1 การพฒั นาบทเรียนโซเซยี ลมเี ดยี เพอื พฒั นาผลสมั ฤทธทิ างการเรียน วิชาคอมพวิ เตอร์สาํ หรับครู THE DEVELOPMENTAL OF E-LEARNING SOCIAL MEDIA FOR LEARNING ACHIEVEMENT IMPROVEMENT IN COMPUTER FOR TEACHERS COURSE. ปิ ยภทั ร์ จริ ปณุ ญโชติ Piyapat Jirapunyachoti บทคดั ย่อ การวจิ ยั ครงั นีมวี ตั ถปุ ระสงค์หลกั เพือ 1) พฒั นาบทเรียนโซเซียลมีเดยี วชิ าคอมพิวเตอร์สําหรบั ครูเพือพฒั นาผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนของนกั ศกึ ษาให้มปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 85/85 2) ศกึ ษาผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนของนกั ศกึ ษาก่อนเรียนและหลงั เรียนด้วยบทเรียนโซเซียลมีเดีย วชิ าคอมพิวเตอร์สําหรับครู 3) เพือศึกษาความคิดเห็นของนกั ศึกษาทีเรียนด้วยบทเรียนโซเซียว มีเดียรายวิชาคอมพิวเตอร์ สําหรับครู ใช้ แผนการวิจัยแบบกึงการทดลอง (Quasi Experimental Research) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นกั ศกึ ษาปริญญาตรีชันปี ที 1 มหาวิทยาลัย กรุงเทพธนบรุ ี ทีเรียนวิชาคอมพิวเตอร์สําหรับครู ปี การศกึ ษา 2556 จํานวน 2 ห้องเรียน จาก ทังหมด 7 ห้ องเรียน จํานวน 90 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Clusters Random Sampling) เครืองมือทีใช้ในการวิจัย ได้แก่ บทเรียนโซเซียลมีเดียวิชาคอมพิวเตอร์สําหรับครู เกบ็ รวบรวมข้อมูลโดย แผนการจดั การเรียนรู้ แบบประเมินบทเรียนโซเซียลมีเดีย แบบทดสอบ วดั ผลสัมฤทธิ ทางการเรียน และแบบสมั ภาษณ์แบบกึงโครงสร้ าง ใช้สถิติพืนฐานในการ วเิ คราะห์ข้อมูล ได้แก่ คา่ ร้อยละ คา่ เฉลีย สว่ นเบียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ t-test คาํ สาํ คญั : บทเรียนโซเซียลมเี ดีย คอมพิวเตอร์สําหรบั ครู การพฒั นาผลสมั ฤทธิ * อาจารย์ประจาํ สาขาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั กรุงเทพธนบุรี Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)
2 Abstract This research aims to: 1.Develop effective online lessons of Computer for Teachers Course Subject for undergraduate students to meet 85/85 standard,and 2. Investigate learning achievement before and after studying of the undergraduate students through online lessons of Computer for Teachers Course Subject. This paper improved several online lessons of Culture for Life Subject which were evaluated by 5 experts of development of instructional type, 5 experts of content, and 5 experts of online lessons. The research was divided into 3 steps as follows; 1) online lesson development, 2) enhancement and effectiveness evaluation of online lessons regarding the 85/85 standard, and 3) learning achievement estimation before and after studying. The data was gathered by using the online lessons of Computer for Teachers Course Subject, evaluation forms to inspect quality of type, content and online lessons, as well as learning achievement test. T-test (dependent sample) was conducted for the data analysis to compare the learning achievement before and after studying. The research results revealed that 1) To the step of online lesson development, 3 stages and 8 elements of Wheel of Law Model were applied. They consisted of The development was evaluated by 5 experts of development of instructional type. The overall mean was at 4.75 and the standard deviation was at 4.13. The suitability was at appropriate level. When considering each aspect, it indicated that all steps and elements were at appropriate level. 2) To the step of online lesson development and evaluation, the created lessons met the 85/85 standard and they were approved by the experts of content. The overall mean was at 4.28 and the standard deviation was at 0.12. The quality was at good level and approved by the experts of online lessons. The overall mean was at 4.10 and the standard deviation was at 0.27. The quality was at good level. Regarding to an experiment with the samples of 50 undergraduate students who registered Computer for Teachers Course Subject in the 1st semester/2012, the efficiency of online lessons was at 85.51/85.95. 3. To the learning achievement before and after studying, it demonstrated that the learning achievement of80 undergraduate students who registered Computer for Teachers Course Subject in the 1stsemester/2012 after studying (85.16) was higher than the learning achievement before studying (60.03) with the .05 level of statistical significance. Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)
3 บทนํา ปัจจบุ นั สอื และเทคโนโลยีเพือการจดั การศกึ ษาเรียนรู้ของมนษุ ย์ได้มีการสร้างและพฒั นา ก้าวรุดหน้าไปอย่างรวดเร็วพร้อมกบั การเปลียนแปลงในวิถีการดํารงชีวิตของมนษุ ย์ในสงั คมตา่ ง ได้รับผลกระทบจากการพัฒนาการดงั กล่าวอย่างทัวถึงกัน โดยเฉพาะอย่างยิงด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ (Information Technology) ทีนํามาปรับใช้ในวงการศกึ ษาในหลากหลายรูปแบบและ วิธีการ (สรุ ศักดิ ปาเฮ, 2555: 1) หรือเรียกว่า การจัดการศึกษายุคฐานแห่งเทคโนโลยี (Technology Based) สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษา (2547: 2) สรุปว่า พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิมเติม (ฉบบั ที 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 4 เสนอวา่ การศึกษาเป็ นกระบวนการการเรียนรู้เพือความเจริญงอกงามของบคุ คลและ สงั คม โดยการถา่ ยทอดความรู้อนั เกิดจากสภาพแวดล้อมและปัจจยั เกือหนนุ ให้บคุ คลเรียนรู้อย่าง ตอ่ เนืองตลอดชีวิตและ มาตรา 6 ระบวุ า่ การจดั การศกึ ษาต้องเป็ นไปเพือพัฒนาคนไทยให้เป็ น มนษุ ย์ทีสมบรู ณ์ทงั ร่างกายและจิตใจ มีความรู้และสติปัญญาอยู่ร่วมกบั ผ้อู ืนได้อย่างมีความสขุ ยืน ภสู่ วุ รรณ (2546: คาํ นํา) กลา่ วเสริมว่า โดยมีปรัชญาการศึกษาให้ ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมี ความสุข เรียนรู้ได้มาก สร้างโอกาสการศกึ ษาให้ทัวถงึ และหลากหลาย บทเรียนโซเซียลมีเดีย วชิ าคอมพิวเตอร์สําหรับครู เป็ นการนํานวตั กรรมเทคโนโลยี การสือสารไร้พรหมแดนมาประยกุ ต์ใช้จดั การเรียนการสอนผา่ นอปุ กรณ์การสือสารประเภทตา่ ง ๆ ทีผ้เู รียนมีความพร้อม อาทิ โทรศพั ท์มอื ถือประเภทสมาร์ทโฟน (SmartPhone) มีความเป็นอสิ ระใน การเชือมต่อสือประเภทโซเซียลมีเดีย เช่น Facebook, Twitter, Web Blog, Youtube, และ Google Apps ทีมีลกั ษณะการใช้งานทีเน้นการเข้าถึงผ้ใู ช้บริการตลอดเวลา สามารถรองรับสือ หลากหลายรูปแบบทีมีการผลิต แบ่งปันข่าวสาร ความรู้ ตลอดเวลาจากทัวทุกมุมโลกผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต การพฒั นาบทเรียนโซเซียลมีเดียเพือพัฒนาผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนวิชา คอมพิวเตอร์สําหรบั ครู เป็นการนําเอากิจวตั รการเสพสอื ประจําวนั ของผ้เู รียน เชน่ การเขียนบอก เล่าเรืองราว ประสบการณ์ บทความ รูปภาพ และวดิ ีโอ ทีผลติ ขนึ เองหรือค้นพบจากโซเซียล เน็ตเวิร์คแล้วนํามาแบ่งปัน มาจัดการเรียนการสอนทีจะช่วยเพิมเติมความรู้ให้ผู้เรียนได้เข้าถึง เนือหาได้ด้วยตนเองตลอดเวลา สาํ นกั เทคโนโลยีเพือการเรียนการสอน (สทร.) เสนอวา่ ครูควรจะนําโซเซียลมีเดียใช้ในการ จดั การเรียนรู้ตามข้อเสนอแนะดงั นี (การนํา Social Media มาใช้ในการจดั การเรียนรู้, 2556) Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)
4 1. Facebook เป็นเวบ็ ไซตส์ าํ หรับให้ครูและผ้เู รียนสามารถสือสารและแลกเปลียนความ คดิ เห็นซงึ กนั ได้ โดยการตงั กลมุ่ รายวิชา เพือการสือสารและแลกเปลียนข้อมลู หรือใช้ในลกั ษณะ LMS (Learning Management Systems) ภาพที 1 ห้องเรียนโซเซียลมเี ดีย วชิ าคอมพิวเตอร์สาํ หรับครู 2. Wordpress เว็บไซต์สําเร็จรูปหรือบล๊อกการศึกษา สามารถสร้างรายวิชาเผยแพร่ บทเรียน หรือใช้เป็นแหลง่ สาํ หรับการเรียนรู้ ทบทวนบทเรียน ภาพที 2 การสร้างเนอื หาห้องเรียนโซเซียวมเี ดยี วิชาคอมพิวเตอร์สําหรบั ครู 3. Youtube เป็ นเวบ็ ไซต์ทีใช้ในการแบ่งปันวิดีโอ ครูสามารถผลิตและอบั โหลดเผยแพร่ เนือหาและแสดงความคดิ เหน็ ได้ หรือใช้ในการถ่ายทอดสดการสอนทางไกล Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)
5 ภาพที 3 ตวั อย่างการใช้ Youtube ในการเผยแพร่วดิ โี อ วิชาคอมพิวเตอร์สําหรับครู 4. Twitter เป็นสือสร้างองคค์ วามรู้ตา่ ง ๆ ของการเรียนรู้ในประเดน็ ทีสนใจสําหรับผ้เู รียน ใช้ Twitter ในการถามตอบข้อสงสยั หรือซกั ถามในประเดน็ ปัญหาทีผ้เู รียนสนใจ เป็นข้อความสนั ๆ ตอบโต้ได้รวดเร็ว ภาพที 4 ตวั อย่างการใช้ Twitter ในการประชาสมั พนั ธ์ตอบข้อซกั ถามในการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สาํ หรับครู 5. Line โปรแกรม Chat ใช้ได้บน PC และมือถือ ใช้ได้กบั ระบบปฏิบตั ิการทีเป็ นระบบ iOS, Android, มกี ิจกรรมการเรียนรู้ซึงสามารถประยกุ ต์เป็นกิจกรรมในห้องเรียน เชน่ สง่ รูปและยงั สามารถสง่ รูป Sticker ได้ จึงทําให้มีผ้ใู ช้ Application ตวั นีกนั อยา่ งแพร่หลาย Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)
6 ภาพที 5 การใช้ Line ในการตงั กล่มุ แบง่ ปันคําถาม เนือหา แจ้งขา่ วกิจกรรม วชิ าคอมพวิ เตอร์สาํ หรับครู 6. Google Apps เป็นชดุ เครืองมือเพิมประสิทธิภาพการสอนในระบบคลาวด์ทีจะช่วยให้ ผ้สู อนติดตอ่ และทํางานร่วมกนั กบั ผ้เู รียนได้จากทกุ ที ภาพที 6 การใช้ Google Apps ในการจดั ตารางเรียน กจิ กรรมการเรียนการสอน มอบหมาย ส่งงานทาง Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)
7 ภาพที 7 การใช้ Google Apps : Google Drive ในการแบ่งปันเอกสาร ส่งงาน ส่งการบ้าน ตารางที 1 การเปรียบเทยี บบทเรียนโซเซยี ลมีเดียเพือพฒั นาผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนวชิ าคอมพวิ เตอร์สาํ หรบั ครู ข้อดี ข้อด้อย ส่งเสริมความสามารถทางสติปัญญา ขาดความมนั ใจในตวั เอง ส่งเสริมความเป็ นอสิ ระในการเรียน เสียงตอ่ การชกั ชวนในทางเสือม สง่ เสริมการเกดิ กระบวนการเรียนรู้ การเข้าใจกระบวนการเรียนรู้ สง่ เสริมทกั ษะการสือสาร เสียงตอ่ การไตร่ตรองข้อมลู และแบ่งปัน ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมอภปิ รายกลุ่ม ขาดการแสดงออก ส่งเสริมการสบื ค้นข้อมลู เสียงตอ่ การละเมดิ ลิขสิทธิ ทางปัญญา สง่ เสริมการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ขาดทกั ษะความเป็ นครู สง่ เสริมทกั ษะการใช้เทคโนโลยี วจิ ารณญาณในการใช้เทคโนโลยี ไมจ่ ํากดั เวลาและสถานที ตารางที 2 บทบาทผ้สู อน ผ้เู รียน บทเรียน โซเซียลมเี ดยี เพือพฒั นาผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนวชิ าคอมพวิ เตอร์สาํ หรับครู ผ้สู อน ผ้เู รียน แอคเคาต์สําหรับล็อกอนิ เข้าระบบ สมคั รสมาชิก / ลงทะเบียน เลือกรายวชิ า เข้าสู่บทเรียน กําหนดเนือหา / จํานวนครัง ทําแบบทกสอบกอ่ นเรียน สร้างเนือหาการสอน + สือ เรียนเนือหา ใบงาน การบ้าน อ่าน / สนทนา / อภิปรายกล่มุ / เขยี น สร้างแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ ประเมนิ ผลผ้เู รียน ทําใบงาน/การบ้าน/แบบฝึ กหัด ส่งการบ้านผา่ นระบบออนไลน์ Social Media เป็นสอื การจดั การเรียนรู้ทีมีประสทิ ธิภาพ สร้างคณุ ประโยชน์ตอ่ การศึกษา เรียนรู้ จะช่วยให้ผ้เู รียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ตามความสนใจ มีความเป็ นอิสระ สามารถเลือก เรียนได้ตามความต้องการจากแหลง่ เรียนรู้โซเซียลมีเดยี (Elizabeth F. Churchill, 2012) Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)
8 จากการดาํ เนินการจดั การเรียนการสอนในรายวชิ าคอมพิวเตอร์สําหรับครู ผ้วู ิจยั ในฐานะ ผ้สู อนสรุปเป็นประเดน็ ปัญหาทีสาํ คญั ของสมั ฤทธิผลทางการศึกษาดงั นี คือ 1) ผู้สอน: ผ้สู อนใช้ การบรรยายประกอบเนือหาหน้าชันเรียน 2) ผู้เรียน: การทีผ้เู รียนมีปริมาณมากเป็ นการยากใน การควบคมุ ให้การเรียนการสอนเกิดคณุ ภาพอย่างสงู สดุ เพราะผ้สู อนจะต้องดแู ลผ้เู รียนจํานวน มากในระยะเวลาทีจํากดั ทําให้ผ้เู รียนทีมีลกั ษณะแตกตา่ งกนั ไม่สามารถเข้าถึงเนือหาสาระของ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ไ ด้ ด้ ว ย ต น เ อ ง ห า ก ไ ม่ สั ม ผั ส เ ค รื อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ์ 3) สภาพแวดล้อม: เครืองคอมพิวเตอร์มีจํานวนจํากดั ไมเ่ พียงพอและไมพ่ ร้อมทีจะใช้งาน ด้วยการตระหนักถึงความสําคญั และแนวทางการแก้ปัญหาดงั กล่าว ผ้วู ิจัยจึงได้พัฒนา บทเรียนโซเซียลมีเดยี วิชาคอมพิวเตอร์สาํ หรบั ครูเป็นสือการเรียนการสอนทีผ้เู รียนสามารถเรียนรู้ ได้ด้วยตนเองตามขนั ตอนอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ จะเรียนรู้ได้มากเพราะสามารถเข้าส่บู ทเรียนผ่าน เครือขา่ ยอนิ เทอร์เน็ตได้ตลอดเวลา จะมีความเป็นอิสระในการเรียนรู้ได้ตามสติปัญญาของตนเอง เพราะไมม่ ีการบงั คบั ตลอดจนจะช่วยพฒั นาผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนของนกั ศกึ ษาให้บรรลสุ มั ฤทธิ ผลตอ่ ไป วัตถุประสงค์การวจิ ยั 1.พฒั นาบทเรียนโซเซียลมีเดียวิชาคอมพิวเตอร์สําหรับครูให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ มาตรฐาน 85/85 2. ศกึ ษาผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนกอ่ นเรียนและหลงั เรียนของนกั ศกึ ษาทเีรียนผา่ นบทเรียนโซ เซียวมเี ดยี วชิ าคอมพิวเตอร์สําหรบั ครู 3. ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาทีเรียนด้วยบทเรียนโซเซียวมีเดียวิชาคอมพิวเตอร์ สาํ หรบั ครู กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั ตัวแปรอสิ ระ ตัวแปรตาม บทเรยี นโซเซียวมเี ดยี ประสทิ ธิภาพของบทเรียนโซเซยี ลมเี ดยี วชิ าคอมพวิ เตอรส์ าํ หรบั ครู ผลสมั ฤทธิทางการเรยี น / ความคิดเหน็ ภาพประกอบ 8 กรอบแนวคดิ การวิจยั การพฒั นาบทเรียนโซเซียลมีเดยี เพือพฒั นาผลสมั ฤทธิ วิชาคอมพิวเตอร์สาํ หรบั ครู Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)
9 วธิ ีดําเนนิ การวจิ ัย ในการวิจยั ครังนี ผ้วู จิ ยั ได้ดําเนินการวิจยั ตามขนั ตอนการพฒั นารูปแบบสือการเรียนการ สอน ADDIE Modal 5 ขนั ตอน ดงั นี 1. ขันการวเิ คราะห์ (Analysis Phase) 1.1 ศกึ ษาวเิ คราะห์ แนวคิด ทฤษฎี รูปแบบการสอน ข้อมลู จากเอกสาร หนังสือ บทความ งานวจิ ยั สมั ภาษณ์อาจารย์ประจํารายวิชา สมั ภาษณ์นกั ศกึ ษา 1.1.1 วิเคราะห์ผ้เู รียนนกั ศึกษาระดบั อดุ มศึกษาจดั ว่าเป็ นผ้เู รียนทีมีวฒุ ิภาวะในการ รับผิดชอบตัวเอง มีความกระตือรือร้ นในการแสวงหาความรู้ สามารถจะเรียนรู้ได้จากนอก ห้องเรียน ต้องการความเป็นอิสระในการเรียนและเรียนรู้ตามสตปิ ัญญาความสามารถของตน 1.1.2 วิเคราะห์ผ้สู อนพบว่า ครูอาจารย์ส่วนใหญ่สอนโดยการอธิบาย บอกจด เน้น เนือหามากกวา่ กระบวนการเรียน เพราะวา่ วิชาคอมพิวเตอร์สําหรับครู จัดเป็ นวิทยาสมยั ใหม่ทีมี การเปลยี นแปลงตลอดเวลา ครูควรสนใจศกึ ษาเทคโนโลยีและสือสมยั ใหม่เพือนําทฤษฎีไปส่กู าร ปฏิบตั ิประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีการสือสารของโซเซียลมีเดียให้เป็ นสือการเรียนการสอนทีมีคณุ ภาพ ดงั คํากล่าวของท่านประธานมหาวิทยาลยั กรุงเทพธนบุรี (ชาญชัย ชัยรุ่งเรือง, 2556) กล่าวว่า “ทันสมัย ใหม่เสอม” 1.1.3 วิเคราะห์หลกั สตู รรายวิชา (Content Analysis) เนือหาวิชาคอมพิวเตอร์ ผ้วู ิจัย สร้ างตารางวิเคราะห์เนือหาและสร้ างตารางสํารวจความต้องการพัฒนาเนือหาบทเรียนจาก นกั ศกึ ษา โดยเริมจากการศกึ ษาคําอธิบายรายวิชา ศกึ ษาจดุ มงุ่ หมายรายวิชา ศกึ ษาสงั เขปเนือหา แนวการเรียนการสอน การวดั ผลและประเมินผล และแผนการจดั การเรียนรู้ ได้เนือหาในการ พฒั นาบทเรียนโซเซียลมเี ดยี วิชาคอมพิวเตอร์สําหรบั ครู 4 หน่วยการเรียน 1.1.4 สภาพแวดล้อม คอมพิวเตอร์ในห้องเรียนร้อยละ 50 พบว่า มีปัญหาในการใช้งาน ไม่ส่งผลให้เกิดการเรียนรู้อย่างทัวถึง เช่น การได้สมั ผัสเครืองมือการเรียนรู้ โดยผ้วู ิจัยได้เข้า สงั เกตการณ์และสมั ภาษณ์ผ้เู รียนและตรวจสอบอปุ กรณ์และวดั จากคะแนนผลสมั ฤทธิ ทีมีความ แตกตา่ งกนั 1.1.5 รูปแบบการเรียนการสอน การออกแบบและพัฒนาระบบการเรียนการสอน ดาํ เนินการออกแบบตามขนั ตอน ADDIE model 1.1.6 ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยตนเอง บทเรียนโซเซียลมเี ดยี e-learning งานวิจยั ทีเกียวข้อง ผ้วู ิจยั ได้ศกึ ษาและสงั เคราะห์ข้อมลู จากเอกสารทงั ในและตา่ งประเทศ Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)
10 2. ขันการออกแบบ (Design Phase) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพืนฐานของการพฒั นาบทเรียนโซเซียลมีเดีย วิชาคอมพิวเตอร์ สําหรับครู มขี นั ตอนดงั นี 2.1 กําหนดขนั ตอน องค์ประกอบ รูปแบบบทเรียนโซเซียลมีเดีย แบบประเมินบทเรียน ออนไลน์ 2.2 กําหนดเนือหา วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ (Frowchat) ผงั บทเรียน (Storyboard) โครงสร้างการนําเสนอเนือหา กิจกรรมการเรียน การวดั และการประเมินผล แบบ ประเมินคณุ ภาพบทเรียนโซเซียลมเี ดียด้านเนือหา 2.3 นําบทเรียนโซเซียลมีเดียรายวิชาคอมพิวเตอร์สําหรับครู เสนอตอ่ ผ้เู ชียวชาญด้าน บทเรียนโซเซียลมีเดีย จํานวน 5 ทา่ น พิจารณาความเหมาะสมของบทเรียนโซเซียลมีเดีย โดยใช้ แบบประเมินบทเรียนโซเซียลมีเดีย หลงั จากนนั ปรบั ปรุง 2.4 นําบทเรียนโซเซียลมีเดีย รายวิชาคอมพิวเตอร์สําหรับครู เสนอต่อผ้เู ชียวชาญด้าน เนือหา พิจารณาความสอดคล้องของเนือหา โดยใช้แบบประเมินบทเรียนออนไลน์ด้านเนือหา วิเคราะห์ความสอดคล้อง IOC เกณฑ์การยอมรับ 0.50 เป็ นต้นไป ได้คะแนน IOC โดยรวมมี คา่ เฉลียเท่ากบั 4.28 เสนอตอ่ ผ้เู ชียวชาญด้านบทเรียนโซเซียลมีเดีย โดยใช้แบบประเมินคณุ ภาพ แบบประมาณคา่ 5 ระดบั เกณฑ์การยอมรับ 3.50-5.00 ได้คะแนนโดยรวมมีคา่ เฉลียเทา่ กบั 4.10 ภาพประกอบ 7 บทเรียนโซเซียลมเี ดยี วิชาคอมพิวเตอร์สาํ หรบั ครู 3 ขนั การพฒั นา (Development) 3.1 นําบทเรียนโซเซียลมีเดีย วิชาคอมพิวเตอร์สําหรับครู ทีผ่านการพิจารณาจาก ผ้เู ชียวชาญด้านการพฒั นารูปแบบการเรียนการสอน มาดาํ เนินการพฒั นาด้วยสือโซเซียลมีเดียทงั Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)
11 5 ตัว เสนอต่อผู้เชียวชาญด้านการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน 5 ท่าน พิจารณาความ สอดคล้องและความเหมาะสมของรูปแบบ (เกณฑ์การยอมรบั ทีระดบั 0.50 ขนึ ไป) 3.2 นําบทเรียนโซเซียลมีเดีย วิชาคอมพิวเตอร์สําหรับครูทีผ่านการพิจารณาจาก ผ้เู ชียวชาญด้านเนือหาและผ้เู ชียวชาญด้านบทเรียนโซเซียลมีเดีย มาดําเนินการพฒั นา และเสนอ ตอ่ ผ้เู ชียวชาญด้านเนือหา 5 ท่าน พิจารณาคณุ ภาพความเทียงตรงของเนือหา โดยใช้แบบประเมิน คณุ ภาพบทเรียน IOC (เกณฑ์การยอมรับทีระดบั 0.50 ขนึ ไป) หลงั จากนันปรับปรุงแก้ไข แล้ว เสนอผ้เู ชียวชาญด้านบทเรียนโซเซียลมีเดีย 5 ท่าน แล้วพิจารณาคณุ ภาพบทเรียนโซเซียลมีเดีย โดยใช้แบบประเมินคณุ ภาพแบบประมาณค่า 5 ระดับ (เกณฑ์การยอมรับทีระดับ 3.50-5.00) หลงั จากนนั ปรับปรุงแก้ไข 3.3 นําบทเรียนออนไลน์ทีผา่ นการแก้ไขปรบั ปรุงแล้ว ขนึ สเู่ ครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ Server ตาม URL ทีกําหนด (Up Load to Server) เพือแสดงผลจริงผา่ น www.educ-bkkthon.com ทํา การล๊อกอนิ 3.4 การทดสอบหาประสทิ ธิภาพ นําบทเรียนโซเซียลมเี ดียวิชาคอมพิวเตอร์สาํ หรับครู ไปทดลองกบั เป็ นนกั ศกึ ษากลมุ่ ตวั อยา่ ง ได้แก่ นกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรีชนั ปี ที 1 มหาวิทยาลยั กรุงเทพธนบรุ ี ทีลงทะเบียนเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สําหรับครู ภาคเรียนที 1 ปี การศกึ ษา 2556 จํานวน 90 คน จาก 2 ห้องเรียน แบ่ง ออกเป็น 3 ขนั ตอน ขนั ตอนที 1 กลมุ่ ตวั อย่างทีใช้ในการหาประสิทธิภาพครังที 1 เป็ นนักศกึ ษาชนั ปี ที 1 มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพธนบรุ ี จํานวน 3 คน โดยสงั เกตพฤติกรรมขณะเรียน พร้อมสมั ภาษณ์ความ คิดเห็น จากนนั นํามาปรับปรุงแก้ไข ขนั ตอนที 2 กลมุ่ ตวั อย่างทีใช้ในการหาประสิทธิภาพครังที 2 เป็ นนกั ศึกษาชนั ปี ที 1 มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพธนบรุ ี จํานวน 9 คน ระหว่างเรียนให้ทําแบบทดสอบระหวา่ งเรียน (E1) เมือ เรียนครบเนือหาให้ทําแบบทดสอบหลงั เรียน (E2) โดยสงั เกตพฤตกิ รรมขณะเรียน พร้อมสมั ภาษณ์ ความคดิ เห็นจากนนั นํามาปรบั ปรุงแก้ไข ขนั ตอนที 3 กล่มุ ตวั อย่างทีใช้ในการหาประสิทธิภาพครังที 3 เป็ นนักศึกษาชันปี ที 1 มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพธนบรุ ี จํานวน 30 คน ระหวา่ งเรียนให้ทําแบบทดสอบระหวา่ งเรียน (E1) เมือ เรียนครบเนือหาให้ทําแบบทดสอบหลงั เรียน (E2) เพือหาประสิทธิภาพของรูปแบบบทเรียนโซเซียล มเี ดยี วิชาคอมพิวเตอร์สาํ หรบั ครูทีสร้างขนึ ให้ได้ตามเกณฑ์การหาประสทิ ธิภาพ 85/85 นําคะแนน มาหาประสทิ ธิภาพ E1/E2 Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)
12 4. ขนั การทดลอง นําบทเรียนโซเซียลมเี ดียวชิ าคอมพิวเตอร์สาํ หรับครู ไปทดลองกบั นกั ศกึ ษากลมุ่ ตวั อย่าง โดยมีขนั ตอนดงั นี 4.1 ปฐมนิเทศนกั ศกึ ษากล่มุ ตวั อย่าง จํานวน 90 คน ชีแจง แนะนําการใช้ วิธีการเรียน ตามขนั ตอนแจกเอกสารคมู่ อื การใช้บทเรียน -ให้ นักศึกษาเข้าสู่เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เข้าสู่เว็บไซต์ www.educ-bkkthon.com ลงทะเบียนเรียน (User) กรอกรหสั นกั ศกึ ษา ใสร่ หสั ผา่ นเข้าสบู่ ทเรียน (Password) ดําเนินการ เรียนการสอนผา่ นบทเรียนโซเซียลมเี ดีย ตามขนั ตอน 4.2 ทําการทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-test) 30 ข้อ โดยใช้แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ ทางการ เรียนผา่ นบทเรียนโซเซียลมีเดีย วิชาคอมพิวเตอร์สาํ หรบั ครูทีผ้วู จิ ยั สร้างขนึ 4.3 ดาํ เนินกิจกรรมการเรียนการสอนผา่ นบทเรียนโซเซียลมีเดยี วชิ าคอมพิวเตอร์สาํ หรับ ครู ตามขนั ตอน 4.4 เมือนกั ศกึ ษาเรียนครบทัง 4 หน่วยการเรียนแล้ว ภายใน 6 สปั ดาห์ จะมีการทํา แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนหลงั เรียน(Post-test 30 ข้อ) 4.5 ให้ผ้เู รียนประเมนิ ความคิดเห็นผา่ นบทเรียนโซเซียลมีเดีย โดยแบบศกึ ษาความคิด เหน็ ผา่ นบทเรียนโซเซียลมีเดยี ก่อนแสดงผลการเรียนให้นกั ศกึ ษาทราบ 5. ขนั การประเมนิ ผล นําข้อมลู ทีได้จากการดําเนินการวิจยั มาวเิ คราะห์ ได้แก่ 5.1 การประเมนิ คณุ ภาพ บทเรียนโซเซียลมีเดีย รายวิชาคอมพิวเตอร์สําหรับครู โดยใช้ ค่าดชั นีความสอดคล้อง (IOC) เป็ นการให้คะแนนแบบประเมินคณุ ภาพ บทเรียนออนไลน์ของ ผ้เู ชียวชาญด้านการพฒั นารูปแบบการเรียนการสอน แล้วหาคา่ เฉลยี และสว่ นเบียงเบน เกณฑ์ใน การยอมรับตงั แต่ 0.50 ขนึ ไป 5.2 การหาประสิทธิภาพของบทเรียนโซเซียลมีเดีย รายวิชาคอมพิวเตอร์สําหรับครู คือ คะแนนผลสมั ฤทธิ ก่อนเรียนและหลงั เรียนของนักศึกษากล่มุ ตวั อย่าง จํานวน50 คน ทีเรียนผา่ น บทเรียนโซเซียลมีเดียวิชาคอมพิวเตอร์สําหรับครูโดยใช้สตู ร E1/E2 มีคา่ เท่ากบั 85/85 เป็ นไปตาม เกณฑ์มาตรฐาน 5.3 นําคะแนนจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ทางการเรียน ได้ แก่ คะแนนทํา แบบทดสอบก่อนเรียน (p-test) และหลงั เรียน (post-test) ของนกั ศึกษากล่มุ ตวั อย่างทีเรียนผ่าน บทเรียนโซเซียลมีเดียวิชาคอมพิวเตอร์สําหรับครู ทัง 6 สปั ดาห์ มาวิเคราะห์โดยวิธีการทางสถิติ Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)
13 เพือเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ ทางการเรียน โดยวิเคราะห์หาคา่ เฉลียและสว่ นเบียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และคา่ t-test dependent (เสาวณีย์ สิกขาบัณฑิต. 2528: 294-295; หนมู ้วน ร่มแก้ว. 2551: 76-79) ผลการวจิ ัย 1. ผลการพัฒนาและหาประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 85/85 จากการทดลอง กบั นกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี มปี ระสิทธิภาพ 85/85 2. ผลการศึกษาผลสัมฤทธิทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน มีผลสัมฤทธิ ทางการเรียน (85.03) สงู กวา่ ก่อนการทดลอง (85.00) อย่างมีนยั สําคญั ทางสถิติทีระดบั .05 3. ผลการศึกษาความคดิ เหน็ ด้านความพร้อมสาํ หรับการใช้งาน และด้านกิจกรรมการ เรียนการสอน อย่ใู นระดบั มาก สรุปและอภปิ รายผล จากการวจิ ยั เรือง การพฒั นาบทเรียนโซเซียลมีเดียเพือพัฒนาผลสมั ฤทธิ ทางการเรียน วชิ าคอมพิวเตอร์สําหรับครู มีประเดน็ ทีนํามาอภปิ ราย 3ประเดน็ คือ 1) การพฒั นาบทเรียนโซเซียล มเี ดยี รายวิชาคอมพิวเตอร์สําหรับครู 2) การศกึ ษาผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนกอ่ นเรียนและหลงั เรียน 3) การศกึ ษาความคดิ เหน็ ของนกั ศกึ ษาทีเรียนด้วยบทเรียนโซเซียลมีเดีย แบ่งออกเป็ น 3 ขนั ตอน ดงั นี 1. การพฒั นาบทเรียนโซเซียลมีเดียวิชาคอมพิวเตอร์สําหรับครู ผ้วู ิจยั ได้พฒั นาขึนโดย การศกึ ษาจากรูปแบบของเคมพ์ (Kemp. 1985: 11) ดําเนินการออกแบบตามขนั ตอนของรูปแบบ การพฒั นาสือการเรียนการสอน ADDIE model โดยเริมจากการ วิเคราะห์ (Analyze), ออกแบบ (Design),พัฒนา (Develop),นําไปใช้ (Implement), ขนั การประเมินผล (Evaluation), หลงั จาก นนั นําบทเรียนโซเซียลมีเดียวิชาคอมพิวเตอร์สําหรับครูทีพัฒนาขึนเสนอตอ่ ผ้เู ชียวชาญด้านการ พฒั นารูปแบบการเรียนการสอน 5 ทา่ น ทําการประเมินความเหมาะสมและความ ผลการประเมินจากผ้เู ชียวชาญด้านการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน มีความ สอดคล้องและเหมาะสมทุกขันตอนและองค์ประกอบ ทังนีเนืองจากรูปแบบดังกล่าวได้ผ่าน กระบวนการออกแบบอย่างเป็ นระบบตามกระบวนวิจัยและพัฒนา และผ่านการประเมินจาก ผ้เู ชียวชาญด้านการพฒั นารูปแบบการเรียนการสอนซึงสอดคล้องกับผลการวิจัยของ รัฐกรณ์ คิด การ (2551: 133) ได้ศกึ ษาวิจยั เรือง การพฒั นารูปแบบการสอนบนเวบ็ โดยใช้กลยุทธ์การจดั การ ความรู้ รายวิชาเทคโนโลยีการศกึ ษา ในระดบั อดุ มศกึ ษา กลา่ ววา่ การพฒั นารูปแบบมงุ่ เสริมสร้าง ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง และคาร์เร (รัฐกรณ์ คิดการ. 2551: 80; อ้างอิงจาก Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)
14 Carre.1994) กลา่ ววา่ รูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง จะมสี ว่ นประกอบทีสําคญั คือ เปิ ดโอกาสให้ ผ้เู รียนได้ดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยตนเอง และซามวั แพพเพิร์ท (วิวฒั น์ มีสวุ รรณ. 2551: 39; อ้างอิงจาก SeymeurPapert) กลา่ ววา่ รูปแบบการเรียนรู้ทีดที ีสดุ เมือผ้เู รียนได้ลงมือทํา หรือได้ตดั สนิ ใจเองวา่ จะทําอะไร เมือไหร่และอย่างไร ดงั นนั รูปแบบบทเรียนออนไลน์ทีพฒั นาขึน จงึ มีความเหมาะสมทีจะนําไปเป็นรูปแบบบทเรียนโซเซียลมเี ดยี วิชาคอมพิวเตอร์สาํ หรบั ครู 2. การพัฒนาและหาประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 85/85 ในครังนี E1/E2 มีค่า เท่ากบั โดยมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 85/85 ทังนีเพราะว่าบทเรียนดงั กล่าวได้ผา่ น กระบวนการวิจยั อยา่ งเป็นระบบตามขนั ตอนการพฒั นาสอื การเรียนการสอน ADDIE model และ ผ่านการประเมินจากผ้เู ชียวชาญด้านเนือหาและผ้เู ชียวชาญด้านบทเรียนโซเซียลมีเดียทําการ ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะทังในส่วนของเนือหาและเทคนิคการนําเสนอของบทเรียนออนไลน์ รวมทงั ทดลองใช้และปรบั ปรุงแก้ไข ผลการประเมินจากผ้เู ชียวชาญด้านเนือหาพบวา่ โดยรวมมีเฉลียเท่ากับ 4.28 ค่าส่วน เบียงเบนมาตรฐานเทา่ กนั 0.12 และมรี ะดบั คณุ ภาพอย่ใู นระดบั ดี มรี ะดบั คณุ ภาพ เหมาะสม ผล การประเมนิ จากผ้เู ชียวชาญด้านบทเรียนโซเซียลมีเดียบทเรียนโซเซียลมีเดียรายวิชาคอมพิวเตอร์ สําหรบั ครูโดยรวมมคี า่ เฉลียเทา่ กบั 4.10 คา่ สว่ นเบียงมาตรฐานเท่ากนั 0.27 เกณฑ์อย่ใู นระดบั ดี นําไปทดลองหาประสิทธิภาพ 3 ครัง กับนักศึกษากล่มุ ตัวอย่าง 50 คน ครังที 1 ทดลองกับ นกั ศกึ ษา 3 คน โดยการสงั เกตสมั ภาษณ์เพือตรวจสอบและแก้ไข ครังที 2 ทดลองกับนักศึกษา 9 คน ให้นกั ศกึ ษาทําแบบทดสอบระหวา่ งเรียนและหลงั เรียนและสมั ภาษณ์เพือหาแนวโน้มและแก้ไข ครังที 3 โดยทดลองกับนกั ศกึ ษากล่มุ ตวั อย่าง 30 คน เพือหาประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 85/85 ผลการหาประสิทธิภาพบทเรียนโซเซียลมีเดียวิชาคอมพิวเตอร์สําหรับครูมีประสิทธิภาพ เท่ากับ 85.51/85.95 E1/E2 = 85.51 / 85.95 สงู กว่าเกณฑ์ทีกําหนด แสดงว่า บทเรียนโซเซียล มีเดียวิชาคอมพิวเตอร์สําหรับครูสามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ ของนักศึกษาได้ ซึงสอดคล้องกับ ผลการวจิ ยั โสภณวิชญ์ อินแล้ว (2556) กล่าวว่า การใช้สือสงั คมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ สามารถพัฒนาผลสมั ฤทธิ ของผ้เู รียนได้เป็ นอย่างดีและจิรวฒั น์ กิตติพิเชษสรรค์ (2556) กล่าวเสริมว่า บทเรียนโซเซียลมีเดียนอกจากจะมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐานแล้ว ยัง สง่ เสริมการเรียนรู้ให้ผ้เู รียน มคี วามรับผดิ ชอบ เหมาะสมทีจะนําไปใช้ในจดั การศกึ ษาเพือให้ผ้เู รียน ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง สอดคล้องกับ พรเทพ เมืองแมน (2556) กลา่ วว่า การเรียนรู้ผ่านบทเรียน โซเซียลมีเดยี เป็นการเรียนด้วยความสมคั รใจ ผ้เู รียนจะมีความเป็ นอิสระในการเรียนด้วยตนเอง ผ้เู รียนจะสามารถทบทวนเนือหาได้ตลอดเวลาและผ้เู รียนสามารถเลือกเนือหาก่อนหลงั ได้ตาม Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)
15 ความต้องการ ดงั นนั ด้วยเหตผุ ลทีกลา่ วมา จึงสง่ ผลให้ผ้เู รียนมีผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนตามเกณฑ์ มาตรฐาน 85/85 3. การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนก่อนเรียนและหลงั เรียนพบว่าผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนกอ่ นเรียน (60.03) หลงั เรียน (85.16) แสดงวา่ หลงั การเรียนสงู กวา่ ก่อนเรียน อย่างมี นยั สาํ คญั ทางสถิตทิ ีระดบั .05 แสดงให้เหน็ วา่ บทเรียนโซเซียลมีเดียวิชาคอมพิวเตอร์สําหรับครูที ผ้วู จิ ยั พฒั นาขนึ ร่วมกบั กลมุ่ เครืองมอื โซเซียลมีเดีย สามารถใช้เป็นเครืองมือช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ด้วยตนเองได้เป็ นอย่างดีและเหมาะสมการการเรียนในระดับปริญญาตรี เพราะการเรียนผ่าน บทเรียนออนไลน์จะชว่ ยให้นกั ศกึ ษาสามารถทบทวนเนือหาได้ตามความต้องการ ซงึ สอดคล้องกบั (พีรพงศ์ ทิพนาค. 2556) กลา่ ววา่ ผ้เู รียนจะมีโอกาสได้ทบทวนเนือหาได้ด้วยตนเอง โดยไมต่ ้องเข้า ชันเรียนตามปกติ ซึงนกั ศึกษาสามารถเรียนรู้เนือหาตามขนั ตอนและวิธีการเรียนตามรูปแบบที พฒั นาขนึ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึงวดั ได้จากคะแนนแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ ทางการเรียน ผลการวิจัยพบว่า บทเรียนโซเซียลมีเดีย เพือพัฒนาผลสัมฤทธิ ทางการเรียนวิชา คอมพิวเตอร์สําหรบั ครู มีประเดน็ ทีนา่ สนใจดงั นี 1. ประโยชน์ กล่าวคือ จะช่วยให้ผ้เู รียนมีปฏิสมั พนั ธ์ มีโอกาสคิดหาเหตผุ ล ไตร่ตรอง ก่อนตอบ เชน่ การร่วมอภิปรายกบั ครูหรือผ้เู รียนในห้องเรียน 2. ประหยดั กลา่ วคอื นกั ศกึ ษาเรียนรู้ได้จํานวนมาก ประหยดั คา่ ใช้จา่ ย ไมต่ ้องเสียเวลา ในการเดินทาง ลดปริมาณการใช้กระดาษ ลดภาวะโลกร้อน 3. ประสิทธิภาพ กลา่ วคือ มีความหลากหลายของสือมลั ติมีเดีย เช่น ข้อความ ภาพ เสยี ง วิดโี อ การสนทนาแลกเปลียนข้อมลู การแบ่งปันเนือหา มีแบบฝึ กหัดและแบบทดสอบก่อน เรียนและหลงั เรียน บนั ทกึ ผลการเรียน ตดิ ตามการเข้าใช้ กลา่ วคอื ความถีในการเรียน ตรวจสอบ ประเมินผล ความก้าวหน้าในการเรียน 4. ผ้เู รียน เกิดความรับผิดชอบในตนเอง เกิดทกั ษะในการค้นคว้า เพราะผ้เู รียนต้องทํา หน้าทีสาํ คญั ในการเปลียนสารสนเทศทีผ้สู อนเตรียมไว้ให้ ซึงจากการวิจัยพบว่า ผ้เู รียนทีเรียนรู้ ด้วยตนเอง มกั เป็ นผ้เู รียนทีมีผลการเรียนสงู มีความสําพันธ์กันระหวา่ งคะแนนผลสัมฤทธิ กับ ความถีในการเข้าเรียน 5. ผ้สู อน เปลียนบทบาทหน้าทีจากการเป็นผ้ใู ห้เนือหาอย่างเดียว เป็นผ้จู ดั การการเรียน การสอน ด้านเนือหา ด้านวธิ ีการเรียน และเปลยี นแปลงจากการสอนเป็นการสร้างเนือหาสาระผา่ น บทเรียนโซเซียลมเี ดียและสามารถแก้ไขปรบั ปรุงได้ตลอดเวลา มาเป็นผ้ชู ่วยเหลอื และแนะนํา และ Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)
16 ควรมคี วามพร้อมทางด้านทกั ษะการใช้เทคโนโลยี ทกั ษะด้านการใช้ภาษาซึงจะเป็นประโยชน์และ มคี ณุ คา่ ยิงตอ่ การศกึ ษา ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะทัวไป บทเรียนโซเซียลมีเดีย วิชาคอมพิวเตอร์สําหรับครู ได้ข้อค้นพบทีจะนําเสนอเพือกําหนด นโยบายนําไปสู่การปฏิรูปการศกึ ษา มหาวิทยาลยั นําผลการวิจัยไปเป็ นข้อมูลในการกําหนด นโยบายการจดั การเรียนการสอน สรุปเป็นประเดน็ ได้ดงั นี 1.1 บทเรียนโซเซียลมีเดีย วิชาคอมพิวเตอร์สําหรับครู เป็ นสือการสอนอิเล็กทรอนิกส์ที พฒั นาขนึ จากโปรแกรมประยกุ ตเ์ ป็นการนําเทคโนโลยีโซเซียลมีเดียมาจดั การเรียนการสอน การ พัฒนาบทเรียนโซเซียลมีเดียให้ มีประสิทธิภาพนัน ต้องผ่านการประเมินประสิทธิภาพจาก ผ้เู ชียวชาญ 1.2 ด้านผ้สู อน ครูผ้สู อนต้องมีทกั ษะในการสอนและทักษะในการใช้เทคโนโลยี มีการ แก้ไขเนือหาให้มีความถกู ต้อง ทนั สมยั การเลือกใช้สือ การผลิตสือการเรียนการสอน การพฒั นา เนือหาต้องได้รับความร่วมมือจากผ้เู ชียวชาญประจํารายวิชา 1.3 ด้านผ้เู รียน ผ้เู รียนมีความกระตือรือร้ นต่อการเรียนผ่านบทเรียนโซเซียลมีเดียใน ระดบั สงู สามารถมปี ฏิสมั พนั ธ์กับผ้สู อนได้ผา่ นหน้าจออปุ กรณ์สือสารทีมีช่องทางในการค้นคว้า ข้อมลู ประกอบการเรียนและการทํารายงานจากทางอินเทอร์เน็ตมากกว่าค้นคว้าจากห้องสมดุ สามารถเรียนรู้ตามสติปัญญาของผ้เู รียนและแก้ปัญหาเรืองความแตกต่างระหว่างผ้เู รียน เพราะ ผ้เู รียนจะสามารถเข้าสบู่ ทเรียนได้ตามความต้องการ เช่น การเข้าไปเรียนเพือทบทวนบทเรียนได้ ด้วยตนเอง 1.4 ด้านผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนนักศึกษามีผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนหลงั เรียนสงู กวา่ กอ่ นเรียนซงึ วดั ได้จากคะแนนผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนหลงั เรียน 1.5 ด้านคณุ ภาพ ลดปริมาณการใช้ทรัพยากรบคุ คล งบประมาณ อาคารสถานทีและ ปริมาณการใช้สอื สงิ พิมพ์ทีผลติ จากกระดาษอนั จะสง่ ผลให้ชว่ ยลดภาวะโลกร้อน ลดข้อจํากดั ด้าน เวลาและสถานทีในการเรียนรู้ 2. ข้อเสนอแนะในการนาํ ผลการวจิ ยั ไปใช้ 2.1 ควรมีการนํารูปแบบบทเรียนโซเซียลมีเดีย วิชาคอมพิวเตอร์สําหรับครู ไปใช้ในการ จดั การเรียนการสอนในรายวชิ าการศกึ ษาทวั ไป (GE) เพราะเป็ นรายวิชาทีมีนักศกึ ษาลงทะเบียน เรียนเป็นจํานวนมาก เพือช่วยแก้ไขการขาดแคลนบคุ ลากร Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)
17 2.2 จากผลการวิจัยพบวา่ รูปแบบบทเรียนโซเซียลมีเดีย วิชาคอมพิวเตอร์สําหรับครู สามารถพฒั นาผลสมั ฤทธิ ทางการเรียนได้ในระดบั ดีแสดงให้เหน็ วา่ เป็นรูปแบบการเรียนการสอนที สามารถนําไปใช้ในการเรียนการสอนได้จริง 3. ข้อเสนอแนะในการทาํ วจิ ยั ครังต่อไป 3.1 ควรมีการศกึ ษาการนํารูปแบบบทเรียนโซเซียลมเี ดีย รายวชิ าคอมพิวเตอร์สําหรับครู ไปใช้ในรายวิชาอืนหรือในหลกั สตู รรายวิชาทีมีลกั ษณะการสอนในฝึ กทักษะการปฏิบัติด้านด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ เพราะจะเน้นให้ผ้เู รียนได้ทําความเข้าใจเนือหาสาระด้วยการเรียนรู้ด้วย ตนเอง 3.2 ควรมีการศกึ ษาเชิงลกึ ตามขนั ตอนและวิธีการเรียนด้วยบทเรียนโซเซียลมีเดียวิชา คอมพิวเตอร์สําหรบั ครู ด้านตา่ ง ๆ อาทิ ด้านการมีปฏิสัมพันธ์ ด้านความสนใจในการเรียน หรือด้านความรับผดิ ชอบในการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านบทเรียนโซเซียลมีเดีย เช่น การ ตรวจสอบการเข้าใช้บทเรียน เวลา ความถี จํานวนครังต่อหน่วยการเรียน หรือการสร้างเครืองมือ วเิ คราะห์พฤตกิ รรมผ้เู รียน แล้วหาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งพฤติกรรมการเข้าใช้บทเรียนกบั ผลสมั ฤทธิ ทางการเรียน 3.3 ควรมกี ารพฒั นารูปแบบบทเรียนโซเซียลมีเดีย ในลกั ษณะการฝึ กอบรม (Training) ลกั ษณะการฝึ กอบรมทางด้านภาษา (English Language Training) และลกั ษณะการฝึ กอบรม เพือฝึกทกั ษะการปฏบิ ตั ิงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ อาทิ การเป็นเวบ็ มาสเตอร์ Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)
18 บรรณานกุ รม กฤษมนั ต์ วฒั นาณรงค.์ นวตั กรรมและเทคโนโลยเี ทคนิคศกึ ษา.กรุงเทพมหานคร: มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2554. ณฐั พล บวั อะไร. การจัดการเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเอง (Constructivism) สาํ หรับนกั เรียนชนั มธั ยมศกึ ษาปี ที 4 โรงเรียนเตรียม อดุ มศกึ ษาพฒั นาการ ลําลกู กา จงั หวดั ปทมุ ธานี. (2554) ถนอมพร เลาหจรัสแสง. Designing e-learning หลักสูตรการออกแบบสร้างเวบ็ เพือการเรียน การสอน. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลยั เชียงใหม,่ 2545. วจิ ารณ์ พาณชิ . วถิ ีสร้างการเรียนรู้เพอื ศษิ ย์ในศตวรรษที 21. กรุงเทพฯ มลิ นิธิสดศรี-ยฤษดิ วงศ์, 2555. พรเทพ เมอื งแมน. หลักการออกแบบและสร้างบทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนด้วย โปรแกรม Authorware 5. ปัตตานี : มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์. 2544. วรวทิ ย์ นิเทศศลิ ป์ . สือและนวตั กรรมแห่งการเรียนรู้. ปทมุ ธานี : สกายป๊ กุ ส,์ 2551. โสภณวิชญ์ อินแล้ว. การใช้สือสังคมออนไลน์ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU). Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: