ ทีนอยด์ (Ctenoid scale)





เกลด็ ที่เปล่ยี นรูปไป (Modified scale)

ครบี (Fin)ครีบเปน็ อวัยวะท่ใี ช้ในการเคลอ่ื นทไ่ี ปมาของปลา และใชช้ ่วยในการทรงตวัครบี เด่ยี ว (Unpaired fin) ครีบคู่ (Paired fin)- ครีบหลงั (Dorsal fin) - ครบี อก (Pectoral fin)- ครบี ก้น (Anal fin) - ครบี ท้อง (Pelvic หรอื Ventral fin)- ครีบหาง (Caudal fin)- ครีบไขมนั (Adipose fin)- ครบี ฝอย (Finlet)

ครบี หลงั (Dorsal fin)

ครีบหางแบบต่างๆ ครบี ฝอย Finlet ครบี ไขมนั Adipose fin1. Forked tail 2. Lunate tail4. Truncate tail 5. Round tail6. Pointed tail

1. รปู ส้อม (Forked tail) พบในปลาทู ปลานวลจันทร์ทะเล เปน็ ตน้2. รปู เคยี ว หรอื พระจันทร์เสย้ี ว (Lunate tail) พบในปลาโอ ปลาทนู า่ เปน็ ต้น3. รูปเวา้ เล็กนอ้ ย (Emarginate) พบในปลาเห็ดโคน ปลาขา้ งลาย เป็นตน้4. รปู ตัดตรง (Truncate tail) พบในปลาตะกรบั ปลาเสือตอ ปลาหูช้าง ปลาลิ้นหมา5. รปู กลม (Round tail) พบในปลาช่อน ปลาหมอไทย เป็นต้น6. รูปใบโพธิ์ หรือจุด (Pointed tail) พบในปลาบู่ ปลาเขอื เป็นต้น7. หางโค้งสองหยกั

ครบี อก (Pectoral fin) ครีบอก หรือครบี หูเปน็ ครีบทมี ีตาแหนง่ อยู่หลงั ชอ่ งเหงอื ก รูปรา่ งของครบี อกแตกต่างกันออกไป ซ่งึ ปลาบางชนดิ ไม่มีครีบอก บางชนดิ เป็นเส้น และบางชนิดเปลย่ี นรปู ไป

หนา้ ทีข่ องครบี นอกจากทาหนา้ ทีช่ ว่ ยในการเคล่ือนไหว วา่ ยนา้ ทรงตัว ยังทาหน้าทอ่ี นื่ ๆ เชน่1. ใช้เคลอ่ื นทบี่ นบกแทนเท้า เช่น ปลาตีน2. ใช้ไปในอากาศ เช่น ปลานกกระจอก และปลาผเี สอ้ื กลางคืน3. ทาหนา้ ท่ีเปน็ เครอ่ื งดูดเกาะ เชน่ ปลาบู่ ใชค้ รีบทอ้ งมารวมกันมเี ย่ือบางๆ ยดึ เกาะหินบรเิ วณพนื้ ทอ้ งนา้4. ช่วยในการบังคบั ทศิ ทาง โดยมากใช้ครีบหาง5. ช่วยในการผสมพันธ์ุ โดยใชค้ รบี ทอ้ งและครีบก้น พบในปลาท่ีผสมภายในและ ออกลกู เปน็ ตวั เช่น 5.1 คลาสเปอร์ เกิดจากครีบท้องเปลี่ยนรปู พบในปลาฉลาม และกระเบน 5.2 โกโนโพเดยี ม เกดิ จากกา้ นครบี อันแรกของครีบกน้ ขยายใหญ่ขึ้นเปน็ ทอ่ส่งนา้ เช้ือในเพศผู้ เชน่ ปลาสอด ปลาหางดาบ และปลาหางนกยูง 5.3 ไพรอะเพียม เกดิ จากครบี ทอ้ ง พบในปลาบู่ใสเพศผู้ เปน็ ทางสง่ นา้ เช้ือเวลาผสมพนั ธ์ุ และใช้ขับถา่ ยปัสสาวะ

สีบนตวั ปลา (Coloration) ปลาตา่ งชนิดกนั มีสบี นลาตวั แตกตา่ งกนั ทง้ั นข้ี นึ้ อย่กู ับชนิดอปุ นิสัย และถนิ่ ทอ่ี ยอู่ าศัย การเปลยี่ นแลงของสบี นตวั ปลาอาจเกดิ ข้ึนอย่างถาวรหรอื ชว่ั คราว ขน้ึ อยกู่ ับระบบประสาท ระบบฮอร์โมน และพนั ธุกรรมในร่างกาย สีบนตวั ปลามปี ระโยชน์ คือ 1. ทาใหศ้ ตั รูหรือเหย่ือเกดิ การไขวเ้ ขว เช่น การใช้สีทาเปน็ ลูกตาปลอมในส่วนหางในปลาผีเสอ้ื 2. ทาให้ปลากลมกลนื กับสภาพแวดล้อม 3. ทาให้ปลาเกิดความเดน่ ชดั ในการรวมกลุม่ และสืบพนั ธุ์

สขี องปลามีความสมั พันธ์กับถ่นิ ทอ่ี ยู่อาศยั ของปลา1. ปลาท่ีอาศัยในนา้ จืด ส่วนท้องจะมีสขี าวเงนิ หรือสีซดี ส่วนหลังจะมี สนี ้าเงินเข้ม เขียว หรอื นา้ ตาล ซ่ึงช่วยพรางตวั ได้ดี2. ปลาท่วี ่ายนา้ อสิ ระในทะเลเปดิ ทั่วไป มกั มีส่วนทอ้ งสขี าวเงิน ด้านหลัง เป็นสีนา้ เงนิ หรือเขยี ว เช่น ปลาทู และปลาฉลาม เปน็ ต้น3. ปลาทอ่ี ยูต่ ามพืน้ ทอ้ งน้ากับปลาทีอ่ าศยั อยู่ตามสาหร่ายทะเล มกั จะมี สเี ข้มบนสว่ นหลงั และสซี ีดบรเิ วณสว่ นทอ้ ง4. ปลาทห่ี ากินตามแนวหนิ ปะการังมักมสี ีสันสวยงามฉดู ฉาด5. ปลาทอ่ี ยใู่ นทะเลเปดิ ถ้าเป็นปลาผวิ น้าจะมีสเี งิน ปลากลางน้าจะมี สีแดง และปลาทอ่ี ยบู่ รเิ วณลึกมากๆ ซึง่ มแี สงนอ้ ยจะมสี ีมว่ งหรอื ดา

แหล่งกาเนิดสขี องปลา สขี องปลาเกิดจากสีทผ่ี วิ หนงั แหล่งที่มาของสีมี 2 แบบ คือ สที ่ีเหน็เน่อื งจากแสง (Schemachrome) และสีที่ปลาสร้างข้ึน (Biochrome)จากเซลล์สร้างสีซึง่ เป็นสจี ริง มลี กั ษณะเป็นถงุ เลก็ ๆ ภายในมเี ซลล์สี(Pigment cells) โดยสีพืน้ ฐานท่ีพบในเซลลส์ ร้างสีขน้ึ อยกู่ บั เมด็ สี เชน่ สีแดง และสีส้ม เกดิ จากอีรโี ทรฟอร์ (Erythrophore) สีเหลือง เกดิ จากแซนโทฟอร์ (Xanthophore) สีดา เกิดจากเมลาโนฟอร์ (Melanophore)สว่ นสีอน่ื ๆ เกดิ จากการรวมตวั กนั ของเมด็ สที ั้ง 3 ชนิด นี้ นอกจาน้ยี ังมสี ีเกดิ จากไอริโตฟอร์ ซึง่ เป็นเซลล์สะทอ้ นแสง เชน่ สีขาว (Leucophore)สีเหลือบเงินสะทอ้ นแสง (Guanophore)

การเรอื งแสงของปลา การเรอื งแสงของปลาพบไดน้ อ้ ย โดยอาจพบในปลาทะเลน้าลึกบางชนิดลกั ษณะเปน็ จดุ เรียงเปน็ แถวหรือเป็นเส้น การเรอื งแสงเกดิ ได้ 2 ลกั ษณะ คอื 1. เกดิ จากแบคทีเรียที่เรืองแสงได้ อาศยั อยบู่ นตวั ปลาแบบพึ่งพาอาศัยซงึ่กันและกัน โดยปลาไดป้ ระโยชนจ์ ากแสง สว่ นแบคทีเรยี ได้ทอี่ ย่แู ละอาหารตาแหน่งการเกดิ แสงไม่แน่นอน เช่น ปลาคอด (Cod) 2. เกดิ จากเซลล์สร้างแสงภายในตัวปลา ซึง่ เปลยี่ นมาจากต่อมเมอื กเซลลส์ ร้างแสงเรอื งนี้ถูกควบคุโดยระบบประสาทและต่อมไรท้ ่อ แสงจะเกิดในตาแหน่งท่แี น่นอนในปลาแตล่ ะชนิดใช้จาแนกชนดิ ได้ เซลล์เหลา่ นี้อยู่ในผิวหนังชน้ั นอกประโยชน์ของแสงเรือง 1. ใชล้ ่อเหยอ่ื 2. ใชใ้ นการจดจาพวกพอ้ ง 3. ช่วยในการจดจาเพศ 4. ช่วยในการปอ้ งกนั ตัว

ตอ่ มเมือก (Mucous Gland) ต่อมเมือกพบในปลาโดยทัว่ ไป โดยเฉพาะปลาไมม่ เี กล็ด ผิวหนังช้นั นอกมหี น้าท่ใี นการสรา้ งนา้ เมือก ประโยชน์ของเมือก คือ 1. เปน็ เกราะป้องกนั อนั ตรายใหก้ ับปลา 2. ความลืน่ ของเมือกทาให้ปลาเคลื่อนทใ่ี นน้าไดด้ ี 3. ทาใหป้ ลาเกดิ การเน่าเสยี ชา้ ลง 4. เมอื กปลาเป็นสารเหลวขน้ ชว่ ยในการจับตะกอน ทาให้นา้ ใสได้ 5. เมอื กปลามีสารทาหน้าทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการปรบั สมดลุ รา่ งกายปลา

ตอ่ มพิษ ตอ่ มพษิ พบในปลาหลายชนดิ มตี ้นกาเนิดมาจากผิวหนงั จดั เป็นพวกเดียวกบัต่อมเมือก ตอ่ มเหลา่ นี้ขับพิษที่ เรยี กว่า อิ๊กทโิ อท็อกซิน (Ichthyotoxin)เมื่อเง่ยี งตาหรอื แทงทาใหเ้ กดิ ความเจบ็ ปวดถงึ ตายได้ตัวอย่างของปลาทม่ี ตี ่อมพิษปลากระเบน วงศ์ Dasyatidae และ Myliobatidaeปลาฉลาม Spiny dogfish มีตอ่ มพิษท่เี งี่ยงของครีบหลงัปลาดุก ปลากด และปลาแขยง มีตอ่ มพษิ ใกลฐ้ านของเง่ยี งที่ครบี หลงั และครีบอกปลาข้ตี ังเปด็ มีหนามแหลมตรงคอดหาง มีตอ่ มพิษภายในเยื่อหมุ้ปลาสลิดหนิ วงศ์ Siganidae มตี อ่ มพษิ ที่เง่ยี งของครบี หลัง ครบี ก้น และครีบท้องปลามงั กร ปลากะรงั หัวโขน มตี ่อมพิษในทุกเงย่ี งทพ่ี บในตวั ปลาปลาคางคก ปลากบ ในวงศ์ Batrachoididae มีตอ่ มพิษที่โคนเงย่ี งของครีบหลัง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook