หนว่ ยที่ 1 ความร้เู บ้ืองต้นเกยี่ วกบั ชีวประวัตขิ องปลา โดย นายสุเมธ วเิ ศษสิงห์ รายวิชาชวี วทิ ยาของปลา (Fish Biology) แผนกวิชาประมง วทิ ยาลัยประมงชุมพรเขตรอุดมศกั ด์ิ สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
หนว่ ยที่ 1 ความร้เู บ้อื งต้นเกยี่ วกับชวี ประวตั ขิ องปลา ชีววิทยาของปลา (fish Biology) เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับปลาตั้งแต่ประวัติความเป็นมา ลักษณะภายนอก ระบบโครงสร้างต่างๆภายในของร่ายกายปลา ความสัมพันธ์ของปลากับ ส่ิงแวดล้อม เพ่ือการวิเคราะห์ จาแนกชนิด การทราบถึงชีววทิ ยาและชีวประวัติ เป็นประโยชน์ใน การเพาะเลย้ี งรวมถงึ การอนรุ ักษ์ และการใชท้ รพั ยากรปลาอย่างคุม้ คา่ ยง่ั ยืน ตามวิวัฒนาการโดยอาศยั หลกั ฐานของซากดึกดาบรรพ์ กายวภิ าคศาสตร์ เปรียบเทียบวทิ ยา เอ็มบริโอ และพันธุกรรมศาสตร์ อาจกล่าวได้ว่าปลาเป็นบรรพบุรุษห่างๆ ของมนุษย์ โดยท่ีปลาเกิด ข้ึนมาในโลกนี้เป็นเวลาประมาณ 400 ล้านปี ก่อนหน้าบรรพบุรุษของมนุษย์ประมาณ 100 ล้านปี (ยุคแคมเบร่ียน : Cambrian) โดยปลาเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังท่ีมีจานวนชนิดมากท่ีสุด ในบรรดา สตั ว์มกี ระดกู สันหลังทง้ั หมด 37,600 ชนิด โดยมจี านวนปลาทีม่ ีชีวติ อยู่ในปัจจบุ ันประมาณ 15,000 – 17,000 ชนิด หรือ 42.6% ในขณะท่นี กมีจานวน 8,600 ชนิด หรือ 22.9% สตั ว์เลี้ยงด้วยนม 4,500 6.6% (ปลาในโลกพบประมาณ 24,618 ชนิด (Nelson, 1994) ปลาเป็นสัตว์ที่มีกระดูกสัน หลงั ประมาณครง่ึ หนึง่ ของจานวนสัตวท์ ี่มีกระดูกสนั หลงั รวมกนั จากขอ้ มูลการสารวจประชากรปลาใน โลกท้ังท่ีมีชีวิตในยุคปัจจุบันและสูญพันธุ์ไปแล้ว ประกอบด้วยปลาทะเลประมาณ 58 % ปลาน้าจืด ประมาณ 41 % และปลาท่ีอพยพอาศยั ทั้งนา้ จดื และน้าทะเลอีกประมาณ 1 %) หากพิจารณาสายวิวัฒนาการเราแบ่งปลาในยุคปัจจุบันได้ 3 กลุ่มใหญ่ คือ กลุ่มปลาปาก กลม (Cyclostomes) กลุ่มปลากระดูกอ่อน (Chondrichthyes) และกลุ่มปลากระดูกแข็ง (Osteichthyes) สาหรับปลากระดูกแข็งที่มีขนาดเล็กท่ีสุด คือ ปลาบู่แคระ (Dwarf pygmy goby, Mistichthys luzonensis.) มีขนาดประมาณ 10-14 มิลลิเมตร อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก ประเทศ ฟิลิปปินส์ (Schultz, 1948) ปลาทมี่ ีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือ ปลาฉลามวาฬ (Rhincodon typus.) มีความยาวประมาณ 21 เมตร น้าหนักมากกว่า 25 ตัน (บพิธ และนันทพร, 2540) สาหรับประเทศ ไทยปลาน้าจืดชนิดท่ีไม่มีเกล็ดที่ใหญ่ท่ีสุด คือ ปลาบึก (Pangasianodon gigas.) และปลาน้าจืด ชนดิ ที่มีเกลด็ ทใี่ หญท่ ่ีสุดในไทย คือ ปลากะโห้ (Catlocarpio siamensis.) สาหรับประวัติการศึกษาเรื่องปลา นักวิทยาศาสตร์เร่ิมแรกศึกษาคือ อริสโตเติล (Aristotal) นกั วิทยาศาสตร์ชาวกรีกทเ่ี รม่ิ ต้นศกึ ษาโดยเรมิ่ จดบันทึกและศึกษาปลาในกรีกและโรมนั และตอ่ มามี นกั วิทยาศาสตร์ศกึ ษาตอ่ จากอริสโตเตลิ อยา่ งต่อเน่ือง สาหรบั วชิ าทศี่ ึกษาเก่ียวกับเรอื่ งราวต่างๆ ของ ปลา เรียกว่า วิชามีนวทิ ยา (Ichthyology) มาจากภาษกรีกสองคา คือ Ichthys แปลว่า ปลา และ Logys แปลว่า ศาสตร์ หรือ การค้นคว้า สาหรับนักวิชาการที่ศึกษาเฉพาะเร่ืองปลา เรียกว่า นักวิชาการประมง (Ichthyologists) การศึกษาเรื่องราวของปลายังคงมีความต่อเนื่องจนถึงยุค ปจั จุบนั ทง้ั นีเ้ พราะปลาเปน็ สัตวท์ ่ีมีประโยชนต์ อ่ มนุษยม์ าก ภาพที่ 1.1 ปลาบแู่ คระ (Dwarf pygmy goby, Mistichthys luzonensis.) เอกสารประกอบการเรยี น วิชาชีววทิ ยาของปลา (Fish Biology) รหัสวชิ า 2601-1001 1
คาจากัดความของปลา เมื่อเอยถึงปลาทุกคนจะรู้ว่าเป็นสัตว์ท่ีอยู่ในน้า หายใจด้วยเหงือก และคาว่า “ปลา” ในพจนานุกรมภาษาไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้ความหมายวา่ เป็นสัตว์เลือดเย็น มีกระดกู สันหลัง ร่างกายแบ่งออกเป็นส่วนหัว ลาตัว และหาง สว่ นใหญห่ ายใจด้วยเหงือก มีครีบช่วย ในการเคลื่อนไหว บางชนดิ มีเกลด็ แต่บางชนิดไม่มีเกล็ด รูปร่าง และขนาด แตกตา่ งกันมากมาย พบ ท้ังในแหล่งนา้ จืดและทะเล แตใ่ นบางครัง้ เรามักพบเสมอการเรียกช่ือสัตว์ท่ไี ม่ใช่ปลาแต่อยู่ในนา้ ซ่งึ เปน็ การเรียกช่ือตาม ความนยิ มหรอื การเรียกขานต่อๆ กันมา ไดแ้ ก่ ปลาหมึก (Phylum Mollusca) ปลาวาฬ ปลาโลมา ปลาพะยูน (Class Mammalia) และปลาดาว (Phylum Echinodermata) เป็นต้น สาหรับสัตว์ ที่เราถือว่าเป็นปลา (Fish) จัดอยู่ใน Phylum Chordata : Subphylum Vertebrata โดยจะมี ลกั ษณะจาเพาะดังน้ี 1. เป็นสัตว์เลือดเย็น (Poikilothermal animal) คือ สัตว์ที่มีสามารถปรับอุณหภูมิของ รา่ งกายใหเ้ ข้าส่งิ แวดล้อมได้ตลอดเวลา 2. หายใจด้วยเหงือก (Gill) ในปลากระดูกอ่อนเหงือกต้ังอยู่ในโพรงช่องเหงือก ปลา กระดูกแข็งช่องเหงือกถกู ปิดโดยกระดกู ปดิ เหงอื ก (Operculum) 3. จมูกของปลาทาทาหน้าท่ีดมกลิ่น (รับกล่นิ ) 4. เป็นสัตว์ทีอ่ ยใู่ นน้า หรืออย่างน้อยต้องเปน็ ทช่ี ืน้ แฉะ 5. มกี ระดกู สนั หลงั (Vertebrates) 6. มีโนโตคอร์ด (Notochord) เส้นเดียว และภายในกลวง ส่วนมากจะพบในระยะแรกของ ตวั อ่อน 7. ตวั อ่อนหรอื ลกู ปลาได้รับอาหารจากถุงไขแ่ ดง (Yolk Sac) 8. มีขากรรไกรสมบูรณ์ (Jaws) ยกเว้นปลาช้ันต่าไม่ก่ีชนิด เช่น ปลาปากกลม ปลาเหาฉลาม ทขี่ ากรรไกรยงั คงเปน็ กระดูกอ่อน 9. ปลาเป็นสัตว์มีเกล็ด (Scale) หรือเกราะ(Amor-Plated) และมีเมือก (Muceous) ห่อหมุ้ หรอื ปกคลมุ ร่างกาย 10. ปลามีหัวใจ 2 ห้อง คือ ห้องบนเอเตรียม (Atrium) รับเลือดดาจากร่างกายเพ่ือส่งไป หัวใจด้านล่างเวนติเคิล (Ventricle) เพื่อสูบฉีดเลือดดาไปฟอกท่ีเหงือกให้กลายเป็นเลือดแดงและ ส่งไปเล้ียงส่วนตา่ งๆ ของร่างกาย 11. มกี ารสืบพนั ธภุ์ ายนอกร่างกาย (External Fertilization) (ปลาส่วนใหญ่ 80 % จะผสมพันธุ์ภายนอกร่างกาย แล้วออกลูกเป็นไข่ (Oviparous) มีเพียงส่วน น้อย 20% ท่ีผสมพันธภุ์ ายในรา่ งกาย (Internal Fertilization) และออกลูกเป็นตัวได้อาหารจากไข่ แดง (Ovoviviparous) และมีปลาไม่ก่ีชนิดที่ออกลูกเป็นตัวอย่างแท้จริงได้ (Viviparous) แต่ปลา บางชนิดก็ออกลูกโดยตัวแม่ไม่ต้องผสมพันธุ์กับตัวพ่อเลยก็ได้ ซ่ึงการสืบพันธุ์แบบนี้ เรียกว่า แบบกระเทย (Parthenogenesis) ลูกจะได้เปน็ เพศเมียทัง้ หมด) 12. ปลาเป็นสัตว์เคล่อื นทีโ่ ดยใชค้ รีบและกลา้ มเนอื้ ลาตัว 13. ลาตัวของปลาโดยทั่วไปมีสมมาตรซ้าย-ขวา (Bilateral symmetry) ยกเว้นปลาบาง ชนิด เชน่ ปลาซีกเดียว เอกสารประกอบการเรียน วิชาชีววิทยาของปลา (Fish Biology) รหัสวชิ า 2601-1001 2
14. ร่างกายปลาแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนหัว (Head) ส่วนลาตัว (Trunk) และ ส่วนหาง (Tail) อยา่ งชัดเจน 15. มรี ยางคค์ ู่ไมเ่ กิน 2 คู่ 16. เลือดมีสีแดง โดยมีเฮโมโกลบิน (Haemoglobin) และเป็นระบบวงจรปิด (Closed blood vascular system) ยกเว้นในปลาบางชนิด เช่น ไอซ์ฟิช (Icefish) ทเ่ี ลือดไมม่ เี ฮโมโกลบนิ 17. มีรูทวาร (Anus) อยู่ในบริเวณสันทอ้ ง 18. ระบบประสาทอยู่ด้านหลัง (Dorsal) ของทางเดินอาหาร และไม่มีโครงสร้างของปม ประสาท 19. ระบบอวัยวะต่างๆ แยกออกจากกัน 20. มเี พศแยกชดั เจน คอื เพศผู้และเพศเมยี 21. ส่วนมากมีเส้นข้างลาตัว (Lateral line) ซึ่งเป็นอวัยวะรับความรู้สึกพิเศษต่อการ สัน่ สะเทือนในน้า เป็นอวัยวะท่ีมีรูเป็นแถวให้น้าไหลผ่านตลอดทางด้านข้างของลาตัว ทาให้ปลารู้ถึง สภาพแวดล้อมท่ีอยู่ใกล้ตวั 22. ระบบโครงกระดูกส่วนมากจะเป็นกระดูกอ่อนในระยะตัวอ่อน และถูกแทนท่ีด้วย กระดกู แข็งเม่อื เปน็ โตเต็มวยั ประโยชนข์ องปลา ปลาเป็นสัตว์ที่มีคุณประโยชน์ต่อมนุษย์อย่างย่ิง และมีความสัมพันธ์กับมนุษย์มานาน ประโยชนข์ องปลามหี ลายประการดว้ ยกนั (จินดา, 2525) คอื 1. ด้านคุณค่าทางโภชนาการ 1.1 เน้ือปลาเป็นอาหาร ปลาเป็นอาหารของมนุษย์และสัตว์อื่นมานาน โดยใน ประเทศไทยมีคากล่าวที่ว่า “ในน้ามีปลา ในนามีข้าว” แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ระหว่างคนกับปลา ปลาเป็นอาหารโปรตีนที่ย่อยง่าย มีกรดอะมิโน (Amino acid) ครบถ้วน โดยมี โปรตนี ประมาณ 14.4 - 23.0 กรัม จงึ เหมาะกับคนทกุ วยั 1.2 เนื้อปลาเป็นอาหารประเภทโปรตีนที่หาง่าย ราคาถูก กล่าวคือ ปลาเป็นสัตว์ท่ี หาง่ายในท้องถ่ิน และสามารถจัดหาได้ตามตลาดนัดชุมชน ซึ่งมีปลาหลากหลายชนิดที่เลือกอีกทั้ง ราคาไม่สงู 1.3 เน้ือปลาเป็นอาหารย่อยง่าย ซึ่งเหมาะสมแก่คนทุกเพศทุกวัย โดยเฉพาะเด็ก และผ้สู ูงวัยควรบริโภคเนอ้ื ปลาเป็นอาหารหลัก 1.4 เนื้อปลามีโอเมก้า3 โดยเฉพาะปลาน้าจืด เช่น ปลาสวายมีโอเมก้า3 สูงถึง 2,570 มลิ ลกิ รัม ต่อน้าหนกั 100 กรัม ปลาชอ่ นมีโอเมกา้ 3 สูง ถึง 870 มิลลิกรมั ต่อน้าหนกั 100 กรัม รวมทั้งปลากะพงขาว มีโอเมก้า3 ประมาณ 310 มิลลิกรัมต่อน้าหนัก 100 กรัม และปลาทะเลมีโอ เมก้า3 1,000-1,700 มิลลกิ รมั ต่อนา้ หนัก 100 กรมั (gidanan ganghair, 2558) (โอเมก้า3 ช่วยป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด เพราะโอเมก้า 3 จะช่วยป้องกันการสะสม ของไขมันอิ่มตัว หรือคอเลสเตอรอล ซ่ึงเป็นสาเหตุทาให้หลอดเลือดอุดตัน บารุงสมอง เพราะกรด ไขมนั DHA ในโอเมกา้ 3 จะช่วยเพิ่มประสทิ ธิภาพของสมองในส่วนความจา การเรียนรู้ ความสามารถ ของสมอง อารมณ์ และพฤติกรรม ดังนั้นที่เขาว่าย่ิงทานปลาย่ิงฉลาด ก็น่าจะเพราะเหตุผลข้อน้ี เอกสารประกอบการเรียน วิชาชีววทิ ยาของปลา (Fish Biology) รหสั วิชา 2601-1001 3
บารุงระบบประสาทและสายตา เพราะโอเมก้า3 เป็นกรดไขมันที่จาเป็นต่อการสร้างผนังเซลล์กรด EPA ในน้ามนั ปลา มีบทบาทสาคญั ในการรกั ษาโรคซึมเศรา้ อาการขาดสมาธิ นอนไมห่ ลบั ) 2. ด้านเศรษฐกิจ 2.1 ปลาเป็นสินค้า เม่ือมนุษย์ทุกเชอื้ ชาติ ศาสนา ใช้เน้ือปลาเป็นอาหาร ดังนั้น จึง เกิดการซือ้ – ขาย ปลาขึ้น เป็นผลให้ปลาเปน็ สินค้าชนิดหน่ึง ซง่ึ มีทัง้ ในรูปของสดและแปรรปู เราจึง พบเห็นวา่ มกี ารซ้อื ขายปลาทุกวัน 2.2 เป็นสินค้าส่งออก โดยปลาเป็นสินค้าท่ีสามารถส่งออกแล้วช่วยสร้างดุลทาง การค้าให้กับประเทศได้ ซ่ึงสามารถสง่ ออกไดท้ ั้งในรปู ของปลาสด ปลาสดแช่แขง็ ผลิตภัณฑจ์ ากปลา ซ่ึงเป็นสินคา้ ส่งออกที่สรา้ งรายได้มหาศาล 2.3 ก่อให้เกิดตลาดแรงงาน กล่าวคือ เม่ือมีการประกอบกิจการแพปลา โรงงาน แปรรูป โรงงานอาหารสตั ว์ และฟารม์ เพาะเลย้ี งปลา ลว้ นตอ้ งใช้แรงงาน ซง่ึ ทาให้มีการกระจายรายได้ ส่ชู มุ ชน และประชาชนในท้องถิ่น 2.4 ใช้เป็นสถานที่ท่องเที่ยว และพักผ่อนหย่อนใจ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ เช่น บึงฉวาก อควาเรยี มสัตว์นา้ ตา่ งๆ เป็นต้น 2.5 ก่อให้เกดิ อุตสาหกรรมตอ่ เนอื่ ง เนือ่ งจากปลาเป็นสนิ คา้ ท่ีมกี ารซอ้ื -ขายกันอยา่ ง แพร่หลาย จึงเกิดการแปรรูปเพื่อให้เก็บรักษาไว้ได้นานๆ สะดวกต่อการใช้ได้ทุกเวลา อีกท้ัง การแปรรูปมีหลายรูปแบบ เช่น ทาปลากระป๋อง ตากแห้ง ทาเค็ม ปลาร้า และน้าปลา ฯลฯ และ กอ่ ให้เกดิ อตุ สาหกรรมต่อเนื่องทม่ี ีขนาดใหญ่ขน้ึ เช่น อุตสาหกรรมอาหารสตั ว์น้า การต่อเรอื ห้องเย็น แพปลา นา้ มนั และการคมนาคม เป็นตน้ 3. ดา้ นสงั คม 3.1 ช่วยลดปัญหาอาชญากรรม ซึ่งเมื่อประชาชนมีงานทาก็จะทาให้มีปัญหา การลกั ขโมยลดลง 3.2 ชว่ ยผ่อนคลายความตึงเครียดและเกมส์กฬี า ซ่ึงปลาถือเป็นสัตว์ท่ีสามารถเลี้ยง ได้ในสถานท่ีท่หี ลากหลาย สะดวกตอ่ การจดั การ และสามารถเลย้ี งบนตึก อาคาร และคอนโดมิเนียม ได้ อีกทงั้ กฬี าตกปลา (Fishing park) กไ็ ด้รบั ความนิยมอย่างต่อเนอ่ื ง 3.3 ผลพลอยได้และเศษเหลือของปลา นามาทาสบู่ เครื่องสาอาง น้ามันตับปลา ปลาปน่ เศษกุง้ เกลด็ ปลา หนังปลานลิ รวมทงั้ ใช้ในการทาป๋ยุ หมกั ชีวภาพได้ดดี ว้ ย 3.4 ช้นิ สว่ นของปลาบางชนิดใช้ในทางการแพทย์ เชน่ ปลาบางชนดิ กระเพาะลมเป็น ยาบารุงโลหิต นอกจากนี้ น้ามันตับปลาฉลามยังใช้ประกอบเป็นยารักษาโรครูมาติซัม แผลไฟไหม้ และแกไ้ อ (Bigelow and Schroeder 1995) 4. ดา้ นการศึกษา 4.1 ใช้ในการศึกษาวิชาท่ีเก่ียวข้องกับปลาด้านต่างๆ เช่น วิชาชลธีวิทยา นิเวศวิทยา สมุทรศาสตร์ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า ชีววิทยาของปลา มีนวิทยา อนุกรมวิธานของปลา และโรคพยาธิ และศตั รูของสัตวน์ า้ ฯลฯ เป็นตน้ 4.2 ใช้ในการศึกษาทดลอง เชน่ ศึกษาการเจริญเติบโต อัตราการรอดตาย อตั ราการ เอกสารประกอบการเรยี น วชิ าชีววทิ ยาของปลา (Fish Biology) รหสั วิชา 2601-1001 4
แลกเนื้อ (FCR) ศกึ ษาชวี วิทยาบางประการของปลา รวมถึงการศึกษาความเป็นพิษของสารพิษในน้า ฯลฯ 4.3 ใชใ้ นการศกึ ษาทางพนั ธุศาสตร์และพนั ธุกรรมของปลา เชน่ ปลาม้าลาย เป็นต้น 4.4 ใชใ้ นการศึกษาในดา้ นการแปรรูปสัตว์น้า เพอื่ ยืดอายกุ ารเก็บรกั ษา โทษของปลาบางชนดิ ต่อมนุษย์ 1. ปลาบางชนิดเปน็ พาหะนาปรสติ เข้าสรู่ า่ งกายมนษุ ย์ และเป็นปรสิตของสัตวน์ ้า 2. ปลาบางชนิดเปน็ อนั ตรายโดยตรงกับมนุษย์ขณะลงเลน่ น้า เช่น ปลาฉลามขาว ปลาฉลาม หัวค้อน ปลาฉลามเสือ ปลาฉลามน้าเงิน ปลาฉลามทราย และปลาปิรัน ย่า ( Piranya) สกลุ Serrasalmus และ Pygocentrus พบในอเมรกิ าใต้ และเป็นปลาน้าจืดทดี่ รุ ้ายท่สี ุด 3. ปลาบางชนดิ เปน็ ศตั รูตามธรรมชาติของผู้เลี้ยงกงุ้ และฟารม์ เพาะเลีย้ งสัตวน์ า้ เชน่ ปลาชอ่ น ปลาชะโด ปลาดกุ ปลาหมอไทย ซ่งึ เป็นปลากนิ เนอื้ เป็นตน้ 4. ปลาบางชนิดสะสมสารพิษไวใ้ นร่างกายและเปน็ อันตรายต่อมนุษย์ โดยเฉพาะ วงศ์ปลาปักเป้าฟันส่ีซ่ี (Tetraodontidae) มีพษิ ทาใหช้ าหรอื เป็นอัมพาต และอาจถงึ แก่ชีวิตหากไม่ได้ รับการรักษาท่ีทันเวลา และปลาบ้า (Mad carp, Sultan fish; ช่ือวิทยาศาสตร์: Leptobarbus hoevenii) ซึ่งในบางฤดูอาจกินเมล็ดพืชหรือแพลงก์ตอนบางชนิดท่ีมีพิษเข้าไป และสะสมพิษในตัว ทาใหเ้ น้ือเป็นพษิ ตอ่ มนษุ ยท์ ่ีรับประทานปลานั้นเขา้ ไป 5. ปลาบางชนิดมีต่อมพิษในส่วนต่างๆ ของร่างกาย ส่วนใหญ่จะอยู่ท่ีเง่ียง (Spine) หรือ กา้ นครีบแขง็ เช่น ปลามังกร ปลากะรงั หวั โขน ปลาหนิ ปลากระเบนบางชนิด ปลาสิงโต ปลากลุ่มน้ีมี พษิ ร้ายแรงถึงขั้นทาให้เสียชวี ิตได้ในเวลาอันรวดเร็ว สว่ นปลาอื่นๆ มีพษิ เพียงแต่ทาใหเ้ จ็บปวดเท่าน้ัน เช่น ปลาแขยงข้างลาย ปลากด ปลาดุก ปลาสลิดหิน ปลาขี้ตังเบ็ด ปลาฉลามบางชนิด ฯลฯ (สบื สนิ , 2527) 6. ปลาบางชนิดมีกระแสไฟฟ้า ซึ่งปลาท่มี ีกระแสไฟฟ้ามีอยู่ไม่มากนัก แต่อันตรายต่อมนุษย์ โดยมีอาการตั้งแต่รสู้ ึกชาไปจนถึงขั้นเสียชีวิต ปลาทม่ี ีกระแสไฟฟ้า เชน่ ปลาไหลไฟฟ้า ปลากระเบน ไฟฟ้า ฯลฯ (วิมล, 2528) ภาพที่ 1.2 ปลาไหลไฟฟ้า และปลากระเบนไฟฟา้ เอกสารประกอบการเรยี น วชิ าชวี วิทยาของปลา (Fish Biology) รหัสวชิ า 2601-1001 5
ลาดับขัน้ ทางอนกุ รมวธิ าน ผเู้ ขียนขออธิบายเพ่ือความสะดวกต่อผู้เรยี นและใหค้ วามรู้ ความเข้าใจพื้นฐานการศึกษาทาง อนุกรมวิธานของสง่ิ มชี ีวติ เพ่อื ความสะดวกในการจดั หมวดหมู่ของปลา การจดั หมวดหม่ขู องสง่ิ มีชีวติ มลี าดบั ขั้นเป็นดังนี้ 1. อาณาจักร (Kingdom) เป็นลาดับข้ันท่ีสูงที่สุด แบ่งออกเป็น พืช (Plantae) สัตว์ (Animalia) โปรโตซวั (Protista) และแบคทีเรยี (Monera) เป็นตน้ 2. ไฟลมั (Phylum) เป็นลาดับข้ันที่รองลงมาจาก Kingdom ตัวอย่าง เช่น สตั วท์ ี่มีกระดูก สนั หลงั จัดอย่ใู น Phylum Chordata หรอื Vertrabrata เปน็ ต้น 3. ชั้น หรือ คลาส (Class) มักมีคาลงท้ายด้วย .....i เชน่ ปลากระดูกแข็ง จัดอย่ใู น Class Teleostomi ส่วนพวกฉลาม กระเบน จัดอยู่ใน Class Elasmobranchii 4. อันดับ (Order) มักลงท้ายด้วยคาว่า .....formes เช่น ปลาไหลทะเล จัดอยู่ใน อันดับ Anguilliformes ปลากะพงขาว อยู่ในอันดับ Perciformes ปลาตะเพียนอยู่ในอันดับ Cypriniformes เปน็ ตน้ 5. วงศ์ หรือ ครอบครัว (Family) มักลงท้ายด้วย.....dae เช่น ปลาตะเพียน จัดอยู่ในวงศ์ Cyprinidae ปลากะพงขาว วงศ์ Centropomidae เป็นต้น 6. สกุล (Genus) เช่น ปลาย่ีสกเทศมีสกุลว่า Labeo การพิมพ์ต้องพิมพ์ด้วยตัวเอียง ถ้าเขยี นตอ้ งขดี เสน้ ใต้ 7. ชนิด (Species) ต้องเขียนคู่กับจีนัสเสมอ เขียนเด่ียวไม่ได้ เช่น ปลาย่ีสกเทศมีชื่อชนิด หรือ ชอื่ วิทยาศาสตรว์ า่ Labeo rohita. จะเขียนเพียง rohita เดยี่ วๆ ไม่ได้ ในเอกสารทางอนุกรมวิธานเรามักพบการเขียนช่ือวิทยาศาสตร์ จะบอกคนตง้ั ช่ือสัตว์ชนิด นั้นไว้เพือ่ เปน็ เกยี รติ พรอ้ มทั้งบอกปี พ.ศ. ทีต่ ัง้ ช่อื สัตวช์ นิดนัน้ เชน่ ปลาชอ่ น Oreochromis niloticus (Linnaeus, 1758) ตัวอยา่ งการจัดระดบั ช้นั ทางอนุกรมวธิ านของปลานลิ ตามระบบของ Nelson (1994) Kingdom : Animalia Phylum : Chordata Subphylum : Vertrabrata Class : Actinopterygii Order : Cichlidae Genus : Oreochromis Species : O. niloticus (Linnaeus, 1758) เอกสารประกอบการเรยี น วชิ าชีววทิ ยาของปลา (Fish Biology) รหัสวชิ า 2601-1001 6
การแบง่ กลุ่มของปลา ปลาท่มี ีชวี ิตอยใู่ นปจั จุบันมี 5 ข้นั (Class) คอื 1. Class Myxini ไดแ้ ก่ Hagfishes 2. Class Petromyzontida ได้แก่ Lampreys 3. Class Chondrichthyes ได้แก่ ปลากระดกู ออ่ น (Cartilaginous fishes) เช่น ปลาฉลาม ปลากระเบน ปลาฉนาก ปลาโรนนั และปลาโรนนิ 4. Class Actinopterygii ไดแ้ ก่ ปลากระดูกแขง็ (Bony fishes) เช่น ปลากะพงขาว ปลานิล ปลาตะเพยี น ปลาสาก ฯลฯ 5. Class Sarcopterygii ไดแ้ ก่ ปลาปอด และปลาซีลาแคนธ์ 1. Class Myxini ได้แก่ แฮกฟิช (Hagfishes) เป็นปลาปากกลมไม่มีขากรรไกร พบใน น่านนา้ ตา่ งประเทศมโี ครงเป็นกระดกู ออ่ น ลาตัวคลา้ ยปลาไหล ไมม่ เี กลด็ มีเมือกมาก ไม่มีแกนเหงอื ก ไม่มีครีบคู่ ไม่มีกระดูกซ่โี ครง ดารงชีพโดยการกินซากเน่าเป่ือยเป็นอาหาร พบในน่านน้าไทยเพียง 1 ชนิด ในมหาสมทุ รอินเดยี คือ Eptatretus indrambryai 2. Class Petromyzontida ได้แก่ แลมเพ รย์ (Lampreys) เป็น ปลาปากกลมไม่มี ขากรรไกร พบในน่านน้าต่างประเทศ ซึ่งเป็นปลาท่ีจัดว่าเป็นตัวเบียฬ (Parasite) ของปลาอื่น ลาตัว ยาวคล้ายปลาไหล ตัวล่ืนมีเมือกปกคลุมมาก ไม่มีเกล็ด ไม่มีครีบคู่มีแต่ครีบเดี่ยว มีก้านครีบเป็น กระดูกอ่อน ปากมีลักษณะเป็นปากดูด (Sucking mouth) ซ่ึงจะคอยเกาะดูดเอาน้าเลือด น้าเหลือง จากปลาท่เี ปน็ เหยอ่ื 3. Class Chondrichthyes ได้แก่ ปลากระดูกอ่อน (Cartilaginous fishes) 3.1 ปลาฉลาม (Shark) เป็นปลากระดูกอ่อนที่มีลาตัวเพรียวยาวแบบกระสวย (fusiform) ว่ายน้าได้เร็วมาก ลาตัวแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนหัว ลาตัว และหาง บนลาตัวมีเกล็ด ละเอียดแบบพลาคอยด์ (Placoid) และมีทั้งครีบคู่และครีบเด่ียว ปลาฉลามบางชนิดท่ีด้านข้างของ คอดห าง (Caudal peduncle) จะ มีสัน นู น ขึ้น ม า (Lateral keel) และบ างชนิ ดมี ร่อ งตื้ น (Caudal pit) อยู่บริเวณคอดหางด้านบนตรงรอยต่อกับหาง ซึ่งจะหักคอดลงไป และมีช่องเหงือก (Gill opening) อยู่ดา้ นข้างของหวั หน้าครบี หู ส่วนมากพบจานวน 5 คู่ 3.2 ปลากระเบน (Ray) เป็นปลากระดูกอ่อนอีกจาพวกหน่ึง มีรูปร่างแตกต่างจาก ปลาฉลามอยู่มาก คอื มีลาตัวแบนลง (Depressiform) ตัวลน่ื ไม่มีเกล็ด แต่อาจมีปุ่มกระเล็กๆ ในบาง บริเวณ ครีบหูแผ่ข้างลาตวั ไม่มีมีครีบหาง (ยกเว้นปลากระเบนไฟฟ้า) ครีบท้องอยู่ด้านลา่ งตอนหลัง จะงอยปากบางพวกจะยื่นแหลม บางพวกป้านมน ตาอยู่ด้านบน มี spiracle อยู่ด้านหลังตาเป็นช่อง ใหญ่ซึ่งจะติดตอ่ กับชอ่ งเหงือกให้น้าผ่านได้ ปาก รูจมูก และชอ่ งเหงอื กอยู่ด้านทอ้ ง สาหรบั ช่องเหงือก (Gill opening) มจี านวน 5 คู่ 4. Class Actinopterygii ได้แก่ ปลากระดูกแข็ง (Bony fishes) โดยปลากระดูกแข็งมี รูปร่างท่ีแตกต่างกันมากในลักษณะสัดส่วนและขนาด ลาตัวตัวแบ่งเป็น 3 ส่วนชัดเจน คือ ส่วนหัว ลาตัว และหาง ร่างกายเป็นแบบสมมาตรซ้าย-ขวา (Bilateral symmetry) ซ่ึงเหมือนกนั และสัดส่วน เท่ากัน ยกเว้นปลาใน Order Heterosomata คือ ปลาซีกเดียวหรือปลาล้ินหมา ซ่ึงจะมีซีกตัว เอกสารประกอบการเรยี น วิชาชีววิทยาของปลา (Fish Biology) รหสั วิชา 2601-1001 7
ด้านซ้ายและขวาต่างกัน คือ จะมีตาท้ังสองข้างอยู่ทางซีกเดียวของหัว ซึ่งอาจจะเป็นซีกซ้ายหรือซีก ขวาก็ได้ ปลากระดูกแข็งลาตัวมีเกล็ดหรือไม่มีเกล็ดก็ได้ ปลาบางชนิดเกล็ดอาจเปล่ียนรูปไปเป็น หนาม (Snipe) เกราะหรือแผ่นกระดูก (Armour หรือ Bony plate) เป็นต้น ตาแหน่งท่ีต้ังของปลา อาจจัดได้ 3 ตาแหน่ง คือ ปากอยู่ด้านบน (Superior mouth) ปากอยู่ด้านล่าง (Inferior mouth) และปากอยู่ด้านหนา้ หรอื ริมสุดของจะงอยปาก (Anterior or Terminal mouth) ปากประกอบด้วย ขากรรไกรบน (Upper jaw) และขากรรไกรล่าง (Lower jaw) จมูกมี 1-2 คู่ ตามีขนาดต่างๆ กัน และท่ีตั้งไม่แนน่ อนแลว้ แต่ชนิด บางชนิดอาจมเี ยอื่ ไขมันปิดตา (Adipose eyelid) ปลาจาพวกทมี่ ีหนวด (Catfish) ท่ีไม่มีเกลด็ มักจะมีหนวดในตาแหน่งตา่ งๆ อยู่ 1-4 คู่ หนวด ที่อยู่บนจะงอยปากใกล้รูจมูก เรียก Snout barbels หรือ Nasal barbels หนวดท่ีอยู่บนขากรรไกร บน เรียกวา่ Maxillary barbels หนวดท่ีขากรรไกรล่าง เรยี กว่า Mandibular barbels และหนวดท่ี อยู่ใต้คาง เรียกว่า Mental barbels ส่วนท้ายของหัวมีแผ่นกระดูกปิดเหงือก เรียกว่า Gill cover ซึง่ ประกอบดว้ ยกระดกู หลายชน้ิ ครีบของปลามีท้ังครบี คู่และครีบเด่ียว คือ ครีบคู่ ได้แก่ ครบี หู (Pectoral fin) และครีบท้อง (Pelvic fin) ครีบเดี่ยว ได้แก่ ครีบหลัง (Dorsal fin) และครีบก้น (Anal fin) ปลาบางวงศ์อาจมี ครีบไขมัน (Adipose fin) เช่น ปลาแขยง ปลากด ปลาสวาย เป็นต้น ปลาบางวงศ์มีครีบฝอย (Finlet) อยู่ท้ายครีบหลังและครีบก้น จะพบในปลาทู ปลาอินทรี ปลาโอ เป็นต้น ปลาส่วนใหญ่จะมีอวัยวะรับ ความรู้สึกด้านข้างลาตัว โดยท่ีเกล็ดในแนวข้างตัวจะมีรูหรือท่อเป็นทางติดต่อให้น้าภายนอกผ่านไป สัมผัสกบั อวัยวะรับความรสู้ ึกภายใน แนวเกล็ดนั้น เรยี กว่า เส้นข้างลาตัว (Lateral line) สาหรับบน หัวของปลาจะมีอวยั วะรับความรู้สกึ อยใู่ ต้ผวิ เหนือตา ใต้ตา และบนกระพงุ้ แกม้ ชอ่ งเปิดถา่ ยของเสีย ออก เรียกว่า รูทวาร (Anus) สาหรับช่องเปิดของ เซลล์สืบพันธ์ุจะเป็นไข่หรือน้าเชื้อ รวมกับ สงิ่ ขับถา่ ยจากไต จะเปดิ ออกทางรูหลงั รูทวาร เรียกว่า Urogenital opening 5. Class Sarcopterygii ไดแ้ ก่ ปลาปอด (Lung fish) และปลาซีลาแคนท์ (Coelacanth) ซง่ึ ถอื เป็นหลกั ฐานและรอ่ งรอยของการววิ ฒั นาการของปลาในอดตี ทีพ่ ัฒนามาเป็นสัตวค์ รงึ่ บกครึ่งนา้ 5.1 ปลาปอด (Lung fish) มีลักษณะเป็นปลาโบราณรปู ร่างคล้ายปลาไหล มกี ระดูก ครีบคู่ท่ีเทียบได้กับแขนขาของสัตว์ช้ันสูง มีแกนยาวและมีกล้ามเนื้อประกอบชัดเจน หางมีลักษณะ แบบ Diphycercal เกล็ดแบบ Cosmoid ปลาปอดหายใจเอาอากาศโดยตรงผ่านทางถุงลมและจะลด การเผาผลาญพลังงาน พบในแม่น้าในอเมรกิ าใต้ แอฟริกา และออสเตรเลยี 5.2 ปลาซีลาแคนท์ (Coelacanth) มนุษยไ์ ดค้ ้นพบฟอสซิลของปลาชนิดน้ีนานแล้ว จากอายุของฟอสซลิ ทาให้ทราบว่าปลาชนิดนี้มีชีวิตอยู่เมื่อ 360 ล้านปีมาแล้ว และคิดว่าได้สูญพันธ์ุ ไปเม่ือ 80 ล้านปีก่อน จนกระทุ่งวันท่ี 22 ธันวาคม ค.ศ. 1938 มีการพบปลาชนิดนี้บริเวณ หมเู่ กาะโคโมโรทางตะวนั ออกของชายฝ่งั ทวีปแอฟริกาใต้ ซ่ึงได้รับการตั้งช่ือวทิ ยาศาสตร์วา่ Latimer chalumnei. ต่อมามีการค้นพบประชากรปลาซีลาแคนท์ฝูงใหม่ ในวันท่ี 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1998 แถบ หมู่เก าะสุราเวสี ป ระ เท ศอิน โดนีเซีย ได้รับก ารต้ังช่ือวิทยาศาสตร์ว่า Latimeria menadoensis. ซง่ึ มีลักษณะแตกตา่ งจากปลาซีลาแคนท์ท่มี าจากโคโมโรในเรื่องสีสันอยา่ งเด่นชัด คือ ปลาซีลาแคนท์จากสุราเวสีจะมีสีออกน้าตาล ในขณะที่ของหมู่เกาะโคโมโรจะมีสีเงิน ปลาซีลาแคนท์ เปน็ ปลาที่มลี ักษณะคอ่ นข้างแตกตา่ งจากปลาในยุคปัจจุบันอย่างมาก สิ่งทแี่ ตกต่างอย่างเด่นชัด คือ เอกสารประกอบการเรียน วิชาชวี วิทยาของปลา (Fish Biology) รหัสวชิ า 2601-1001 8
มีครีบพิเศษบนครีบหาง ครีบอกและครีบท้อง การเคลื่อนไหวของครีบดังกล่าวเหล่าน้ียังเคลื่อนไหว คล้ายมอื และขาของมนษุ ย์ คือสามารถเคล่อื นไหวได้อสิ ระ ก. แฮกฟชิ (Hagfishes) ข. แลมเพรย์ (Lampreys) ค. ปลาฉลาม ง. ปลากระเบน จ. ปลาฉนาก ฉ. ปลาโรนัน ช. ปลากะพงขาว ซ. ปลากัด ภาพท่ี 1.3 ปลาที่มีชวี ติ อยูใ่ นปจั จุบนั ทงั้ 5 Class (ก-ซ) เอกสารประกอบการเรยี น วชิ าชีววิทยาของปลา (Fish Biology) รหัสวิชา 2601-1001 9
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: