Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทักษะการเรียนรู้ ทร31001

ทักษะการเรียนรู้ ทร31001

Published by nfe671529, 2020-06-17 03:11:47

Description: ทักษะการเรียนรู้ ทร31001

Search

Read the Text Version

หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการเรียนรู้ รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู้ (ทร31001) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ฉบับปรับปรุง 2560) หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ห้ามจาหน่าย หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พิมพด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน ลิขสิทธ์ิ เป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาดบั ท่ี 34/2555

หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการเรียนรู้ รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู้ (ทร31001) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ฉบบั ปรับปรุง 2560) ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาดบั ท่ี 34 /2555

สารบญั หน้า คานา 1 สารบญั 61 คาแนะนาการใช้แบบเรียน 126 โครงสร้างรายวชิ าทกั ษะการเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 172 222 บทท่ี 1 การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง 240 บทที่ 2 การใชแ้ หล่งเรียนรู้ บทท่ี 3 การจดั การความรู้ บทที่ 4 การคิดเป็ น บทที่ 5 การวจิ ยั อยา่ งง่าย บทที่ 6 ทกั ษะการเรียนรู้และศกั ยภาพหลกั ของพ้ืนที่ในการพฒั นาอาชีพ

คานา กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 เม่ือวนั ที่ 18 กนั ยายน พ.ศ. 2551 แทนหลกั เกณฑ์และวิธีการจดั การศึกษานอกโรงเรียน ตามหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2544 ซ่ึงเป็ นหลกั สูตรที่พฒั นาข้ึนตามหลกั ปรัชญาและ ความเชื่อพ้ืนฐานในการจดั การศึกษานอกโรงเรียนที่มีกลุ่มเป้ าหมายเป็ นผใู้ หญ่มีการเรียนรู้และสั่งสมความรู้ และประสบการณ์อยา่ งต่อเนื่อง ในปี งบประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดก้ าหนดแผนยทุ ธศาสตร์ในการขบั เคล่ือนนโยบาย ทางการศึกษาเพื่อเพ่ิมศกั ยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขนั ให้ประชาชนไดม้ ีอาชีพที่สามารถสร้าง รายได้ท่ีมัง่ คั่งและมั่นคง เป็ นบุคลากรท่ีมีวินัย เป่ี ยมไปด้วยคุณธรรมและจริยธรรม และมีจิตสานึก รับผิดชอบต่อตนเองและผอู้ ื่น สานกั งาน กศน. จึงไดพ้ ิจารณาทบทวนหลกั การ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการ เรียนรู้ ที่คาดหวงั และเน้ือหาสาระ ท้งั 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ของหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ให้มีความสอดคล้องตอบสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงส่งผลให้ตอ้ งปรับปรุงหนงั สือเรียน โดยการเพ่ิมและสอดแทรกเน้ือหาสาระเกี่ยวกบั อาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพร้อม เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในรายวิชาท่ีมีความเก่ียวขอ้ งสัมพนั ธ์กัน แต่ยงั คงหลกั การและวิธีการเดิมในการพฒั นาหนังสือที่ให้ผูเ้ รียนศึกษาคน้ ควา้ ความรู้ดว้ ยตนเอง ปฏิบตั ิ กิจกรรม ทาแบบฝึ กหดั เพื่อทดสอบความรู้ความเขา้ ใจ มีการอภิปรายแลกเปล่ียนเรียนรู้กบั กลุ่ม หรือศึกษา เพิม่ เติมจากภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน แหล่งการเรียนรู้และส่ืออื่น การปรับปรุงหนงั สือเรียนในคร้ังน้ี ไดร้ ับความร่วมมืออยา่ งดียิ่งจากผทู้ รงคุณวุฒิในแต่ละสาขาวิชา และผเู้ กี่ยวขอ้ งในการจดั การเรียนการสอนท่ีศึกษาคน้ ควา้ รวบรวมขอ้ มูลองคค์ วามรู้จากสื่อต่าง ๆ มาเรียบ เรียงเน้ือหาให้ครบถ้วนสอดคล้องกบั มาตรฐาน ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวงั ตวั ช้ีวดั และกรอบเน้ือหาสาระ ของรายวิชา สานกั งาน กศน. ขอขอบคุณผมู้ ีส่วนเกี่ยวขอ้ งทุกท่านไว้ ณ โอกาสน้ี และหวงั วา่ หนงั สือเรียน ชุดน้ีจะเป็ นประโยชน์แก่ผูเ้ รียน ครู ผูส้ อน และผูเ้ ก่ียวขอ้ งในทุกระดบั หากมีข้อเสนอแนะประการใด สานกั งาน กศน. ขอนอ้ มรับดว้ ยความขอบคุณยงิ่

คาแนะนาการใช้หนังสือเรียน หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการเรียนรู้ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย เป็ นแบบเรียนที่จดั ทาข้ึนสาหรับ ผเู้ รียนท่ีเป็นนกั ศึกษานอกระบบ ในการศึกษาหนงั สือเรียนสาระทกั ษะการเรียนรู้ ผเู้ รียนควรปฏิบตั ิ ดงั น้ี 1. ศึกษาโครงสร้างรายวชิ าใหเ้ ขา้ ใจในสาระสาคญั ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวงั และขอบขา่ ยเน้ือหา 2. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาของแต่ละบทอยา่ งละเอียด และทากิจกรรมตามที่กาหนด แลว้ ตรวจสอบ กบั แนวตอบกิจกรรมที่กาหนด ถา้ ผเู้ รียนตอบผดิ ควรกลบั ไปศึกษาและทาความเขา้ ใจในเน้ือหาใหม่ให้เขา้ ใจ ก่อนท่ีจะศึกษาเรื่องต่อไป 3. ปฏิบตั ิกิจกรรมทา้ ยเรื่องของแต่ละเร่ืองเพ่ือเป็ นการสรุปความรู้ความเขา้ ใจของเน้ือหาในเรื่องน้นั ๆ อีกคร้ัง และการปฏิบตั ิกิจกรรมของเน้ือหาแตล่ ะเรื่อง ผเู้ รียนสามารถนาไปตรวจสอบกบั ครูและเพื่อน ๆ ท่ี ร่วมเรียนในรายวชิ าและระดบั เดียวกนั ได้ 4. แบบเรียนน้ีมี 6 บท คือ บทที่ 1 การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง บทท่ี 2 การใชแ้ หล่งเรียนรู้ บทท่ี 3 การจดั การความรู้ บทท่ี 4 การคิดเป็น บทท่ี 5 การวจิ ยั อยา่ งง่าย บทท่ี 6 ทกั ษะการเรียนรู้และศกั ยภาพหลกั ของพ้นื ที่ในการพฒั นาอาชีพ

โครงสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเอง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาระสาคญั รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู้ มีเน้ือหาเก่ียวกบั การพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ของนกั เรียนในดา้ นการเรียนรู้ ดว้ ยตนเอง การใชแ้ หล่งเรียนรู้ การจดั การความรู้ การคิดเป็นและการวจิ ยั อยา่ งง่าย โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือให้ ผเู้ รียนสามารถกาหนดเป้ าหมาย วางแผนการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เขา้ ถึงและเลือกใชแ้ หล่งเรียนรู้จดั การความรู้ กระบวนการแกป้ ัญหาและตดั สินใจอย่างมีเหตุผล ที่จะสามารถใชเ้ ป็ นเคร่ืองมือช้ีนาตนเอง ในการเรียนรู้ และการประกอบอาชีพใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั การพ้ืนฐาน และการพฒั นา 5 ศกั ยภาพหลกั ของพ้ืนท่ีใน 5 กลุ่ม อาชีพใหม่ คือ กลุ่มอาชีพดา้ นการเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การบริหาร จดั การและการบริการ ตามยทุ ธศาสตร์ 2555 กระทรวงศึกษาธิการ ไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดชีวติ ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงั บทท่ี 1 การเรียนรู้ด้วยตนเอง 1. ประมวลความรู้ และสรุปเป็นสารสนเทศ 2. ทางานบนฐานขอ้ มูลดว้ ยการแสวงหาความรู้จนเป็นลกั ษณะนิสยั 3. มีความชานาญในทกั ษะการอา่ น ทกั ษะการฟัง ทกั ษะการสงั เกต และทกั ษะการ จดบนั ทึกอยา่ งคล่องแคล่ว รวดเร็ว บทท่ี 2 การใช้แหล่งเรียนรู้ 1. ผเู้ รียนมีความรู้ความเขา้ ใจ เห็นความสาคญั ของแหล่งเรียนรู้ 2. ผเู้ รียนสามารถใชแ้ หล่งเรียนรู้ ห้องสมุดประชาชนได้ บทท่ี 3 การจัดการความรู้ 1. ออกแบบผลิตภณั ฑ์ สร้างสูตร สรุปองคค์ วามรู้ใหม่ 2. ประพฤติตนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ 3. สร้างสรรคส์ งั คมอุดมปัญญา บทที่ 4 การคิดเป็ น 1. อธิบายถึงความเช่ือพ้ืนฐานทางการศึกษาผใู้ หญ่ของคนคิดเป็น และการเชื่อมโยงไปสู่ การเรียนรู้เรื่องการคิดเป็น ปรัชญาคิดเป็น การคิดแกป้ ัญหา อยา่ งเป็นระบบ แบบคน คิดเป็ นได้

2. วเิ คราะห์จาแนกลกั ษณะของขอ้ มูลการคิดเป็ นท้งั 3 ดา้ น ท่ีนามาใชป้ ระกอบการคิด และการตดั สินใจ ท้งั ขอ้ มลู ดา้ นวชิ าการ ขอ้ มลู เกี่ยวกบั ตนเอง ขอ้ มูลเกี่ยวกบั สงั คมและ สภาวะแวดลอ้ ม โดยเนน้ ท่ีขอ้ มูลดา้ นคุณธรรมจริยธรรมที่เกี่ยวขอ้ งกบั บุคคล ครอบครัว และชุมชน ท่ีเป็นจุดเนน้ สาคญั ของคนคิดเป็นได้ 3. ฝึกปฏิบตั ิการคิดการแกป้ ัญหาอยา่ งเป็นระบบ การคิดเป็น ท้งั จากกรณีตวั อยา่ งและ หรือสถานการณ์จริงในชุมชน โดยนาขอ้ มูลดา้ นคุณธรรมจริยธรรม ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึง ของขอ้ มูลทางสังคมและสภาวะแวดลอ้ มมาประกอบการคิดการพฒั นาได้ บทท่ี 5 การวจิ ัยอย่างง่าย 1. อธิบายความหมายและความสาคญั ของการวจิ ยั ได้ 2. ระบุกระบวนการ ข้นั ตอนของการทาวจิ ยั อยา่ งง่ายได้ 3. อธิบายสถิติง่าย ๆ และสามารถเลือกใชส้ ถิติท่ีเหมาะสมกบั การวิจยั ในแต่ละเร่ืองของ ตนเองไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 4. สร้างเคร่ืองมือการวจิ ยั ได้ 5. เขียนโครงการวจิ ยั ได้ 6. เขียนรายงานการวจิ ยั และเผยแพร่งานวจิ ยั ได้ บทท่ี 6 ทกั ษะการเรียนรู้และศักยภาพหลกั ของพนื้ ทใ่ี นการพฒั นาอาชีพ 1. อธิบายความหมาย ความสาคญั ของทกั ษะการเรียนรู้ และศกั ยภาพหลกั ของพ้ืนท่ีที่ แตกตา่ งกนั 2. ยกตวั อยา่ งศกั ยภาพหลกั ของพ้นื ที่ที่แตกตา่ งกนั 3. สามารถบอกหรือยกตวั อยา่ งเกี่ยวกบั ศกั ยภาพหลกั ของพ้ืนที่ของตนเอง 4. ยกตวั อยา่ งอาชีพที่ใชห้ ลกั การพ้นื ฐานของศกั ยภาพหลกั ในการประกอบอาชีพในกลุ่ม อาชีพใหม่ได้

ขอบข่ายเนือ้ หา บทท่ี 1 การเรียนรู้ด้วยตนเอง เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสาคญั และกระบวนการของการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เรื่องท่ี 2 ทกั ษะพ้นื ฐานทางการศึกษาหาความรู้ ทกั ษะการแกป้ ัญหา และเทคนิคในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เร่ืองท่ี 3 การทาแผนผงั ความคิด เร่ืองที่ 4 ปัจจยั ที่ทาใหก้ ารเรียนรู้ดว้ ยตนเองประสบความสาเร็จ บทที่ 2 การใช้แหล่งเรียนรู้ เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสาคญั ประเภทของแหล่งเรียนรู้ เรื่องท่ี 2 แหล่งเรียนรู้ประเภทหอ้ งสมุด เร่ืองที่ 3 ทกั ษะการเขา้ ถึงสารสนเทศของหอ้ งสมุด เร่ืองที่ 4 การใชแ้ หล่งเรียนรู้สาคญั ๆ ในประเทศ เร่ืองที่ 5 การใชแ้ หล่งเรียนรู้ผา่ นเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต บทที่ 3 การจัดการความรู้ เร่ืองที่ 1 ความหมาย ความสาคญั หลกั การ เรื่องท่ี 2 กระบวนการจดั การเรียนรู้ การรวมกลุ่มเพื่อต่อยอดความรู้ และการจดั ทาสารสนเทศเพอ่ื เผยแพร่ความรู้ เร่ืองท่ี 3 ทกั ษะกระบวนการจดั การความรู้ บทท่ี 4 การคดิ เป็ น เรื่องที่ 1 ความเช่ือพ้ืนฐานทางการศึกษาผใู้ หญก่ บั กระบวนการคิดเป็น การเชื่อมโยงสู่ ปรัชญาคิดเป็น และการคิดการตดั สินใจแกป้ ัญหาอยา่ งเป็ นระบบแบบคนคิดเป็น เร่ืองที่ 2 ระบบขอ้ มลู การจาแนกลกั ษณะของขอ้ มูล การเกบ็ ขอ้ มลู การวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ขอ้ มูลท้งั ดา้ นวชิ าการ ดา้ นตนเอง และสังคมสภาวะแวดลอ้ ม โดยเนน้ ไปที่ขอ้ มลู ดา้ นคุณธรรมจริยธรรมที่เก่ียวขอ้ งกบั บุคคล ครอบครัวและชุมชน เพ่ือ นามาใชป้ ระกอบการตดั สินใจแกป้ ัญหาตามแบบอยา่ งของคนคิดเป็ น เรื่องที่ 3 กรณีตวั อยา่ ง และสถานการณ์จริงในการฝึกปฏิบตั ิเพื่อการคิด การแกป้ ัญหา แบบคนคิดเป็ น

บทที่ 5 การวจิ ัยอย่างง่าย เร่ืองท่ี 1 ความหมาย ความสาคญั ของการวจิ ยั เร่ืองที่ 2 กระบวนการและข้นั ตอนการทาวจิ ยั อยา่ งง่าย เรื่องท่ี 3 สถิติง่าย ๆ เพื่อการวจิ ยั เร่ืองที่ 4 การสร้างเครื่องมือวจิ ยั เร่ืองที่ 5 การเขียนโครงการวจิ ยั เร่ืองที่ 6 การเขียนรายงานการวจิ ยั อยา่ งง่ายและการเผยแพร่ผลงานวจิ ยั บทที่ 6 ทกั ษะการเรียนรู้และศกั ยภาพหลกั ของพ้นื ท่ีในการพฒั นาอาชีพ เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสาคญั ของศกั ยภาพหลกั ของพ้ืนที่ เรื่องท่ี 2 กลุ่มอาชีพใหม่ 5 ดา้ น และศกั ยภาพหลกั ของพ้ืนท่ี 5 ประการ เร่ืองที่ 3 ตวั อยา่ งการวเิ คราะห์ศกั ยภาพหลกั ของพ้ืนท่ี

1 บทที่ 1 การเรียนรู้ด้วยตนเอง สาระสาคญั การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เป็ นกระบวนการเรียนรู้ที่ผเู้ รียนริเร่ิมการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ตามความสนใจ ความตอ้ งการ และความถนดั มีเป้ าหมาย รู้จกั แสวงหาแหล่งทรัพยากรของการเรียนรู้ เลือกวิธีการเรียนรู้ จนถึงการประเมินความก้าวหน้าของการเรียนรู้ของตนเอง โดยจะดาเนินการด้วยตนเอง หรือร่วมมือ ช่วยเหลือกบั ผูอ้ ่ืนก็ได้ ดังน้ันมาตรฐานการเรียนรู้ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายสามารถประมวลความรู้ ทางานบนฐานขอ้ มูล และมีความชานาญในการอ่าน ฟัง จดบนั ทึก เป็ นสารสนเทศอยา่ งคล่องแคล่วรวดเร็ว ในทุกวนั น้ีคนส่วนใหญ่แสวงหาการศึกษาระดบั ที่สูงข้ึน จาเป็ นตอ้ งรู้วิธีวินิจฉัยความตอ้ งการในการเรียน ของตนเอง สามารถกาหนดเป้ ามายในการเรียนรู้ของตนเอง สามารถระบุแหล่งความรู้ที่ตอ้ งการ และ วางแผนการใช้ยุทธวิธี ส่ือการเรียน และแหล่งความรู้เหล่าน้ัน หรือแมแ้ ต่ประเมินและตรวจสอบความ ถูกตอ้ งของผลการเรียนรู้ของตนเอง ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงั 1. ประมวลความรู้ และสรุปเป็นสารสนเทศ 2. ทางานบนฐานขอ้ มลู ดว้ ยการแสวงหาความรู้จนเป็นลกั ษณะนิสยั 3. มีความชานาญในทกั ษะการอา่ น ทกั ษะการฟัง ทกั ษะการสงั เกต และทกั ษะการจดบนั ทึกอยา่ ง คล่องแคล่ว รวดเร็ว ขอบข่ายเนือ้ หา เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสาคญั และกระบวนการของการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เรื่องท่ี 2 ทกั ษะพ้ืนฐานทางการศึกษาหาความรู้ ทกั ษะการแกป้ ัญหา และเทคนิคในการเรียนรู้ ดว้ ยตนเอง เร่ืองท่ี 3 การทาแผนผงั ความคิด เร่ืองท่ี 4 ปัจจยั ที่ทาใหก้ ารเรียนรู้ดว้ ยตนเองประสบความสาเร็จ

2 เร่ืองที่ 1 ความหมาย ความสาคญั และกระบวนการของการเรียนรู้ด้วยตนเอง ในปัจจุบนั โลกมีความกา้ วหนา้ ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความรู้ต่าง ๆ ไดเ้ พ่ิมข้ึนเป็ น อนั มาก การเรียนรู้จากสถาบนั การศึกษาไม่อาจทาให้บุคคลศึกษาความรู้ไดค้ รบท้งั หมด การไขวค่ วา้ หา ความรู้ดว้ ยตนเอง จึงเป็ นอีกวธิ ีหน่ึงที่จะสนองความตอ้ งการของบุคคลได้ เพราะเมื่อใดก็ตามที่บุคคลมีใจ รักท่ีจะศึกษา คน้ ควา้ ส่ิงท่ีตนตอ้ งการจะรู้ บุคคลน้นั ก็จะดาเนินการศึกษาเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่องโดยไม่ตอ้ ง มีใครบอก ประกอบกบั ระบบการศึกษาและปรัชญาการศึกษาเพ่ือเตรียมคนให้สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวติ แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง ใฝ่ หาความรู้ รู้แหล่งทรัพยากรการเรียน รู้วิธีการหาความรู้ มีความสามารถ ในการคิดเป็ น ทาเป็ น แกป้ ัญหาเป็ น มีนิสัยในการทางานและการดารงชีวิต และมีส่วนร่วมในการ ปกครองประเทศ การเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถช่วยใหผ้ เู้ รียนพฒั นาและเพ่ิมศกั ยภาพ ของตนเองโดยการคน้ พบความสามารถและสิ่งที่มีคุณค่าในตนเองที่เคย มองขา้ มไป (“...it is possible to help learners expand their potential by discovered that which is yet untapped…”) (Brockett & Hiemstra, 1991) การศึกษาตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 เป็ นการ จดั การศึกษาที่มีความเหมาะสมกบั สภาพปัญหา และความตอ้ งการของผเู้ รียนที่อยนู่ อกระบบ ซ่ึงเป็ นผูท้ ี่มี ประสบการณ์จากการทางานและการประกอบอาชีพ โดยการกาหนดสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ การจดั การเรียนรู้ การวดั และประเมินผล ให้การพฒั นากบั กลุ่มเป้ าหมายดา้ นจิตใจ ให้มีคุณธรรม ควบคู่ไป กบั การพฒั นาการเรียนรู้ สร้างภูมิคุม้ กนั สามารถจดั การกบั องคค์ วามรู้ ท้งั ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินและเทคโนโลยี เพ่ือให้ผเู้ รียนสามารถปรับตวั อยใู่ นสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สร้างภูมิคุม้ กนั ตามแนวเศรษฐกิจ พอเพยี ง รวมท้งั คานึงถึงธรรมชาติการเรียนรู้ของผทู้ ี่อยนู่ อกระบบ และสอดคลอ้ งกบั สภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ความเจริญกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีและการสื่อสาร ดงั น้นั ในการศึกษาแต่ละรายวชิ า ผู้เรียนจะต้องตระหนักว่า การศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 น้ี จะสัมฤทธ์ิผลไดด้ ว้ ยดีหากผูเ้ รียนไดศ้ ึกษาพร้อมท้งั การปฏิบตั ิตามคาแนะนาของครู แตล่ ะวชิ าท่ีไดก้ าหนดเน้ือหาเป็นบทต่าง ๆ โดยแต่ละบทจะมีคาถาม รายละเอียดกิจกรรมและแบบฝึ กปฏิบตั ิ ต่าง ๆ ซ่ึงผูเ้ รียนจะต้องทาความเขา้ ใจในบทเรียน และทากิจกรรม ตลอดจนทาตามแบบฝึ กปฏิบตั ิที่ได้ กาหนดไวอ้ ยา่ งครบถว้ น ซ่ึงในหนงั สือแบบฝึ กปฏิบตั ิของแต่ละวิชาไดจ้ ดั ให้มีรายละเอียดต่าง ๆ ดงั กล่าว ตลอดจนแบบประเมินผลการเรียนรู้เพื่อให้ผเู้ รียนไดว้ ดั ความรู้เดิมและวดั ความกา้ วหนา้ หลงั จากที่ไดเ้ รียนรู้

3 รวมท้งั การท่ีผเู้ รียนจะไดม้ ีการทบทวนบทเรียน หรือสิ่งที่ไดเ้ รียนรู้ อนั จะเป็ นประโยชน์ในการเตรียมสอบ ต่อไปไดอ้ ีกดว้ ย การเรียนรู้ในสาระทกั ษะการเรียนรู้ เป็ นสาระเก่ียวกบั รายวิชาการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง รายวิชาการใช้ แหล่งเรียนรู้ รายวชิ าการจดั การความรู้ รายวชิ าการคิดเป็น และรายวิชาการวจิ ยั อยา่ งง่าย ในส่วนของรายวชิ า การเรียนรู้ดว้ ยตนเองเป็ นสาระการเรียนรู้เก่ียวกบั การพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ ในดา้ นการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียนไดศ้ ึกษา คน้ ควา้ ฝึกทกั ษะในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เพอื่ มุ่งเสริมสร้างใหผ้ เู้ รียนมีนิสัยรัก การเรียนรู้ซ่ึงเป็ นทกั ษะพ้ืนฐานของบุคคลแห่งการเรียนรู้ที่ยง่ั ยืน เพื่อใชเ้ ป็ นเครื่องมือในการช้ีนาตนเองใน การเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดชีวติ การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Directed Learning) เป็ นแนวทางการเรียนรู้หน่ึงท่ีสอดคล้องกบั การ เปลี่ยนแปลงของสภาพปัจจุบนั และเป็ นแนวคิดที่สนบั สนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิตของสมาชิกในสังคมสู่การ เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ โดยการเรียนรู้ดว้ ยตนเองเป็ นการเรียนรู้ท่ีทาให้บุคคลมีการริเริ่มการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง มีเป้ าหมายในการเรียนรู้ท่ีแน่นอน มีความรับผดิ ชอบในชีวติ ของตนเอง ไม่พ่ึงคนอ่ืน มีแรงจูงใจ ทาใหผ้ เู้ รียน เป็ นบุคคลท่ีใฝ่ รู้ ใฝ่ เรียน ท่ีมีการเรียนรู้ตลอดชีวิต เรียนรู้วิธีเรียน สามารถเรียนรู้เรื่องราวต่าง ๆ ไดม้ ากกวา่ การ เรียนที่มีครูป้ อนความรู้ให้เพียงอยา่ งเดียว การเรียนรู้ดว้ ยตนเองเป็นหลกั การทางการศึกษาซ่ึงไดร้ ับความสนใจมากข้ึนโดยลาดบั ในทุกองคก์ ร การศึกษา เพราะเป็นแนวทางหน่ึงท่ีสนบั สนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในอนั ที่จะหล่อหลอมผเู้ รียนใหม้ ีทกั ษะ การเรียนรู้ตลอดชีวติ ตามท่ีมุ่งหวงั ไวใ้ นพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เป็ นหลกั การทางการศึกษาที่มีแนวคิดพ้ืนฐานมาจากทฤษฎีของ กลุ่มมนุษยนิยม (Humanism) ซ่ึงเช่ือวา่ มนุษยท์ ุกคนมีธรรมชาติเป็ นคนดี มีเสรีภาพและความเป็ นตนเอง มีความเป็ นปัจเจกชน มีศกั ยภาพ และการรับรู้ตนเอง มีความเป็ นจริงในส่ิงที่ตนสามารถเป็ นได้ มีการรับรู้ มีความรับผดิ ชอบและความเป็นมนุษย์ ดงั น้นั การท่ีผเู้ รียนสามารถเรียนรู้ดว้ ยตนเองไดน้ บั วา่ เป็ นคุณลกั ษณะที่ดีท่ีสุด ซ่ึงมีอยใู่ นตวั บุคคล ทุกคน ผเู้ รียนควรจะมีคุณลกั ษณะของการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรู้ดว้ ยตนเองจดั เป็ นกระบวนการเรียนรู้ ตลอดชีวิต ยอมรับในศกั ยภาพของผเู้ รียนวา่ ผเู้ รียนทุกคนมีความสามารถที่จะเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง เพอื่ ที่ตนเองสามารถที่ดารงชีวติ อยใู่ นสงั คมท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยตู่ ลอดเวลาไดอ้ ยา่ งมีความสุข ในการปฏิบตั กิ จิ กรรมการเรียนรู้ในบทท่ี 1 การเรียนรู้ด้วยตนเองนี้ ผู้เรียนจะต้องรวบรวมผลการปฏิบตั ิกจิ กรรมซึ่งเป็ นหลกั ฐานของ การเรียนรู้ โดยให้ผู้เรียนบรรจุในแฟ้ มสะสมผลงาน (Portfolio) ของ ผ้เู รียนแต่ละบุคคล ดังน้ัน เมือ่ สิ้นสุดการเรียนรู้ในบทที่ 1 ทกั ษะ การเรียนรู้ด้วยตนเองนี้ ผู้เรียนจะต้องมแี ฟ้ มสะสมผลงานส่งครู

4 แบบประเมนิ ตนเองก่อนเรียน แบบวดั ระดบั ความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน ช่ือ........................................................นามสกุล................................................ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย คาชี้แจง แบบสอบถามฉบบั น้ี เป็นแบบสอบถามที่วดั ความชอบและเจตคติเกี่ยวกบั การเรียนรู้ของทา่ น ใหท้ ่านอ่านขอ้ ความตา่ ง ๆ ต่อไปน้ี ซ่ึงมีดว้ ยกนั 58 ขอ้ หลงั จากน้นั โปรดทาเคร่ืองหมาย  ลงในช่องที่ตรงกบั ความเป็ นจริง ของตวั ทา่ นมากที่สุด ระดบั ความคดิ เหน็ มากท่ีสุด หมายถึง ท่านรู้สึกวา่ ขอ้ ความน้นั ส่วนใหญเ่ ป็ นเช่นน้ี มาก หมายถึง ท่านรู้สึกวา่ ขอ้ ความเกินคร่ึงมกั เป็นเช่นน้ี ปานกลาง หมายถึง ทา่ นรู้สึกวา่ ขอ้ ความจริงบา้ งไมจ่ ริงบา้ งคร่ึงต่อคร่ึง นอ้ ย หมายถึง ท่านรู้สึกวา่ ขอ้ ความเป็นจริงบา้ งแตไ่ ม่บอ่ ยนกั นอ้ ยท่ีสุด หมายถึง ท่านรู้สึกวา่ ขอ้ ความไม่จริง ไม่เคยเป็นเช่นน้ี ความคดิ เหน็ รายการคาถาม มาก มาก ปาน น้อย น้อย ทส่ี ุด กลาง ทส่ี ุด 1. ขา้ พเจา้ ตอ้ งการเรียนรู้อยเู่ สมอตราบชวั่ ชีวติ 2. ขา้ พเจา้ ทราบดีวา่ ขา้ พเจา้ ตอ้ งการเรียนอะไร 3. เม่ือประสบกบั บางสิ่งบางอยา่ งท่ีไมเ่ ขา้ ใจ ขา้ พเจา้ จะหลีกเล่ียงไป จากส่ิงน้นั 4. ถา้ ขา้ พเจา้ ตอ้ งการเรียนรู้สิ่งใด ขา้ พเจา้ จะหาทางเรียนรู้ใหไ้ ด้ 5. ขา้ พเจา้ รักที่จะเรียนรู้อยเู่ สมอ 6. ขา้ พเจา้ ตอ้ งการใชเ้ วลาพอสมควรในการเริ่มศึกษาเรื่องใหม่ ๆ 7. ในช้นั เรียนขา้ พเจา้ หวงั ที่จะใหผ้ สู้ อนบอกผเู้ รียนท้งั หมดอยา่ งชดั เจนวา่ ตอ้ งทาอะไรบา้ งอยตู่ ลอดเวลา 8. ขา้ พเจา้ เชื่อวา่ การคิดเสมอวา่ ตวั เราเป็ นใครและอยทู่ ่ีไหน และจะทา อะไร เป็นหลกั สาคญั ของการศึกษาของทุกคน 9. ขา้ พเจา้ ทางานดว้ ยตนเองไดไ้ ม่ดีนกั 10. ถา้ ตอ้ งการขอ้ มูลบางอยา่ งที่ยงั ไม่มี ขา้ พเจา้ ทราบดีวา่ จะไปหาได้ ที่ไหน 11. ขา้ พเจา้ สามารถเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ ดว้ ยตนเองไดด้ ีกวา่ คนส่วนมาก

5 รายการคาถาม ความคดิ เห็น 12. แมข้ า้ พเจา้ จะมีความคิดที่ดี แต่ดูเหมือนไม่สามารถนามาใชป้ ฏิบตั ิได้ มาก มาก ปาน น้อย น้อย ทส่ี ุด กลาง ทส่ี ุด 13. ขา้ พเจา้ ตอ้ งการมีส่วนร่วมในการตดั สินใจวา่ ควรเรียนอะไร และจะ เรียนอยา่ งไร 14. ขา้ พเจา้ ไม่เคยทอ้ ถอยตอ่ การเรียนสิ่งท่ียาก ถา้ เป็นเรื่องท่ีขา้ พเจา้ สนใจ 15. ไม่มีใครอ่ืนนอกจากตวั ขา้ พเจา้ ที่จะตอ้ งรับผิดชอบในสิ่งที่ขา้ พเจา้ เลือกเรียน 16. ขา้ พเจา้ สามารถบอกไดว้ า่ ขา้ พเจา้ เรียนสิ่งใดไดด้ ีหรือไม่ 17. ส่ิงที่ขา้ พเจา้ ตอ้ งการเรียนรู้มีมากมาย จนขา้ พเจา้ อยากใหแ้ ต่ละวนั มี มากกวา่ 24 ชวั่ โมง 18. ถา้ ตดั สินใจท่ีจะเรียนรู้อะไรก็ตาม ขา้ พเจา้ สามารถจะจดั เวลาที่จะ เรียนรู้ส่ิงน้นั ได้ ไมว่ า่ จะมีภารกิจมากมายเพียงใดกต็ าม 19. ขา้ พเจา้ มีปัญหาในการทาความเขา้ ใจเรื่องที่อา่ น 20. ถา้ ขา้ พเจา้ ไมเ่ รียนก็ไมใ่ ช่ความผดิ ของขา้ พเจา้ 21. ขา้ พเจา้ ทราบดีวา่ เมื่อใดท่ีขา้ พเจา้ ตอ้ งการจะเรียนรู้ในเร่ืองใด เรื่อง หน่ึงใหม้ ากข้ึน 22. ขอใหท้ าขอ้ สอบใหไ้ ดค้ ะแนนสูง ๆ ก็พอใจแลว้ ถึงแมว้ า่ ขา้ พเจา้ ยงั ไมเ่ ขา้ ใจเรื่องน้นั อยา่ งถ่องแทก้ ต็ าม 23. ขา้ พเจา้ คิดวา่ หอ้ งสมุดเป็ นสถานท่ีท่ีน่าเบ่ือ 24. ขา้ พเจา้ ช่ืนชอบผทู้ ี่เรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ อยเู่ สมอ 25. ขา้ พเจา้ สามารถคิดคน้ วธิ ีการต่าง ๆ ไดห้ ลายแบบ สาหรับการเรียนรู้ หวั ขอ้ ใหม่ ๆ 26. ขา้ พเจา้ พยายามเช่ือมโยงส่ิงที่กาลงั เรียนกบั เป้ าหมายระยะยาว ท่ีต้งั ไว้ 27. ขา้ พเจา้ มีความสามารถเรียนรู้ ในเกือบทุกเรื่อง ท่ีขา้ พเจา้ ตอ้ งการจะรู้ 28. ขา้ พเจา้ สนุกสนานในการคน้ หาคาตอบสาหรับคาถามตา่ ง ๆ 29. ขา้ พเจา้ ไมช่ อบคาถามที่มีคาตอบถูกตอ้ งมากกวา่ หน่ึงคาตอบ 30. ขา้ พเจา้ มีความอยากรู้อยากเห็นเก่ียวกบั ส่ิงต่าง ๆ มากมาย 31. ขา้ พเจา้ จะดีใจมาก หากการเรียนรู้ของขา้ พเจา้ ไดส้ ิ้นสุดลง

6 ความคดิ เห็น รายการคาถาม มาก มาก ปาน น้อย น้อย ทส่ี ุด กลาง ทสี่ ุด 32. ขา้ พเจา้ ไม่ไดส้ นใจการเรียนรู้ เม่ือเปรียบเทียบกบั ผอู้ ่ืน 33. ขา้ พเจา้ ไมม่ ีปัญหาเก่ียวกบั ทกั ษะเบ้ืองตน้ ในการศึกษาคน้ ควา้ ไดแ้ ก่ ทกั ษะการฟัง อ่าน เขียน และจา 34. ขา้ พเจา้ ชอบทดลองส่ิงใหม่ๆ แมไ้ มแ่ น่ใจวา่ ผลน้นั จะออกมา อยา่ งไร 35. ขา้ พเจา้ ไมช่ อบ เม่ือมีคนช้ีใหเ้ ห็นถึงขอ้ ผดิ พลาด ในส่ิงท่ีขา้ พเจา้ กาลงั ทาอยู่ 36. ขา้ พเจา้ มีความสามารถในการคิดคน้ หาวธิ ีแปลกๆ ท่ีจะทาส่ิงต่าง ๆ 37. ขา้ พเจา้ ชอบคิดถึงอนาคต 38. ขา้ พเจา้ มีความพยายามคน้ หาคาตอบในส่ิงท่ีตอ้ งการรู้ไดด้ ี เม่ือเทียบ กบั ผอู้ ่ืน 39. ขา้ พเจา้ เห็นวา่ ปัญหาเป็ นสิ่งที่ทา้ ทาย ไมใ่ ช่สัญญาณใหห้ ยดุ ทา 40. ขา้ พเจา้ สามารถบงั คบั ตนเอง ใหก้ ระทาสิ่งท่ีคิดวา่ ควรกระทา 41. ขา้ พเจา้ ชอบวธิ ีการของขา้ พเจา้ ในการสารวจตรวจสอบปัญหาตา่ ง ๆ 42. ขา้ พเจา้ มกั เป็นผนู้ ากลุ่มในการเรียนรู้ 43. ขา้ พเจา้ สนุกท่ีไดแ้ ลกเปลี่ยนความคิดเห็นกบั ผอู้ ่ืน 44. ในแตล่ ะปี ขา้ พเจา้ ไดเ้ รียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ หลายๆ อยา่ งดว้ ยตนเอง 45. การเรียนรู้ไม่ไดท้ าใหช้ ีวติ ของขา้ พเจา้ แตกตา่ งไปจากเดิม 46. ขา้ พเจา้ เป็นผเู้ รียนที่มีประสิทธิภาพ ท้งั ในช้นั เรียน และการเรียนรู้ ดว้ ยตนเอง 47. ขา้ พเจา้ เห็นดว้ ยกบั ความคิดที่วา่ “ผเู้ รียนคือ ผนู้ า”

7 การเริ่มต้นเรียนรู้ด้วยตนเองทดี่ ีทสี่ ุดน้ัน เรามาเริ่มต้นทคี่ วามพร้อม ในการ เรียนรู้ด้วยตนเอง และท่านคงทราบในเบอื้ งต้นแล้วว่า ระดบั ความพร้อม ในการเรียนรู้ด้วยตนเองของท่าน อย่ใู นระดบั ใด (มากทสี่ ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยทสี่ ุด) ความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ในการเรียนรู้ดว้ ยตนเองเป็นบุคลิกลกั ษณะส่วนบุคคลของผเู้ รียน ท่ีตอ้ งการให้เกิดข้ึนในตวั ผเู้ รียน ตามเป้ าหมายของการศึกษา ผเู้ รียนท่ีมีความพร้อมในการเรียนดว้ ยตนเองจะมีความรับผิดชอบส่วนบุคคล ความรับผิดชอบต่อความคิดและการกระทาของตนเอง สามารถควบคุมและโตต้ อบสถานการณ์ สามารถ ควบคุมตนเองให้เป็ นไปในทิศทางที่ตนเลือก โดยยอมรับผลที่เกิดข้ึนจากการกระทาที่มาจากความคิด ตดั สินใจของตนเอง “เดก็ ตามธรรมชาติตอ้ งพ่ึงพิงผอู้ ่ืนและตอ้ งการผปู้ กครองปกป้ องเล้ียงดูและตดั สินใจแทน เมื่อเติบโตเป็ นผใู้ หญ่กพ็ ฒั นามีความอิสระ พ่ึงพงิ จากภายนอกลดลงและเป็ นตวั เอง จนมีคุณลกั ษณะการช้ีนาตนเองในการเรียนรู้” ความหมาย และความสาคญั ของการเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้เป็ นเรื่องของทุกคน ศกั ด์ิศรีของผูเ้ รียนจะมีไดเ้ ม่ือมีโอกาสในการเลือกเรียนในเรื่องที่ หลากหลายและมีความหมายแก่ตนเอง การเรียนรู้มีองคป์ ระกอบ 2 ดา้ น คือ องค์ประกอบภายนอก ไดแ้ ก่ สภาพแวดลอ้ ม โรงเรียน สถานศึกษา ส่ิงอานวยความสะดวก และครู องคป์ ระกอบภายใน ไดแ้ ก่ การคิดเป็ น พ่ึงตนเองได้ มีอิสรภาพ ใฝ่ รู้ ใฝ่ สร้างสรรค์ มีความคิดเชิงเหตุผล มีจิตสานึกในการเรียนรู้ มีเจตคติเชิงบวก ต่อการเรียนรู้ การเรียนรู้ที่เกิดข้ึนมิไดเ้ กิดข้ึนจากการฟังคาบรรยายหรือทาตามที่ครูผสู้ อนบอก แต่อาจเกิดข้ึน ไดใ้ นสถานการณ์ต่าง ๆ ตอ่ ไปน้ี 1. การเรียนรู้โดยบังเอญิ การเรียนรู้แบบน้ีเกิดข้ึนโดยบงั เอิญ มิไดเ้ กิดจากความต้งั ใจ 2. การเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นการเรียนรู้ดว้ ยความต้งั ใจของผเู้ รียน ซ่ึงมีความปรารถนาจะรู้ใน เรื่องน้นั ผเู้ รียนจึงคิดหาวิธีการเรียนดว้ ยวธิ ีการต่าง ๆ หลงั จากน้นั จะมีการประเมินผลการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง จะเป็ นรูปแบบการเรียนรู้ท่ีทวีความสาคญั ในโลกยุคโลกาภิวตั น์ บุคคลซ่ึงสามารถปรับตนเองให้ตามทนั ความกา้ วหน้าของโลกโดยใช้ส่ืออุปกรณ์ยุคใหม่ได้ จะทาให้เป็ นคนที่มีคุณค่าและประสบความสาเร็จ ไดอ้ ยา่ งดี

8 3. การเรียนรู้โดยกลุ่ม การเรียนรู้แบบน้ีเกิดจากการท่ีผเู้ รียนรวมกลุ่มกนั แลว้ เชิญผทู้ รงคุณวฒุ ิ มา บรรยายใหก้ บั สมาชิก ทาใหส้ มาชิกมีความรู้เร่ืองท่ีวทิ ยากรพดู 4. การเรียนรู้จากสถาบันการศึกษา เป็ นการเรียนแบบเป็ นทางการ มีหลกั สูตร การประเมินผล มีระเบียบการเขา้ ศึกษาท่ีชดั เจน ผเู้ รียนตอ้ งปฏิบตั ิตามกฎระเบียบท่ีกาหนด เมื่อปฏิบตั ิครบถว้ นตามเกณฑ์ ท่ีกาหนดกจ็ ะไดร้ ับปริญญา หรือประกาศนียบตั ร จากสถานการณ์การเรียนรู้ดงั กล่าวจะเห็นไดว้ า่ การเรียนรู้อาจเกิดไดห้ ลายวิธี และการเรียนรู้น้ัน ไม่จาเป็ นตอ้ งเกิดข้ึนในสถาบนั การศึกษาเสมอไป การเรียนรู้อาจเกิดข้ึนไดจ้ ากการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง หรือ จากการเรียนโดยกลุ่มก็ได้ และการที่บุคคลมีความตระหนักเรียนรู้อยู่ภายในจิตสานึกของบุคคลน้ัน การเรียนรู้ด้วยตนเองจึงเป็ นตวั อย่างของการเรียนรู้ในลกั ษณะท่ีเป็ นการเรียนรู้ ที่ทาให้เกิดการเรียนรู้ ตลอดชีวิต ซ่ึงมีความสาคัญสอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงของโลกปัจจุบัน และสนับสนุนสภาพ “สงั คมแห่งการเรียนรู้” ไดเ้ ป็นอยา่ งดี “การเรียนรู้เป็ นเพื่อนท่ีดีที่สุดของมนุษย”์ (LEARNING makes a man fit company for himself) ... (Young)... การเรียนรู้ด้วยตนเองคืออะไร การเรียนดว้ ยตนเอง หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ท่ีผูเ้ รียนริเริ่มการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ตามความ สนใจ ความตอ้ งการ และความถนดั มีเป้ าหมาย รู้จกั แสวงหาแหล่งทรัพยากรของการเรียนรู้ เลือกวิธีการ เรียนรู้ จนถึงการประเมินความกา้ วหน้าของการเรียนรู้ของตนเอง โดยจะดาเนินการดว้ ยตนเองหรือร่วมมือ ช่วยเหลือกบั ผอู้ ื่นหรือไม่กไ็ ด้ ซ่ึงผเู้ รียนจะตอ้ งมีความรับผดิ ชอบและเป็นผคู้ วบคุมการเรียนของตนเอง การเรียนดว้ ยตนเอง มีแนวคิดพ้ืนฐานมาจากแนวคิดทฤษฎีกลุ่มมนุษยนิยมที่มีความเชื่อในเร่ือง ความเป็ นอิสระและความเป็ นตวั ของตวั เองของมนุษยว์ า่ มนุษยท์ ุกคนเกิดมาพร้อมกบั ความดี มีความเป็ น อิสระ เป็นตวั ของตวั เอง สามารถหาทางเลือกของตนเอง มีศกั ยภาพและสามารถพฒั นาศกั ยภาพของตนเอง ไดอ้ ยา่ งไม่มีขีดจากดั รวมท้งั มีความรับผดิ ชอบต่อตนเองและผอู้ ื่น ซ่ึงการเรียนดว้ ยตนเองก่อให้เกิดผลใน ทางบวกต่อการเรียน โดยจะส่งผลให้ผเู้ รียนมีความเช่ือมนั่ ในตนเอง มีแรงจูงใจในการเรียนมากข้ึน มี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน และมีการใชว้ ิธีการเรียนท่ีหลากหลาย การเรียนดว้ ยตนเองจึงเป็ นมาตรฐาน การศึกษาที่ควรส่งเสริมให้เกิดข้ึนในตวั ผเู้ รียนทุกคน เพราะเมื่อใดก็ตามท่ีผเู้ รียนมีใจรักท่ีจะศึกษา คน้ ควา้ จากความตอ้ งการของตนเอง ผูเ้ รียนก็จะมีการศึกษาคน้ ควา้ อยา่ งต่อเนื่องต่อไปโดยไม่ตอ้ งมีใครบอกหรือ บงั คบั เป็นแรงกระตุน้ ใหเ้ กิดความอยากรู้อยากเห็นต่อไปไม่มีท่ีสิ้นสุด ซ่ึงจะนาไปสู่การเป็ นผเู้ รียนรู้ตลอด ชีวติ ตามเป้ าหมายของการศึกษาต่อไป

9 การเรียนดว้ ยตนเองมีอยู่ 2 ลกั ษณะคือ ลกั ษณะที่เป็ นการจดั การเรียนรู้ท่ีมีจุดเนน้ ให้ผเู้ รียนเป็ น ศูนยก์ ลางในการเรียนโดยเป็ นผรู้ ับผิดชอบและควบคุมการเรียนของตนเองโดยการวางแผน ปฏิบตั ิการ เรียนรู้ และประเมินการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ซ่ึงไม่จาเป็ นจะตอ้ งเรียนดว้ ยตนเองเพียงคนเดียวตามลาพงั และ ผเู้ รียนสามารถถ่ายโอนการเรียนรู้และทกั ษะที่ไดจ้ ากสถานการณ์หน่ึงไปยงั อีกสถานการณ์หน่ึงได้ ในอีก ลกั ษณะหน่ึงเป็ นลกั ษณะทางบุคลิกภาพที่มีอยใู่ นตวั ผทู้ ี่เรียนดว้ ยตนเองทุกคน ซ่ึงมีอยใู่ นระดบั ท่ีไม่เท่ากนั ในแต่ละสถานการณ์การเรียน โดยเป็นลกั ษณะที่สามารถพฒั นาใหส้ ูงข้ึนไดแ้ ละจะพฒั นาไดส้ ูงสุดเมื่อมีการ จดั สภาพการจดั การเรียนรู้ท่ีเอ้ือกนั การเรียนด้วยตนเอง (Self-Directed Learning) เป็นกระบวนการเรียนรู้ท่ีผ้เู รียนริเริ่มการเรียนรู้ด้วย ตนเอง ตามความสนใจ ความต้องการ และความถนัด มีเป้ าหมาย รู้จักแสวงหาแหล่งทรัพยากรของการ เรียนรู้ เลือกวิธีการเรียนรู้ จนถึงการประเมินความก้าวหน้าของการเรียนรู้ของตนเอง โดยจะดาเนินการด้วย ตนเองหรือร่ วมมือช่วยเหลือกับผ้อู ่ืนหรือไม่กไ็ ด้ ซึ่งผ้เู รียนจะต้องมีความรับผิดชอบและเป็ นผ้คู วบคุมการ เรี ยนของตนเอง การเรียนรู้ด้วยตนเองมคี วามสาคัญอย่างไร การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (Self-Directed Learning) เป็ นแนวทางการเรียนรู้หน่ึงที่สอดคลอ้ งกบั การ เปล่ียนแปลงของสภาพปัจจุบนั และเป็นแนวคิดที่สนบั สนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิตของสมาชิกในสังคมสู่การ เป็ นสังคมแห่งการเรียนรู้ โดยการเรียนรู้ดว้ ยตนเองเป็ นการเรียนรู้ท่ีทาให้บุคคลมีการริเร่ิมการเรียนรู้ดว้ ย ตนเอง มีเป้ าหมายในการเรียนรู้ท่ีแน่นอน มีความรับผิดชอบในชีวิตของตนเอง ไม่พ่ึงคนอ่ืน มีแรงจูงใจ ทาให้ผเู้ รียนเป็ นบุคคลที่ใฝ่ รู้ ใฝ่ เรียน ที่มีการเรียนรู้ตลอดชีวติ เรียนรู้วธิ ีเรียน สามารถเรียนรู้เรื่องราวต่าง ๆ ไดม้ ากกวา่ การเรียนที่มีครูป้ อนความรู้ให้เพียงอยา่ งเดียว การเรียนรู้ดว้ ยตนเองไดน้ บั วา่ เป็ นคุณลกั ษณะที่ดี ท่ีสุดซ่ึงมีอยู่ในตวั บุคคลทุกคน ผเู้ รียนควรจะมีคุณลกั ษณะของการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง จดั เป็ นกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ยอมรับในศกั ยภาพของผูเ้ รียนว่าผูเ้ รียนทุกคนมีความสามารถที่จะ เรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง เพอ่ื ที่ตนเองสามารถท่ีดารงชีวติ อยใู่ นสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอยตู่ ลอดเวลา ไดอ้ ยา่ งมีความสุข ดงั น้นั การเรียนรู้ดว้ ยตนเองมีความสาคญั ดงั น้ี 1. บุคคลท่ีเรียนรู้ดว้ ยการริเริ่มของตนเองจะเรียนไดม้ ากกวา่ ดีกวา่ มีความต้งั ใจ มีจุดมุ่งหมายและมี แรงจูงใจสูงกวา่ สามารถนาประโยชน์จากการเรียนรู้ไปใชไ้ ดด้ ีกวา่ และยาวนานกวา่ คนที่เรียนโดยเป็ นเพียง ผรู้ ับ หรือรอการถ่ายทอดจากครู

10 2. การเรียนรู้ดว้ ยตนเองสอดคลอ้ งกบั พฒั นาการทางจิตวทิ ยา และกระบวนการทางธรรมชาติ ทาให้ บุคคลมีทิศทางของการบรรลุวุฒิภาวะจากลักษณะหน่ึงไปสู่อีกลักษณะหน่ึง คือ เม่ือตอนเด็ก ๆ เป็ น ธรรมชาติที่จะตอ้ งพ่ึงพงิ ผอู้ ่ืน ตอ้ งการผปู้ กครองปกป้ องเล้ียงดู และตดั สินใจแทนให้ เมื่อเติบโตมีพฒั นาการ ข้ึนเรื่อยๆ พฒั นาตนเองไปสู่ความเป็ นอิสระ ไม่ตอ้ งพ่ึงพิงผูป้ กครอง ครู และผูอ้ ่ืน การพฒั นาเป็ นไปใน สภาพท่ีเพ่มิ ความเป็นตวั ของตวั เอง 3. การเรียนรู้ดว้ ยตนเองทาให้ผูเ้ รียนมีความรับผิดชอบ ซ่ึงเป็ นลกั ษณะที่สอดคลอ้ งกบั พฒั นาการ ใหม่ ๆ ทางการศึกษา เช่น หลักสูตร ห้องเรียนแบบเปิ ด ศูนย์บริการวิชาการ การศึกษาอย่างอิสระ มหาวทิ ยาลยั เปิ ด ลว้ นเนน้ ใหผ้ เู้ รียนรับผดิ ชอบการเรียนรู้เอง 4. การเรียนรู้ดว้ ยตนเองทาให้มนุษยอ์ ยู่รอด สามารถปรับตวั ให้ทนั ต่อความเปล่ียนแปลงใหม่ ๆ ท่ีเกิดข้ึนเสมอ จึงมีความจาเป็ นท่ีจะตอ้ งศึกษาเรียนรู้ การเรียนรู้ดว้ ยตนเองจึงเป็ นกระบวนการต่อเน่ือง ตลอดชีวติ การเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นคุณลกั ษณะท่ีสาคัญต่อการดาเนินชีวิตที่มีประสิทธิภาพ ช่วยให้ผ้เู รียน มีความตั้งใจและมีแรงจูงใจสูง มีความคิดริเร่ิมสร้ างสรรค์ มีความยืดหยุ่นมากขึน้ มีการปรับพฤติกรรม การทางานร่ วมกับผ้อู ื่นได้ รู้จักเหตุผล รู้จักคิดวิเคราะห์ ปรับและประยกุ ต์ใช้วิธีการแก้ปัญหาของตนเอง จัดการกบั ปัญหาได้ดีขึน้ และสามารถนาประโยชน์ของการเรียนรู้ไปใช้ได้ดีและยาวนานขึน้ ทาให้ผ้เู รียน ประสบความสาเร็จในการเรี ยน การเรียนรู้ด้วยตนเองมลี กั ษณะอย่างไร การเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถจาแนกออกเป็น 2 ลกั ษณะสาคัญ ดงั นี้ 1. ลักษณะที่เป็ นบุคลิกคุณลักษณะส่วนบุคคลของผู้เรียน ในการเรียนด้วยตนเอง จัดเป็ น องคป์ ระกอบภายในที่จะทาให้ผเู้ รียนมีแรงจูงใจอยากเรียนต่อไป โดยผเู้ รียนท่ีมีคุณลกั ษณะในการเรียนดว้ ย ตนเองจะมีความรับผิดชอบต่อความคิดและการกระทาเก่ียวกบั การเรียน รวมท้งั รับผดิ ชอบในการบริหาร จดั การตนเอง ซ่ึงมีโอกาสเกิดข้ึนไดส้ ูงสุดเมื่อมีการจดั สภาพการเรียนรู้ที่ส่งเสริมกนั 2. ลกั ษณะที่เป็ นการจดั การเรียนรู้ให้ผเู้ รียนไดเ้ รียนดว้ ยตนเอง ประกอบดว้ ย ข้นั ตอนการวาง แผนการเรียน การปฏิบตั ิตามแผน และการประเมินผลการเรียน จดั เป็ นองคป์ ระกอบภายนอกที่ส่งผลต่อการ เรียนดว้ ยตนเองของผูเ้ รียน ซ่ึงการจดั การเรียนรู้แบบน้ีผูเ้ รียนจะได้ประโยชน์จากการเรียนมากท่ีสุด Knowles (1975) เสนอใหใ้ ชส้ ัญญาการเรียน (Learning contracts) เป็ นการมอบหมายภาระงานให้แก่ผเู้ รียน วา่ จะตอ้ งทาอะไรบา้ งเพือ่ ใหไ้ ดร้ ับความรู้ตามเป้ าประสงคแ์ ละผเู้ รียนจะปฏิบตั ิตามเงื่อนไขน้นั

11 องค์ประกอบของการเรียนรู้ด้วยตนเองมอี ะไรบ้าง องค์ประกอบของการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีดังนี้ 1. การวเิ คราะห์ความตอ้ งการของตนเอง 2. การกาหนดจุดมุง่ หมายในการเรียน โดยเริ่มจากบทบาทของผเู้ รียนเป็นสาคญั ผเู้ รียน ควรศึกษาจุดมุ่งหมายของวชิ า แลว้ เขียนจุดมุ่งหมายในการเรียนของตนใหช้ ดั เจน เนน้ พฤติกรรมท่ี คาดหวงั วดั ได้ มีความแตกต่างของจุดมุง่ หมายในแต่ละระดบั 3. การวางแผนการเรียน ใหผ้ เู้ รียนกาหนดแนวทางการเรียนตามวตั ถุประสงคท์ ี่ระบุไว้ จดั เน้ือหาใหเ้ หมาะสมกบั สภาพความตอ้ งการและความสนใจของตน ระบุการจดั การเรียนรู้ให้ เหมาะสมกบั ตนเองมากที่สุด 4. การแสวงหาแหล่งวทิ ยาการท้งั ที่เป็นวสั ดุและบุคคล 4.1 แหล่งวทิ ยาการท่ีเป็นประโยชนใ์ นการศึกษาคน้ ควา้ เช่น หอ้ งสมุด พิพิธภณั ฑ์ เป็นตน้ 4.2 ทกั ษะต่าง ๆ ท่ีมีส่วนช่วยในการแสวงแหล่งวทิ ยาการไดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเร็ว เช่น ทกั ษะการต้งั คาถาม ทกั ษะการอา่ น เป็นตน้ 5. การประเมินผล ควรประเมินผลการเรียนดว้ ยตนเองตามท่ีกาหนดจุดมุ่งหมายของการ เรียนไว้ และใหส้ อดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคเ์ กี่ยวกบั ความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะ ทศั นคติ ค่านิยม มี ข้นั ตอนในการประเมิน คือ 5.1 กาหนดเป้ าหมาย วตั ถุประสงคใ์ หช้ ดั เจน 5.2 ดาเนินการใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคซ์ ่ึงเป็นส่ิงสาคญั 5.3 รวบรวมหลกั ฐานจากผลการประเมินเพือ่ ตดั สินใจซ่ึงตอ้ งต้งั อยบู่ นพ้ืนฐานของ ขอ้ มูลท่ีสมบูรณ์และเช่ือถือได้ 5.4 เปรียบเทียบขอ้ มูลก่อนเรียนกบั หลงั เรียนเพ่ือดูวา่ ผเู้ รียนมีความกา้ วหนา้ เพียงใด 5.5 ใชแ้ หล่งขอ้ มลู จากครูและผเู้ รียนเป็นหลกั ในการประเมิน องค์ประกอบของการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียนควรมกี ารวเิ คราะห์ความต้องการ วเิ คราะห์ เนือ้ หา กาหนดจุดมุ่งหมายและการวางแผนในการเรียน มคี วามสามารถในการแสวงหาแหล่ง วทิ ยาการ และมวี ธิ ีในการประเมนิ ผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมเี พอื่ นเป็ นผู้ร่วมเรียนรู้ไปพร้อม กนั และมีครูเป็ นผู้ชี้แนะ อานวยความสะดวก และให้คาปรึกษา ท้งั นี้ ครูอาจต้องมีการวเิ คราะห์ ความพร้อมหรือทกั ษะทจี่ าเป็ นของผู้เรียนในการก้าวสู่การเป็ นผู้เรียนรู้ด้วยตนเองได้

12 กจิ กรรม กจิ กรรมที่ 1 ใหอ้ ธิบายความหมายของคาวา่ “การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง” โดยสงั เขป กจิ กรรมที่ 2 ใหอ้ ธิบาย “ความสาคญั ของการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง” โดยสังเขป กจิ กรรมที่ 3 ใหส้ รุปสาระสาคญั ของ “ลกั ษณะการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง” มาพอสงั เขป กจิ กรรมที่ 4 ใหส้ รุปสาระสาคญั ของ “องคป์ ระกอบของการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง” มาพอสงั เขป กระบวนการของการเรียนรู้ด้วยตนเอง กระบวนการของการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ความรับผดิ ชอบในการเรียนรู้ดว้ ยตนเองของผเู้ รียน เป็นสิ่ง สาคญั ที่จะนาผเู้ รียนไปสู่การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เพราะความรับผดิ ชอบในการเรียนรู้ดว้ ยตนเองน้นั หมายถึง การที่ผเู้ รียนควบคุมเน้ือหา กระบวนการ องคป์ ระกอบของสภาพแวดลอ้ มในการเรียนรู้ของตนเอง ไดแ้ ก่ การวางแผนการเรียนของตนเอง โดยอาศยั แหล่งทรัพยากรทางความรู้ตา่ ง ๆ ท่ีจะช่วยนาแผนสู่การปฏิบตั ิ แต่ภายใตค้ วามรับผดิ ชอบของผเู้ รียน ผเู้ รียนรู้ดว้ ยตนเองตอ้ งเตรียมการวางแผนการเรียนรู้ของตน และเลือก ส่ิงท่ีจะเรียนจากทางเลือกที่กาหนดไว้ รวมท้งั วางโครงสร้างของแผนการเรียนรู้ของตนอีกดว้ ย ในการวางแผน การเรียนรู้ ผเู้ รียนตอ้ งสามารถปฏิบตั ิงานที่กาหนด วนิ ิจฉยั ความช่วยเหลือที่ตอ้ งการ และทาใหไ้ ดค้ วาม ช่วยเหลือน้นั สามารถเลือกแหล่งความรู้ วเิ คราะห์ และวางแผนการการเรียนท้งั หมด รวมท้งั ประเมิน ความกา้ วหนา้ ในการเรียนของตน ในการเรียนรู้ด้วยตนเองผ้เู รียนและครูควรมีบทบาทอย่างไร การเปรียบเทยี บบทบาทของครูและผู้เรียนตามกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง บทบาทของผ้เู รียนในการเรียนรู้ด้วยตนเอง บทบาทของครูในการเรียนรู้ด้วยตนเอง 1. การวเิ คราะห์ความต้องการในการเรียน 1. การวเิ คราะห์ความต้องการในการเรียน  วนิ ิจฉยั การเรียนรู้  สร้างความคุน้ เคยใหผ้ เู้ รียนไวว้ างใจ เขา้ ใจ  วนิ ิจฉยั ความตอ้ งการในการเรียนรู้ของตน บทบาทครู บทบาทของตนเอง  รับรู้และยอมรับความสามารถของตน  วเิ คราะห์ความตอ้ งการการเรียนรู้ของผเู้ รียน  มีความรับผดิ ชอบในการเรียนรู้ และพฤติกรรมที่ตอ้ งการให้เกิดแก่ผเู้ รียน  สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่พอใจดว้ ยตนเอง  กาหนดโครงสร้างคร่าว ๆ ของหลกั สูตร  มีส่วนร่วมในการระบุความตอ้ งการในการเรียน ขอบเขตเน้ือหากวา้ ง ๆ สร้างทางเลือกท่ีหลากหลาย  เลือกส่ิงที่จะเรียนจากทางเลือกต่าง ๆ ที่กาหนด  สร้างบรรยากาศใหเ้ กิดความตอ้ งการการเรียน  วางโครงสร้างของโครงการเรียนของตน

13 บทบาทของผู้เรียนในการเรียนรู้ด้วยตนเอง บทบาทของครูในการเรียนรู้ด้วยตนเอง  วเิ คราะห์ความพร้อมในการเรียนรู้ของผเู้ รียน 2. การกาหนดจุดมุ่งหมายในการเรียน โดยการตรวจสอบความพร้อมของผเู้ รียน  ฝึกการกาหนดจุดมุง่ หมายในการเรียน  มีส่วนร่วมในการตดั สินใจในทางเลือกน้นั  รู้จุดมุ่งหมายในการเรียน และเรียนใหบ้ รรลุ  แนะนาขอ้ มลู ใหผ้ เู้ รียนคิด วเิ คราะห์เอง จุดมุง่ หมาย  ร่วมกนั พฒั นาเป้ าหมายการเรียนรู้ 2. การกาหนดจุดมุ่งหมายในการเรียน  กาหนดจุดมุง่ หมายจากความตอ้ งการของตน  กาหนดโครงสร้างคร่าวๆ วตั ถุประสงคก์ าร เรียนของวชิ า 3. การออกแบบแผนการเรียน  ช่วยใหผ้ เู้ รียนเปล่ียนความตอ้ งการที่มีอยใู่ ห้  ฝึกการทางานอยา่ งมีข้นั ตอนจากง่ายไปยาก เป็นจุดมุง่ หมายการเรียนรู้ท่ีวดั ไดเ้ ป็นไดจ้ ริง  การใชย้ ทุ ธวธิ ีที่เหมาะสมในการเรียน  เปิ ดโอกาสใหม้ ีการระดมสมอง ร่วมแสดง  มีความรับผดิ ชอบในการดาเนินงานตามแผน ความคิดเห็นและการนาเสนอ  ร่วมมือ ร่วมใจรับผดิ ชอบการทางานกลุ่ม  แนะนาขอ้ มูลใหผ้ เู้ รียนคิด วเิ คราะห์เอง  รับผดิ ชอบควบคุมกิจกรรมการเรียนรู้ของ ตนเองตามแผนการเรียนท่ีกาหนดไว้ 3. การออกแบบแผนการเรียน  เตรียมความพร้อมโดยจดั ประสบการณ์การ 4. การแสวงหาแหล่งวิทยาการ เรียนรู้ เสริมทกั ษะท่ีจาเป็นในการเรียนรู้  ฝึกคน้ หาความรู้ตามที่ไดร้ ับมอบหมายจาก  มีส่วนร่วมในการตดั สินใจ วธิ ีการทางาน ตอ้ ง แหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย ทราบวา่ เรื่องใดใชว้ ธิ ีใด สอนอยา่ งไร มีส่วนร่วม  กาหนดบุคคล และสื่อการเรียนที่เก่ียวขอ้ ง ตดั สินใจเพียงใด  มีส่วนร่วมในการสืบคน้ ขอ้ มลู ร่วมกบั เพื่อนๆ  ยวั่ ยใุ หเ้ กิดพฤติกรรมการเรียนรู้ ดว้ ยความรับผดิ ชอบ  ผปู้ ระสานสิ่งท่ีตนเองรู้กบั ส่ิงท่ีผเู้ รียนตอ้ งการ  แนะนาขอ้ มลู ใหผ้ เู้ รียนคิด วเิ คราะห์เองจนได้ แนวทางที่แจม่ แจง้ สร้างทางเลือกท่ีหลากหลาย ใหผ้ เู้ รียนเลือกปฏิบตั ิตามแนวทางของตน 4. การแสวงหาแหล่งวทิ ยาการ  สอนกลยทุ ธ์การสืบคน้ ขอ้ มูล ถ่ายทอดความรู้ ถา้ ผเู้ รียนตอ้ งการ  กระตุน้ ความสนใจช้ีแหล่งความรู้ แนะนาการใชส้ ื่อ  จดั รูปแบบเน้ือหา ส่ือการเรียนท่ีเหมาะสม บางส่วน

14 บทบาทของผู้เรียนในการเรียนรู้ด้วยตนเอง บทบาทของครูในการเรียนรู้ด้วยตนเอง  เลือกใชป้ ระโยชน์จากกิจกรรมและยทุ ธวธิ ีท่ีมี  สังเกต ติดตาม ใหค้ าแนะนาเมื่อผเู้ รียนเกิด ประสิทธิภาพเพอ่ื ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคท์ ่ีกาหนด ปัญหาและตอ้ งการคาปรึกษา 5. การประเมินผลการเรียนรู้ 5. การประเมินผลการเรียนรู้  ฝึกการประเมินผลการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง  ใหค้ วามรู้และฝึกผเู้ รียนในการประเมินผลการ  มีส่วนร่วมในการประเมินผล เรียนรู้ท่ีหลากหลาย  ผเู้ รียนประเมินผลสมั ฤทธ์ิดว้ ยตนเอง  เปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียนนาเสนอวธิ ีการ เกณฑ์ ประเมินผล และมีส่วนร่วมในการตดั สินใจ  จดั ทาตารางการประเมินผลท่ีจะใชร้ ่วมกนั  แนะนาวธิ ีการประเมินเมื่อผเู้ รียนมีขอ้ สงสยั จะเห็นไดว้ า่ ท้งั ผเู้ รียนและครูตอ้ งมีการวินิจฉัยความตอ้ งการส่ิงที่จะเรียน ความพร้อมของ ผเู้ รียนเก่ียวกบั ทกั ษะท่ีจาเป็ นในการเรียน การกาหนดเป้ าหมาย การวางแผนการเรียนรู้ การแสวงหา แหล่งวทิ ยาการ การประเมินผลการเรียนรู้ ซ่ึงครูเป็ นผฝู้ ึ กฝน ใหแ้ รงจูงใจ แนะนา อานวยความสะดวก โดยเตรียมการเบ้ืองหลงั และใหค้ าปรึกษา ส่วนผเู้ รียนตอ้ งเป็ นผเู้ ริ่มตน้ ปฏิบตั ิ ดว้ ยความกระตือรือร้น เอาใจใส่ และมีความรับผิดชอบ กระทาอยา่ งต่อเนื่องดว้ ยตนเอง เรียนแบบมีส่วนร่วม จึงทาให้ผเู้ รียน เป็ นผเู้ รียนรู้ดว้ ยตนเองได้ ดงั หลกั การที่วา่ “การเรียนรู้ตอ้ งเร่ิมตน้ ที่ตนเอง” และศกั ยภาพอนั พร้อมท่ี จะเจริญเติบโตดว้ ยตนเองน้นั ผเู้ รียนควรนาหวั ใจนกั ปราชญ์ คือ สุ จิ ปุ ลิ หรือ ฟัง คิด ถาม เขียน มาใชใ้ นการสังเคราะห์ความรู้ นอกจากน้ี กระบวนการเรียนรู้ในบริบททางสังคม จะเป็ นพลงั อนั หน่ึง ในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ซ่ึงเป็นการเรียนรู้ในสภาพชีวิตประจาวนั ที่ตอ้ งอาศยั สภาพแวดลอ้ มมีส่วนร่วม ในกระบวนการ ทาให้เกิดบรรยากาศการแลกเปล่ียน พ่ึงพากนั แต่ภายใตค้ วามเป็ นอิสระในทางเลือก ของผเู้ รียนดว้ ยวิจารณญาณที่อาศยั เหตุผล ประสบการณ์ หรือคาช้ีแนะ จากผรู้ ู้ ครู และผเู้ รียนจึงเป็ น ความรับผดิ ชอบร่วมกนั ตอ่ ความสาเร็จในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ลกั ษณะสาคัญในการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน มีดงั น้ี 1. การมีส่วนร่วมในการวางแผน การปฏิบตั ิตามแผน และการประเมินผลการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ ผเู้ รียนมี ส่วนร่วมวางแผนกิจกรรมการเรียนรู้บนพ้นื ฐานความตอ้ งการของกลุ่มผเู้ รียน 2. การเรียนรู้ท่ีคานึงถึงความสาคญั ของผเู้ รียนเป็นรายบุคคล ไดแ้ ก่ ความแตกตา่ งในความสามารถ ความรู้พ้ืนฐาน ความสนใจเรียน วธิ ีการเรียนรู้ จดั เน้ือหาและสื่อใหเ้ หมาะสม

15 3. การพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ไดแ้ ก่ การสืบคน้ ขอ้ มูล ฝึกเทคนิคที่จาเป็น เช่น การสังเกต การอ่านอยา่ งมีจุดประสงค์ การบนั ทึก เป็นตน้ 4. การพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ซ่ึงกนั และกนั ไดแ้ ก่ การกาหนดใหผ้ เู้ รียนแบ่งความรับผิดชอบใน กระบวนการเรียนรู้ การทางานเด่ียว และเป็นกลุ่มท่ีมีทกั ษะการเรียนรู้ตา่ งกนั 5. การพฒั นาทกั ษะการประเมินตนเองและการร่วมมือในการประเมินกบั ผอู้ ่ืน ไดแ้ ก่ การใหผ้ เู้ รียน เขา้ ใจความตอ้ งการในการประเมิน ยอมรับการประเมินจากผอู้ ่ืน เปิ ดโอกาสใหป้ ระเมินหลายรูปแบบ กระบวนการในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เป็นวธิ ีการท่ีผเู้ รียนตอ้ งจดั กระบวนการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง โดย ดาเนินการ ดงั น้ี 1. การวนิ ิจฉยั ความตอ้ งการในการเรียน 2. การกาหนดจุดมุง่ หมายในการเรียน 3. การออกแบบแผนการเรียน : โดยเขียนสัญญาการเรียน, เขียนโครงการเรียนรู้ 4. การดาเนินการเรียนรู้จากแหล่งวทิ ยาการ 5. การประเมินผล การตอบสนองของผเู้ รียนและครูตามกระบวนการในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง มีดงั น้ี ข้นั ตอน การตอบสนองของผู้เรียน การตอบสนองของครู 1. วนิ ิจฉยั ความตอ้ งการในการ เรียนรู้ของผเู้ รียน 1. ศึกษา ทาความเขา้ ใจ คาอธิบาย 1. กระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนตระหนกั ถึง 2. กาหนดจุดมุ่งหมายใน รายวชิ า ความจาเป็นในการเรียนรู้ดว้ ย การเรียน 2. วนิ ิจฉยั ความตอ้ งการในการ ตนเอง เรียนของตนเอง ท้งั รายวชิ าและ 2. วเิ คราะห์คาอธิบายรายวชิ า รายหวั ขอ้ การเรียน จุดประสงค์ เน้ือหา กิจกรรมและ 3. แบง่ กลุ่มอภิปรายเกี่ยวกบั การประเมินการเรียนรายวชิ า ความตอ้ งการในการเรียนเพ่ือให้ 3. อธิบายใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจ ผเู้ รียนแต่ละคนมน่ั ใจในการ คาอธิบายรายวชิ า วนิ ิจฉยั ความตอ้ งการในการเรียน 4. ใหค้ าแนะนาแก่ผเู้ รียนในการ ของตนเอง วนิ ิจฉยั ความตอ้ งการในการเรียน 5. อานวยความสะดวกในการ เรียนแบบร่วมมือในกลุ่ม 1. ผเู้ รียนแต่ละคนเขียน 1. ใหค้ าแนะนาแก่ผเู้ รียนในการ จุดมุง่ หมาย การเรียนในแตล่ ะ เขียนจุดมุ่งหมายการเรียนที่ หวั ขอ้ การเรียน ที่วดั ไดส้ อดคลอ้ ง ถูกตอ้ ง กบั ความตอ้ งการในการเรียนของ ผเู้ รียนและอธิบายรายวชิ า

16 ข้นั ตอน การตอบสนองของผู้เรียน การตอบสนองของครู 3. วางแผนการเรียนโดยเขียน สัญญาการเรียน 1. ทาความเขา้ ใจเก่ียวกบั ความ 1. ใหค้ าแนะนาแก่ผเู้ รียนเก่ียวกบั 4. เขียนโครงการเรียนรู้ จาเป็นและวธิ ีการวางแผนการ ความจาเป็นและวธิ ีการวางแผน 5. ดาเนินการเรียนรู้ เรียน การเรียน 2. เขียนสัญญาการเรียนท่ี 2. ใหค้ าแนะนาผเู้ รียนในการเขียน สอดคลอ้ งกบั คาอธิบายรายวิชา สญั ญาการเรียน รวมท้งั ความตอ้ งการและความ สนใจของตนเอง ในการเรียน แต่ละคร้ัง 1. ร่วมกบั ผสู้ อนและเพือ่ นเขียน 1. ใหค้ าแนะนาในการเขียน โครงการเรียนรู้ของท้งั ช้นั โดย โครงการเรียนรู้รายวชิ า พิจารณาจากโครงการเรียนรู้ที่ 2. พิจารณาโครงการเรียนรู้ ผสู้ อนร่างมาและสัญญาการเรียน ร่วมกบั ผเู้ รียนโดยกระตุน้ ให้ ของทุกคน ผเู้ รียนแสดงความคิดเห็นอยา่ ง ทวั่ ถึง 3. ร่วมกบั ผเู้ รียนสรุปโครงการ เรียนรู้ใหเ้ หมาะสม 1. ทบทวนความรู้เดิมของตนเองที่ 1. ทดสอบความรู้เดิมของผเู้ รียน จาเป็นสาหรับการสร้างความรู้ โดยใชเ้ ทคนิคการต้งั คาถามหรือ ใหม่ โดยการตอบคาถามหรือทา ทดสอบ แบบทดสอบ 2. ใหค้ วามรู้เสริม เพื่อใหแ้ น่ใจวา่ 2. ผเู้ รียนแตล่ ะคน ดาเนินการ ผเู้ รียนจะสามารถเช่ือมโยงความรู้ เรียนตามสญั ญาการเรียนอยา่ ง เดิมกบั ความรู้ใหม่ได้ กระตือรือร้น โดยการสืบคน้ และ 3. ต้งั คาถามเพ่อื กระตุน้ ใหผ้ เู้ รียน แสวงหาความรู้เพ่ือสนองตอบ คน้ หา คาตอบและประมวล ความตอ้ งการในการเรียนดว้ ย คาตอบดว้ ยตนเอง วธิ ีการที่หลากหลาย และใชแ้ หล่ง 4. สร้างบรรยากาศที่ส่งเสริม ทรัพยากรการเรียนท่ีเหมาะสม การเรียน ตามความตอ้ งการของตนเอง โดย 5. ใหค้ าปรึกษา ใหข้ อ้ มลู นาความรู้และประสบการณ์เดิม ช่วยเหลือ และอานวยความ ท่ีเก่ียวขอ้ งกนั มาใชใ้ นการคน้ หา สะดวกในกิจกรรมการเรียนของ คาตอบ ผเู้ รียนตามความจาเป็นและความ

17 ข้นั ตอน การตอบสนองของผู้เรียน การตอบสนองของครู 5. ดาเนินการเรียนรู้ (ต่อ) 3. แบง่ กลุ่มเรียนแบบร่วมมือ เพ่อื ตอ้ งการของผเู้ รียน ศึกษาในประเด็นท่ีตอ้ งตอบ 6. กระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนใชค้ วามรู้และ คาถาม โดยการปรับจุดมุง่ หมาย ประสบการณ์เดิมท่ีเก่ียวขอ้ งกนั ในการเรียนของ ผเู้ รียนแตล่ ะคน มาใชใ้ นการคน้ หาคาตอบ โดยให้ เป็นของกลุ่ม แลว้ แบ่งบทบาท ยกตวั อยา่ งหรือเปรียบเทียบ หนา้ ท่ีเพ่ือแสวงหาความรู้ โดยใช้ เหตุการณ์ที่เกี่ยวขอ้ งกบั เร่ือง เทคนิคการต้งั คาถามเพ่ือนาไปสู่ ที่เรียน การหาคาตอบ ท้งั น้ีกลุ่มผเู้ รียนแต่ 7. ติดตามในการเรียนของผเู้ รียน ละกลุ่มอาจมีรูปแบบในการทา ตามสญั ญาการเรียนและให้ กลุ่มท่ีแตกต่างกนั คาแนะนา 4. ใชค้ วามคิดอยา่ งเตม็ ที่ 8. ติดตามเป็นระยะ ๆ และให้ มีปฏิสมั พนั ธ์ โตต้ อบ คดั คา้ น ขอ้ มลู ป้ อนกลบั แก่ผเู้ รียน สนบั สนุน และ แลกเปลี่ยนความ 9. บนั ทึกปัญหาและขอ้ ขดั ขอ้ ง คิดเห็นและความรู้สึกท่ีเปิ ดกวา้ ง ตา่ ง ๆในการดาเนินกิจกรรมการ ในกลุ่ม และรับฟังความคิดเห็น เรียนเพ่ือเสนอแนะการปรับปรุง ของผอู้ ื่น เพื่อหาแนวทาง ใหด้ ีข้ึน การไดม้ าซ่ึงคาตอบท่ีตอ้ งการ 10. ใหอ้ ิสระแก่ผเู้ รียนในการทา ของตนเองและของกลุ่ม กิจกรรม และกระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนมี 5. แสดงความสามารถของตนเอง ส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน และยอมรับความสามารถของ อยา่ งเตม็ ท่ี ยอมรับฟังความ ผอู้ ื่น คิดเห็นของผเู้ รียน และไมต่ ดั สิน 6. ตดั สินใจ และช่วยแกป้ ัญหา วา่ ความคิดเห็นของผเู้ รียนไม่ ต่างๆท่ีเกิดข้ึนในกิจกรรมการ ถูกตอ้ ง เรียน 11. กระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนส่ือสาร 7. ฝึกปฏิบตั ิทกั ษะที่ตอ้ งศึกษา ความรู้ความ เขา้ ใจและแนวคิด ตามจุดมุ่งหมายการเรียน ของตนเองใหผ้ อู้ ื่น เขา้ ใจอยา่ ง 8. ขอความช่วยเหลือจากผสู้ อน ชดั เจน ตามความเหมาะสม

18 ข้นั ตอน การตอบสนองของผ้เู รียน การตอบสนองของครู 5. ดาเนินการเรียนรู้ (ต่อ) 9. ปรึกษาผสู้ อนเป็ นระยะๆ ตามท่ี 12. กระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนมีส่วนร่วม ระบุไวใ้ นสญั ญาการเรียนเพื่อขอ ในการอภิปรายแลกเปลี่ยนความ คาแนะนา ช่วยเหลือ คิดเห็นอยา่ งกวา้ งขวางท้งั ในกลุ่ม 10. ปรับเปล่ียนการดาเนินการเรียน และช้นั เรียน ตามความเหมาะสม และบนั ทึกสิ่งที่ 13. สังเกตการเรียนของผเู้ รียน ปรับเปลี่ยนลงในสัญญาการเรียน บนั ทึก พฤติกรรมและ ใหช้ ดั เจน และนาไปเป็นขอ้ มลู ใน กระบวนการเรียนของผเู้ รียน การวนิ ิจฉยั ตนเองเพ่ือต้งั รวมท้งั เหตุการณ์ที่ส่งผลตอ่ การ จุดมุง่ หมายในการเรียนคร้ังต่อไป เรียน 11. อภิปรายและสรุปความรู้ที่ไดใ้ น 14. กระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนสรุปความรู้ กลุ่ม ความเขา้ ใจในบทเรียนดว้ ยตนเอง 12. นาเสนอวธิ ีการเรียนและความรู้ 15. กลนั่ กรอง แกไ้ ข และเสริม ท่ีไดต้ ่อท้งั ช้นั โดยใชร้ ูปแบบใน สาระสาคญั ของบทเรียนใหช้ ดั เจน การแสดงออกในส่ิงที่ตนไดเ้ รียนรู้ และครอบคลุมจุดมุง่ หมายการ ที่หลากหลาย เรียน 13. อภิปราย แสดงความคิดเห็น 16. ร่วมกบั ผเู้ รียนอภิปราย สะทอ้ นความรู้สึกและให้ เกี่ยวกบั วธิ ีการเรียนที่มี ขอ้ เสนอแนะเก่ียวกบั วธิ ีการเรียน ประสิทธิภาพ ส่ิงท่ีสนบั สนุนและ ดว้ ยตนเองที่มีประสิทธิภาพ ส่ิง สิ่งที่ขดั ขวางการเรียน สนบั สนุนและส่ิงขดั ขวางการเรียน การ เรียน 14. ร่วมกนั สรุปประเด็นความรู้ท่ีได้ ในช้นั เรียน 15. เขียนรายงานผลการเรียนท้งั ใน ดา้ นเน้ือหาและวธิ ีการเรียน รวมท้งั ความรู้สึกเกี่ยวกบั ความสาเร็จ หรือไม่สาเร็จในการเรียนเป็ น รายบุคคลและรายกลุ่ม

19 ข้นั ตอน การตอบสนองของผ้เู รียน การตอบสนองของครู 6. ประเมินผลการเรียนรู้ 1. ประเมินผลการเรียนของตนเอง 1. กระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนตรวจสอบ โดยเปรียบเทียบกบั จุดมุง่ หมายใน ความรู้ความเขา้ ใจของตนเอง การเรียนของตนเอง ตลอดเวลา 2. ใหเ้ พือ่ นและครูช่วยสะทอ้ นผล 2. ประเมินการเรียนของผเู้ รียน การเรียน จากการสงั เกตพฤติกรรมในการ 3. ใหข้ อ้ มลู ป้ อนกลบั แก่เพื่อนใน เรียน ความสามารถในการเรียน กลุ่ม ตามสญั ญาการเรียน และผลงาน ในแฟ้ มสะสมงาน 3. ให้ขอ้ มูลป้ อนกลบั แก่ผูเ้ รียน รายบุคคลและรายกลุ่มเก่ียวกับ กระบวนการเรียนดว้ ยตนเองและ พฤติกรรมในการเรียนรวมท้งั ให้ ขอ้ เสนอแนะตามความ เหมาะสม ลกั ษณะที่เป็ นการจดั การเรียนรู้ให้ผูเ้ รียนไดเ้ รียนดว้ ยตนเองตามกระบวนการในการเรียนรู้ดว้ ย ตนเอง โนลส์ ( knowles 1975 ) เสนอใหใ้ ชส้ ัญญาการเรียน ( Learning Contract ) ซ่ึงเป็ นการมอบหมาย ภาระงานให้กบั ผูเ้ รียนวา่ จะตอ้ งทาอะไรบา้ ง เพ่ือให้ไดร้ ับความรู้ตามเป้ าประสงคแ์ ละผเู้ รียนจะปฏิบตั ิตาม เง่ือนไขน้นั การจัดทาสัญญาการเรียน (Learning Contract) คาว่า สัญญา โดยทวั่ ไปหมายถึง ขอ้ ตกลงระหวา่ งบุคคล 2 ฝ่ าย หรือหลายฝ่ ายว่าจะทาการหรือ งดเวน้ กระทาการอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง ความจริงน้นั ในระบบการจดั การเรียนรู้ก็มีการทาสัญญากนั ระหวา่ งครู กบั ผเู้ รียน แต่ส่วนมากไม่ไดเ้ ป็ นลายลกั ษณ์อกั ษรวา่ ถา้ ผเู้ รียนทาไดอ้ ยา่ งน้นั แลว้ ผูเ้ รียนจะไดร้ ับอะไรบา้ ง ตามขอ้ ตกลง สัญญาการเรียน จะเป็ นเคร่ืองมือท่ีช่วยใหผ้ เู้ รียนสามารถกาหนดแนวการเรียนของตวั เองไดด้ ี ยงิ่ ข้ึน ทาใหป้ ระสบผลสาเร็จตามจุดมุง่ หมายและเป็นเครื่องยนื ยนั ท่ีเป็นรูปธรรม คาวา่ สญั ญา แปลตามพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน แปลวา่ “ขอ้ ตกลงกนั ” ดงั น้นั สัญญาการ เรียน ก็คือขอ้ ตกลงท่ีผเู้ รียนได้ทาไวก้ บั ครูวา่ เขาจะปฏิบตั ิอย่างไรบา้ งในกระบวนการเรียนรู้เพ่ือให้บรรลุ จุดมุง่ หมายของหลกั สูตรนนั่ เอง สญั ญาการเรียนเป็นรูปแบบของการเรียนรู้ที่แสดงหลกั ฐานของการเรียนรู้โดยใชแ้ ฟ้ มสะสมผลงาน หรือ Portfolio

20 1. แนวคิด การจดั การเรียนรู้ในระบบ เป็ นการเรียนรู้ท่ีครูเป็ นผกู้ าหนดรูปแบบ เน้ือหา กิจกรรมเป็ นส่วนใหญ่ ผเู้ รียนเป็นแต่เพียงผปู้ ฏิบตั ิตาม ไม่ไดม้ ีโอกาสในการมีส่วนร่วมในการวางแผนการเรียน นกั การศึกษาท้งั ใน ตะวนั ตกและแอฟริกา มองเห็นว่าระบบการศึกษาแบบน้ีเป็ นระบบการศึกษาของพวกจกั รพรรดินิยมหรือ เป็ นการศึกษาของพวกชนช้นั สูงบา้ ง เป็ นระบบการศึกษาของผูถ้ ูกกดขี่บา้ ง สรุปแลว้ ก็คือระบบการศึกษา แบบน้ีไม่ไดฝ้ ึ กคนให้เป็ นตวั ของตวั เอง ไม่ไดฝ้ ึ กให้คนรู้จกั พ่ึงตนเอง จึงมีผพู้ ยายามท่ีจะเปลี่ยนแนวคิด ทางการศึกษาใหม่ อย่างเช่นระบบการศึกษาที่เน้นการฝึ กให้คนได้รู้จกั พ่ึงตนเองในประเทศแทนซาเนีย การศึกษาท่ีใหค้ นคิดเป็ นในประเทศไทยเราเหล่าน้ีเป็ นตน้ รูปแบบของการศึกษาในอนาคต ควรจะมุ่งไปสู่ ตวั ผเู้ รียนมากกวา่ ตวั ผสู้ อน เพราะวา่ ในโลกปัจจุบนั วทิ ยาการใหม่ ๆ ไดเ้ จริญกา้ วหนา้ ไปอยา่ งรวดเร็วมีหลาย สิ่งหลายอย่างที่มนุษยจ์ ะตอ้ งเรียนรู้ ถา้ จะให้แต่มาคอยบอกกนั คงทาไม่ได้ ดงั น้นั ในการเรียนจะตอ้ งมีการ ฝึกฝนใหค้ ิดใหร้ ู้จกั การหาวธิ ีการที่ไดศ้ ึกษาสิ่งท่ีคนตอ้ งการ กล่าวง่าย ๆ กค็ ือ ผเู้ รียนท่ีไดร้ ับการศึกษาแบบที่ เรียกวา่ เรียนรู้เพอื่ การเรียนในอนาคต 2. ทาไมจะต้องมีการทาสัญญาการเรียน ผลจากการวิจยั เก่ียวกบั การเรียนรู้ของผใู้ หญ่ พบวา่ ผูใ้ หญ่จะเรียนไดด้ ีที่สุดก็ต่อเมื่อการเรียนรู้ดว้ ย ตนเอง ไม่ใช่การบอกหรือการสอนแบบที่เป็ นโรงเรียน และผลจากการวิจยั ทางดา้ นจิตวิทยายงั พบอีกว่า ผใู้ หญม่ ีลกั ษณะที่เด่นชดั ในเร่ืองความตอ้ งการที่จะทาอะไรดว้ ยตนเองโดยไม่ตอ้ งมีการสอนหรือการช้ีแนะ มากนกั อย่างไรก็ดีเม่ือพูดถึงระบบการศึกษาก็ยอ่ มจะตอ้ งมีการกล่าวถึงคุณภาพของบุคคลท่ีเขา้ มาอยใู่ น ระบบการศึกษา จึงมีความจาเป็นท่ีจะตอ้ งกาหนดกฎเกณฑข์ ้ึนมาเพ่ือเป็ นมาตรฐาน ดงั น้นั ถึงแมจ้ ะให้ผเู้ รียน เรียนรู้ด้วยตนเองก็ตามก็จาเป็ นจะต้องสร้างมาตรการข้ึนมาเพ่ือการควบคุมคุณภาพของผูเ้ รียนเพ่ือให้ มีมาตรฐานตามท่ีสังคมยอมรับ เหตุน้ีสัญญาการเรียนจึงเขา้ มามีบทบาทในการเรียนการสอนเป็ นการวาง แผนการเรี ยนท่ีเป็ นระบบ ขอ้ ดีของสัญญาการเรียน คือเป็ นการประสานความคิดท่ีว่าการเรียนรู้ ควรให้ผูเ้ รียนกาหนดและ การศึกษาจะตอ้ งมีเกณฑม์ าตรฐานเขา้ ดว้ ยกนั เพราะในสญั ญาการเรียนจะบ่งระบุวา่ ผเู้ รียนตอ้ งการเรียน เร่ืองอะไรและจะวดั วา่ ได้บรรลุตามความมุ่งหมายแลว้ น้นั หรือไม่อยา่ งไร มีหลกั ฐานการเรียนรู้อะไรบา้ ง ที่บง่ บอกวา่ ผเู้ รียนมีผลการเรียนรู้อยา่ งไร 3. การเขยี นสัญญาการเรียน การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ซ่ึงเร่ิมจากการจดั ทาสญั ญาการเรียนจะมีลาดบั การดาเนินการ ดงั น้ี ข้นั ที่ 1 แจกหลกั สูตรใหก้ บั ผเู้ รียนในหลกั สูตรจะตอ้ งระบุ  จุดประสงคข์ องรายวชิ าน้ี  รายชื่อหนงั สืออา้ งอิงหรือหนงั สือสาหรับที่จะศึกษาคน้ ควา้  หน่วยการเรียนยอ่ ย พร้อมรายช่ือหนงั สืออา้ งอิง

21  ครูอธิบาย และทาความเข้าใจกับผูเ้ รียนในเรื่องหลักสูตร จุดมุ่งหมายและหน่วย การเรียนยอ่ ย ข้นั ที่ 2 แจกแบบฟอร์มของสัญญาการเรียน จุดมุ่งหมาย แหล่งวิทยาการ/วธิ ีการ หลกั ฐาน การประเมินผล เป็นส่วนท่ีระบุวา่ ผเู้ รียน เป็นส่วนที่ระบุวา่ ผเู้ รียน เป็นส่วนที่ระบุวา่ ผเู้ รียน เป็นส่วนท่ีมีสิ่งอา้ งอิง สามารถเกิดการเรียนรู้ ในระดบั ใด ตอ้ งการบรรลุผลสาเร็จ จะเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งไร หรือยนื ยนั ที่เป็ น ในเร่ืองอะไร อยา่ งไร จากแหล่งความรู้ใด รูปธรรมท่ีแสดงให้ เห็นวา่ ผเู้ รียนไดเ้ กิด การเรียนรู้แลว้ โดยเก็บ รวบรวมเป็นแฟ้ มสะสม งาน ข้นั ท่ี 3 อธิบายวธิ ีการเขียนขอ้ ตกลงในแบบฟอร์มแตล่ ะช่องโดยเร่ิมจาก  จุดมุง่ หมาย  วธิ ีการเรียนรู้หรือแหล่งวิทยาการ  หลกั ฐาน  การประเมินผล ข้นั ที่ 4 ถามปัญหาและขอ้ สงสัย ข้นั ท่ี 5 แจกตวั อยา่ งสัญญาการเรียนใหผ้ เู้ รียนคนละ 1 ชุด ข้นั ท่ี 6 อธิบายถึงการเขียนสัญญาการเรียน ผเู้ รียนลงมือเขียนขอ้ ตกลงโดยผเู้ รียนเอง โดยเขียนรายละเอียดท้งั 4 ช่องในแบบฟอร์ม สัญญาการเรียน นอกจากน้ีผูเ้ รียนยงั สามารถระบุระดบั การเรียนท้งั ในระดบั ดี ดีเย่ียม หรือปานกลาง ซ่ึง ผเู้ รียนมีความต้งั ใจท่ีจะบรรลุการเรียนในระดบั ดีเย่ียมหรือมีความต้งั ใจที่จะเรียนรู้ในระดบั ดี หรือพอใจ ผเู้ รียนก็ตอ้ งแสดงรายละเอียด ผเู้ รียนตอ้ งการแตร่ ะดบั ดี คือ ผเู้ รียนตอ้ งแสดงความสามารถตามวตั ถุประสงค์ ที่กล่าวไวใ้ นหลกั สูตรให้ครบถ้วน การทาสัญญาระดบั ดีเยี่ยม นอกจากผูเ้ รียนจะบรรลุวตั ถุประสงค์ตาม หลกั สูตรแลว้ ผูเ้ รียนจะตอ้ งแสดงความสามารถพิเศษเร่ืองใดเรื่องหน่ึงโดยเฉพาะ อนั มีส่วนเก่ียวขอ้ งกบั หลกั สูตร ข้นั ท่ี 7 ใหผ้ เู้ รียนและเพ่ือนพจิ ารณาสัญญาการเรียนใหเ้ รียบร้อย ต่อไปใหผ้ เู้ รียนเลือกเพอ่ื นในกลุ่ม 1 คน เพือ่ จะไดช้ ่วยกนั พิจารณาสัญญาการเรียนรู้ของท้งั 2 คน

22 ในการพจิ ารณาสัญญาการเรียนใหพ้ จิ ารณาตามหวั ขอ้ ต่อไปน้ี 1. จุดมุ่งหมายมีความแจ่มชดั หรือไม่ เขา้ ใจหรือไม่ เป็นไปไดจ้ ริงหรือไมบ่ อกพฤติกรรมท่ีจะใหเ้ กิด จริง ๆ หรือไม่ 2. มีจุดประสงคอ์ ื่นท่ีพอจะนามากล่าวเพิ่มเติมไดอ้ ีกหรือไม่ 3. แหล่งวชิ าการและวธิ ีการหาขอ้ มูลเหมาะสมเพยี งใด มีประสิทธิภาพเพยี งใด 4. มีวธิ ีการอื่นอีกหรือไม่ ที่สามารถนามาใชเ้ พอื่ การเรียนรู้ 5. หลกั ฐานการเรียนรู้มีความสอดคลอ้ งกบั จุดมุง่ หมายเพยี งใด 6. มีหลกั ฐานอื่นท่ีพอจะนามาแสดงไดอ้ ีกหรือไม่ 7. วธิ ีการประเมินผลหรือมาตรการที่ใชว้ ดั มีความเช่ือถือไดม้ ากนอ้ ยเพียงใด 8. มีวธิ ีการประเมินผลหรือมาตรการอื่นอีกบา้ งหรือไม่ ในการวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู้ ข้นั ท่ี 8 ให้ผเู้ รียนนาสญั ญาการเรียนไปปรับปรุงใหเ้ หมาะสมอีกคร้ังหน่ึง ข้นั ท่ี 9 ให้ผเู้ รียนทาสญั ญาการเรียนที่ปรับปรุงแลว้ ใหค้ รูและที่ปรึกษาตรวจดูอีกคร้ังหน่ึงฉบบั ที่ เรียบร้อยใหด้ าเนินการไดต้ ามที่เขียนไวใ้ นสญั ญาการเรียน ข้นั ท่ี 10 การเรียนก่อนที่จะจบเทอม 2 อาทิตย์ ใหผ้ เู้ รียนนาแฟ้ มสะสมงาน (แฟ้ มเก็บขอ้ มลู Portfolio) ตามท่ีระบุไวใ้ นสัญญาการเรียนมาแสดง ข้นั ท่ี 11 ครูและผเู้ รียนจะต้งั คณะกรรมการในการพจิ ารณาแฟ้ มสะสมงานท่ีผเู้ รียนนามาส่งและ ส่งคืนผเู้ รียนก่อนสิ้นภาคเรียน

23 แบบฟอร์มสัญญาการเรียน เขียนท่ี....................................................... วนั ท่ี.........เดือน........................พ.ศ. ............. ขา้ พเจา้ (นาย/นาง/นางสาว)...................................................เป็นนกั ศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอ...............................................ขอกาหนดเป้ าหมาย การเรียนในภาคเรียนท่ี........ปี การศึกษา.........คือขา้ พเจา้ จะทาใหผ้ ลการเรียนในรายวชิ า................................ ไดร้ ะดบั คะแนน............โดยการปฏิบตั ิดงั น้ี จุดมุ่งหมาย วธิ ีการเรียนรู้/ หลกั ฐาน การประเมินผล แหล่งวทิ ยาการ ตารางการกาหนดเป้ าหมายการทางานในแต่ละวนั (นาย/นาง/นางสาว)............................................................ วนั เดอื น เวลา เป้ าหมายทจี่ ะปฏบิ ตั ิ ผลการปฏิบัติ หมายเหตุ ปี สาเร็จ ไม่สาเร็จ

24 เป้ าหมายการเรียนของข้าพเจ้า ภาคเรียนท่ี ........ ปี การศึกษา................ รายวชิ าทล่ี งทะเบียนเรียน ระดบั คะแนนทคี่ าดหวงั ABCD รหัสวชิ า ช่ือวชิ า หน่วยกติ 4321 1. ................ .............................................................. ................. ........... ........... ........... ........... 2. ................ .............................................................. ................. ........... ........... ........... ........... 3. ................ .............................................................. ................. ........... ........... ........... ........... 4. ................ .............................................................. ................. ........... ........... ........... ........... 5. ................ .............................................................. ................. ........... ........... ........... ........... 6. ................ .............................................................. ................. ........... ........... ........... ........... . . รวม เกรดเฉลี่ย = …… โดยขา้ พเจา้ จะเริ่มปฏิบตั ิต้งั แต่ วนั ท่ี......เดือน.............พ.ศ. ......... ถึง วนั ท่ี......เดือน.............พ.ศ. ......... ขา้ พเจา้ ทาสัญญาฉบบั น้ีดว้ ยความสมคั รใจ เพ่ือยืนยนั ความต้งั ใจที่จะปฏิบตั ิตามแผนการเรียนรู้ จนสาเร็จ ลงช่ือ....................................ผทู้ าสัญญา () ลงช่ือ....................................พยาน () ลงชื่อ....................................พยาน () ลงชื่อ....................................คู่สญั ญา (..................................)

25 (ตัวอย่าง) การวางแผนการเรี ยนโดยใช้ สัญญาการเรี ยน จุดมุ่งหมาย วธิ ีการเรียนรู้/แหล่ง หลกั ฐาน การประเมินผล เพอ่ื ใหก้ ารเรียน วทิ ยาการ 1. ทารายงานยอ่ ใหเ้ พอื่ น 2 - 5 คน รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู้ 1. อา่ นเอกสารอา้ งอิงที่ ขอ้ คิดเห็นจากหนงั สือ ประเมินรายงานยอ่ และ ไดเ้ กรด B ท่ีอา่ น บนั ทึกการเรียน โดย เสนอแนะไวใ้ น ประเมินตามหวั ขอ้ หลกั สูตร 2. จดบนั ทึกการเรียน ตอ่ ไปน้ี 2. อา่ นหนงั สือที่ การอภิปราย 1. รายงานยอ่ ครอบคลุม เกี่ยวขอ้ งอ่ืน ๆ 3. สอบถามครู เมื่อพบ 3. ทากิจกรรมที่กาหนด เน้ือหามากพอที่จะใช้ ขอ้ ขอ้ งใจในช้นั เรียน ในหนงั สือ ในการสอบเพ่ือให้ หรือเม่ืออ่านหนงั สือ ไดเ้ กรดตามท่ีไดม้ ุง่ แลว้ เกิดความสงสยั หมายไว้ อนั เป็ นอุปสรรคตอ่ 54321 การทาความเขา้ ใจ 2. ทาตารางการกาหนด บทเรียน เป้ าหมายการทางาน 4. รวมกลุ่มรายงานและ ในแตล่ ะวนั โดยใหม้ ี อภิปรายกบั ผเู้ รียนอ่ืน ผลการปฏิบตั ิตาม หรือกลุ่มการเรียนอ่ืน เป้ าหมายดว้ ย 54321 3. รายงานมีความ ชดั เจนเพียงใด 54321 ฯลฯ ท่ านได้ เรี ยนร้ ู เกี่ยวกับสัญญาการเรี ยนท่ีเน้ นความรั บผิดชอบ ต่องานท่ีตนได้เป็ นผู้กาหนดไว้สาหรับการเรียนรู้ของตน...

26 การประเมินผลการเรียนโดยใช้แฟ้ มสะสมงาน การจดั ทาแฟ้ มสะสมงาน (Portfolio) เป็นวธิ ีการสาคญั ที่นามาใชใ้ นการวดั ผลและประเมินผลการ เรียนรู้ท่ีใหผ้ เู้ รียนเรียนรู้ดว้ ยตนเองโดยการจดั ทาแฟ้ มสะสมงานที่มีความเชื่อพ้นื ฐานที่สาคญั มาจากการให้ ผเู้ รียนเรียนรู้จากสภาพจริง (Authentic Learning) ซ่ึงมีสาระสาคญั พอสรุปไดด้ งั น้ี 1. ความเชื่อพนื้ ฐานของการเรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic Learning) 1.1 ความเชื่อเก่ียวกบั การจดั การศึกษา  มนุษยม์ ีสญั ชาตญาณท่ีจะเรียนรู้ มีความสามารถและมีความกระหายท่ีจะเรียนรู้  ภายใตบ้ รรยากาศของสภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้ืออานวยและการสนบั สนุนจะทาใหม้ นุษย์ สามารถที่จะริเร่ิมและเกิดการเรียนรู้ของตนเองได้  มนุษยส์ ามารถที่จะสร้างองคค์ วามรู้จากการปฏิสัมพนั ธ์กบั คนอื่นและจากส่ือที่มี ความหมายต่อชีวิต  มนุษยม์ ีพฒั นาการดา้ นร่างกาย ดา้ นอารมณ์ ดา้ นสงั คม และดา้ นสติปัญญาแตกตา่ งกนั 1.2 ความเชื่อเกี่ยวกบั การเรียนรู้  การเรียนรู้จะเร่ิมจากส่ิงที่เป็นรูปธรรมไปสู่นามธรรมโดยผา่ นกระบวนการการสารวจ ตนเอง การเสริมสร้างบรรยากาศของการเรียนรู้และการสร้างบริบทของสังคมใหผ้ เู้ รียนไดป้ ฏิสัมพนั ธ์กบั ผเู้ รียนอ่ืน  การเรียนรู้มีองคป์ ระกอบทางดา้ นปัญญาหลายดา้ นท้งั ในดา้ นภาษา คานวณ พ้ืนที่ ดนตรี การเคล่ือนไหว ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคคลและอ่ืน ๆ  การแสวงหาความรู้จะมีประสิทธิภาพมากยงิ่ ข้ึนถา้ อยใู่ นบริบทที่มีความหมายต่อชีวติ  การแสวงหาความรู้เป็นกระบวนการที่เกิดข้ึนตลอดชีวติ 1.3 ความเชื่อเกี่ยวกบั การสอน  การสอนจะตอ้ งยดึ ผเู้ รียนเป็นศูนยก์ ลาง  การสอนจะเป็ นท้งั รายบุคคลและรายกลุ่ม  การสอนจะยอมรับวฒั นธรรมท่ีแตกตา่ งกนั และวธิ ีการเรียนรู้ท่ีเป็นเอกลกั ษณ์ของ ผเู้ รียนแตล่ ะคน  การสอนกบั การประเมินเป็นกระบวนการต่อเน่ืองและเก่ียวขอ้ งซ่ึงกนั และกนั  การสอนจะตอ้ งตอบสนองต่อการขยายความรู้ที่ไมม่ ีที่สิ้นสุดของหลกั สูตรสาขาต่าง ๆ 1.4 ความเช่ือเกี่ยวกบั การประเมิน  การประเมินแบบนาคะแนนของผเู้ รียนจานวนมากมาเปรียบเทียบกนั มีคุณค่านอ้ ยต่อ การพฒั นาศกั ยภาพของผเู้ รียน  การประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ไม่ใช่ส่ิงสะทอ้ นความสามารถที่ มีอยใู่ นตวั ผเู้ รียน แต่จะสะทอ้ นถึงการปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคคลกบั สิ่งแวดลอ้ มและความสามารถที่แสดง ออกมา

27  การประเมินตามสภาพจริงจะใหข้ อ้ มลู และข่าวสารท่ีเที่ยงตรงเก่ียวกบั ผเู้ รียนและ กระบวนการทางการศึกษา 2. ความหมายของการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) การประเมินตามสภาพจริง เป็ นกระบวนการของการสังเกตการณ์ บนั ทึก การจดั ทาเอกสารที่ เกี่ยวกบั งานหรือภารกิจท่ีผเู้ รียนไดท้ า รวมท้งั แสดงวธิ ีการวา่ ไดท้ าอยา่ งไร เพื่อใชเ้ ป็ นขอ้ มูลพ้ืนฐานเกี่ยวกบั การตดั สินใจทางการศึกษาของผูเ้ รียนน้ัน การประเมินตามสภาพจริงมีความแตกต่างจากการประเมิน โครงการตรงท่ีการประเมินแบบน้ีไดใ้ ห้ความสาคญั กบั ผูเ้ รียนมากกว่าการให้ความสาคญั กบั ผล อนั ท่ีจะ เกิดข้ึนจากการดูคะแนนของกลุ่มผเู้ รียนและแตกต่างจากการทดสอบเนื่องจากเป็ นการวดั ผลการปฏิบตั ิจริง (Authentic Assessment) การประเมินตามสภาพจริงจะได้ข้อมูลสารสนเทศเชิงคุณภาพอย่างต่อเนื่องท่ี สามารถนามาใชใ้ นการแนะแนวการเรียนสาหรับผเู้ รียนแตล่ ะคนไดเ้ ป็นอยา่ งดี 3. ลกั ษณะทสี่ าคัญของการประเมนิ ตามสภาพจริง (Authentic Assessment)  ใหค้ วามสาคญั ขอบการพฒั นาและการเรียนรู้  เนน้ การคน้ หาศกั ยภาพนาเอามาเปิ ดเผย  ใหค้ วามสาคญั กบั จุดเด่นของผเู้ รียน  ยดึ ถือเหตุการณ์ในชีวติ จริง  เนน้ การปฏิบตั ิจริง  จะตอ้ งเชื่อมโยงกบั การเรียนการสอน  มุง่ เนน้ การเรียนรู้อยา่ งมีเป้ าหมาย  เป็นกระบวนการเกิดข้ึนอยา่ งต่อเนื่องในทุกบริบท  ช่วยใหม้ ีความเขา้ ใจในความสามารถของผเู้ รียนและวิธีการเรียนรู้  ช่วยใหเ้ กิดความร่วมมือท้งั ผปู้ กครอง พอ่ แม่ ครู ผเู้ รียนและบุคคลอื่น ๆ 4. การประเมินผลการเรียนโดยใช้แฟ้ มสะสมงาน แฟ้ มสะสมงาน เป็นวธิ ีการประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง ซ่ึงเป็นวธิ ีการท่ีครูไดน้ าวธิ ีการ มาจากศิลปิ น (artist) มาใชใ้ นทางการศึกษาเพ่ือการประเมินความกา้ วหนา้ ในการเรียนรู้ของผเู้ รียน โดย แฟ้ มสะสมงานมีประโยชน์ท่ีสาคญั คือ  ผเู้ รียนสามารถแสดงความสามารถในการทางานโดยท่ีการสอบทาไม่ได้  เป็นการวดั ความสามารถในการเรียนรู้ของผเู้ รียน  ช่วยใหผ้ เู้ รียนสามารถแสดงให้เห็นกระบวนการเรียนรู้ (Process) และผลงาน (Product)  ช่วยใหส้ ามารถแสดงใหเ้ ห็นการเรียนรู้ท่ีเป็ นนามธรรมใหเ้ ป็นรูปธรรม แฟ้ มสะสมงานไม่ใช่แนวคิดใหม่ เป็ นเรื่องท่ีมีมานานแลว้ ใชโ้ ดยกลุ่มเขียนภาพ ศิลปิ น สถาปนิก นกั แสดง และนักออกแบบ โดยแฟ้ มสะสมงานได้ถูกนามาใช้ในทางการศึกษาในการเรียนการสอนทาง

28 ด้านภาษา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และวิชาอ่ืน ๆ ท้งั น้ีแฟ้ มสะสมงานเป็ นวิธีการท่ีสะท้อนถึงวิธีการ ประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ซ่ึงเป็ นกระบวนการของการรวบรวมหลกั ฐานที่ แสดงใหเ้ ห็นวา่ ผเู้ รียนสามารถทาอะไรไดบ้ า้ งและเป็นกระบวนการของการแปลความจากหลกั ฐานที่ไดแ้ ละ มีการตดั สินใจหรือให้คุณค่าการประเมินผลตามสภาพจริงเป็ นกระบวนการท่ีใชเ้ พ่ืออธิบายถึงภาระงานท่ี แทจ้ ริงหรือ real task ที่ผเู้ รียนจะตอ้ งปฏิบตั ิหรือสร้างความรู้ ไม่ใช่สร้างแต่เพียงขอ้ มูลสารสนเทศ การประเมินโดยใชแ้ ฟ้ มสะสมงานเป็นวธิ ีการของการประเมินที่มีองคป์ ระกอบสาคญั คือ  ใหผ้ เู้ รียนไดแ้ สดงการกระทา - ลงมือปฏิบตั ิ  สาธิตหรือแสดงทกั ษะออกมาใหเ้ ห็น  แสดงกระบวนการเรียนรู้  ผลิตชิ้นงานหรือหลกั ฐานวา่ เขาไดร้ ู้และเขาทาได้ ซ่ึงการประเมินโดยใชแ้ ฟ้ มสะสมงานหรือการประเมินตามสภาพจริง โดยวธิ ีการดงั กล่าวน้ีจะ มีลกั ษณะที่สาคญั คือ  ชิ้นงานท่ีมีความหมาย (meaningful tasks)  มีมาตรฐานท่ีชดั เจน (clear standard)  มีการใหส้ ะทอ้ นความคิด ความรู้สึก (reflections)  มีการเช่ือมโยงกบั ชีวติ จริง (transfer)  เป็นการปรับปรุงและบูรณาการ (formative integrative)  เก่ียวขอ้ งกบั การคิดในลาดบั ที่สูงข้ึนไป (high - order thinking)  เนน้ การปฏิบตั ิท่ีมีคุณภาพ (quality performance)  ไดผ้ ลงานที่มีคุณภาพ (quality product) 5. ลกั ษณะของแฟ้ มสะสมงาน นกั การศึกษาบางท่านไดก้ ล่าววา่ แฟ้ มสะสมงานมีลกั ษณะเหมือนกบั จานผสมสี ซ่ึงจะเห็นไดว้ า่ จานผสมสีเป็นส่วนที่รวมเร่ืองสีตา่ ง ๆ ท้งั น้ีแฟ้ มสะสมงานเป็นส่ิงที่รวมการประเมินแบบตา่ ง ๆ เพอ่ื การ วาดภาพใหเ้ ห็นวา่ ผเู้ รียนเป็นอยา่ งไร แฟ้ มสะสมงานไมใ่ ช่ถงั บรรจุสิ่งของ (Container) ท่ีเป็นท่ีรวมของ สิ่งต่าง ๆ ที่จะเอาอะไรมากองรวมไวห้ รือเอามาใส่ไวใ้ นท่ีเดียวกนั แต่แฟ้ มสะสมงานเป็นการรวบรวม หลกั ฐานท่ีมีระบบและมีการจดั การโดยครูและผเู้ รียนเพือ่ การตรวจสอบความกา้ วหนา้ หรือการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ ทกั ษะและเจตคติในเรื่องเฉพาะวชิ าใดวชิ าหน่ึง กล่าวโดยทว่ั ไป แฟ้ มสะสมงานจะมีลกั ษณะท่ีสาคญั 2 ประการ คือ - เป็นเหมือนสิ่งที่รวบรวมหลกั ฐานที่แสดงความรู้และทกั ษะของผเู้ รียน - เป็นภาพที่แสดงพฒั นาการของผเู้ รียนในการเรียนรู้ ตลอดช่วงเวลาของการเรียน

29 6. จุดมุ่งหมายของการประเมนิ โดยใช้แฟ้ มสะสมงาน มีดังนี้  ช่วยใหค้ รูไดร้ วบรวมงานท่ีสะทอ้ นถึงความสาคญั ของนกั เรียนในวตั ถุประสงคใ์ หญ่ของการเรียนรู้  ช่วยกระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนสามารถจดั การเรียนรู้ของตนเอง  ช่วยใหค้ รูไดเ้ กิดความเขา้ ใจอยา่ งแจม่ แจง้ ในความกา้ วหนา้ ของผเู้ รียน  ช่วยใหผ้ เู้ รียนไดเ้ ขา้ ใจตนเองมากยงิ่ ข้ึน  ช่วยใหท้ ราบการเปลี่ยนแปลงและความกา้ วหนา้ ตลอดช่วงระหวา่ งการเรียนรู้  ช่วยใหผ้ เู้ รียนไดต้ ระหนกั ถึงประวตั ิการเรียนรู้ของตนเอง  ช่วยทาใหเ้ กิดความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการสอนกบั การประเมิน 7. กระบวนการของการจัดทาแฟ้ มสะสมงาน การจดั ทาแฟ้ มสะสมงาน มีกระบวนการหรือข้นั ตอนอยหู่ ลายข้นั ตอน แตท่ ้งั น้ีกส็ ามารถปรับปรุง ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม Kay Burke (1994) และคณะ ไดก้ าหนดข้นั ตอนของการวางแผนจดั ทาแฟ้ มสะสมงานไว้ 10 ข้นั ตอน ดงั น้ี ข้นั ที่ 1 กาหนดจุดมุง่ หมาย และรูปแบบ ข้นั ที่ 2 ข้นั การรวบรวมและจดั ระบบของผลงาน ข้นั ท่ี 3 ข้นั การเลือกผลงานหลกั ตามเกณฑท์ ี่กาหนด ข้นั ที่ 4 ข้นั การสร้างสรรคแ์ ฟ้ มสะสมผลงาน ข้นั ที่ 5 ข้นั การสะทอ้ นความคิด หรือความรู้สึกต่อผลงาน ข้นั ที่ 6 ข้นั การตรวจสอบเพื่อประเมินตนเอง ข้นั ที่ 7 ข้นั การประเมินผล ประเมินคา่ ของผลงาน ข้นั ท่ี 8 ข้นั การแลกเปล่ียนประสบการณ์กบั บุคคลอื่น ข้นั ท่ี 9 ข้นั การคดั สรรและปรับเปลี่ยนผลงานเพื่อใหท้ นั สมยั ข้นั ที่ 10 ข้นั การประชาสมั พนั ธ์ หรือจดั นิทรรศการแฟ้ มสะสมงาน 8. รูปแบบ (Model) ของการทาแฟ้ มสะสมงาน สามารถดาเนินการได้ดงั นี้  สาหรับผเู้ ริ่มทาไมม่ ีประสบการณ์มาก่อนควรใช้ 3 ข้นั ตอน ข้นั ที่ 1 การรวบรวมผลงาน ข้นั ที่ 2 การคดั เลือกผลงาน ข้นั ท่ี 3 การสะทอ้ นความคิด ความรู้สึกในผลงาน  สาหรับผทู้ ี่มีประสบการณ์ใหม่ ๆ ควรใช้ 6 ข้นั ตอน ข้นั ที่ 1 กาหนดจุดมุง่ หมาย ข้นั ท่ี 2 การรวบรวม ข้นั ที่ 3 การคดั เลือกผลงาน

30 ข้นั ที่ 4 การสะทอ้ นความคิดในผลงาน ข้นั ที่ 5 การประเมินผลงาน ข้นั ท่ี 6 การแลกเปลี่ยนกบั ผเู้ รียน  สาหรับผทู้ ่ีมีประสบการณ์พอสมควร ควรใช้ 10 ข้นั ตอนดงั ท่ีกล่าวขา้ งตน้ 9. การวางแผนทาแฟ้ มสะสมงาน  การวางแผนและการกาหนดจุดมุ่งหมาย คาถามหลกั ที่จะตอ้ งทาใหช้ ดั เจน ◊ ทาไมจะตอ้ งใหผ้ เู้ รียนรวบรวมผลงาน ◊ ทาแฟ้ มสะสมงานเพ่อื อะไร ◊ จุดมุง่ หมายที่แทจ้ ริงของการทาแฟ้ มสะสมงาน คืออะไร ◊ การใช้ แฟ้ มสะสมงานในการประเมินมีขอ้ ดี ขอ้ เสียอยา่ งไร  แฟ้ มสะสมงานไม่ใช่เป็นเพียงการเรียนการสอนหรือการประเมินผล แต่เป็นท้งั กระบวนการ เรียนการสอนและการวดั ผลประเมินผล  แฟ้ มสะสมงาน เป็นกระบวนการที่ทาใหผ้ เู้ รียนเป็นผทู้ ี่ลงมือปฏิบตั ิเองและเรียนรู้ดว้ ยตนเอง  การใชแ้ ฟ้ มสะสมงานในการประเมินจะมีหลกั สาคญั 3 ประการ 1) เน้ือหา ตอ้ งเกี่ยวกบั เน้ือหาที่สาคญั ในหลกั สูตร 2) การเรียนรู้ ผเู้ รียนเป็นผลู้ งมือปฏิบตั ิเอง โดยมีการบูรณาการท่ีจะตอ้ งสะทอ้ น กระบวนการเรียนรู้ท้งั หมด 3) การเขียน การแกป้ ัญหา และการคิดระดบั ที่สูงกวา่ ปกติ 10. การเกบ็ รวบรวมชิ้นงานและการจัดแฟ้ มสะสมงาน  ความหมายของแฟ้ มสะสมงานคือ การรวบรวมผลงานของผเู้ รียนอยา่ งมีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื การแสดงใหเ้ ห็นความพยายาม ความกา้ วหนา้ และความสาเร็จของผเู้ รียนในเรื่องใดเรื่องหน่ึง  วธิ ีการเกบ็ รวบรวม สามารถจดั ให้อยใู่ นรูปแบบของส่ิงต่อไปน้ี แฟ้ มงาน สมุดบนั ทึก ตูเ้ กบ็ เอกสาร กล่อง อลั บ้มั แผน่ ดิสก์  วธิ ีการดาเนินการเพ่อื การรวบรวม จดั ทาไดโ้ ดยวธิ ีการ ดงั น้ี รวบรวมผลงานทุกชิ้นท่ีจดั ทาเป็นแฟ้ มสะสมงาน คดั เร่ืองผลงานเพื่อใชใ้ นแฟ้ มสะสมงาน สะทอ้ นความคิดในผลงานท่ีคดั เรื่องไว้  รูปแบบของแฟ้ มสะสมงาน อาจมีองคป์ ระกอบดงั น้ี สารบญั และแสดงประวตั ิผทู้ าแฟ้ มสะสมงาน ส่วนที่แสดงวตั ถุประสงค/์ จุดมุง่ หมาย ส่วนท่ีแสดงชิ้นงานหรือผลงาน

31 ส่วนที่สะทอ้ นความคิดเห็นหรือความรู้สึก ส่วนที่แสดงการประเมินผลงานดว้ ยตนเอง ส่วนที่แสดงการประเมินผล ส่วนท่ีเป็นภาคผนวก ขอ้ มลู ประกอบอื่น ๆ รูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผูเ้ รียนสามารถเลือกใช้รูปแบบต่างๆในการเรียนรู้ดว้ ยตนเองเพื่อให้การเรียนบรรลุจุดมุ่งหมาย ที่ต้งั ไว้ ไดด้ งั น้ี 1. การใช้โครงการเรียน (Learning project) ซ่ึงเป็ นตวั บ่งช้ีของการมีส่วนร่วมในการเรียนดว้ ย ตนเอง ตามแนวคิดโครงการเรียนแบบผใู้ หญ่ของ Tough (1971) โดยการนาขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการสารวจความ ตอ้ งการมาขยายเป็ นโครงการหรือแผนการเรียนที่ระบุเก่ียวกบั การจะเรียนรู้อย่างไร ที่ไหน เวลาใดท่ี เหมาะสม และนานเท่าใด จะใชแ้ หล่งทรัพยากรการเรียนใด จะมีใครช่วยเหลือไดบ้ า้ ง เลือกวิธีการเรียน อยา่ งไร มีคุณคา่ แคไ่ หน ใชเ้ วลา แรงงาน และใชง้ บประมาณเท่าใด ประหยดั หรือไม่ จะรู้ไดอ้ ยา่ งไรวา่ บรรลุ เป้ าหมาย ควรแสดงผลงานของความสาเร็จในการเรียนอยา่ งไร ตอ้ งการเรียนมากแค่ไหน สัมพนั ธ์กบั เป้ าหมายชีวติ อยา่ งไร ความรู้ที่เราจะแสวงหาน้นั ช่วยใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคท์ ่ีต้งั ไวห้ รือไม่ ทาใหเ้ กิดเจตคติ และความสนุกสนานที่จะเรียนหรือไม่ โดยการเขียนโครงการเรียนน้นั ผเู้ รียนตอ้ งสามารถปฏิบตั ิงานที่ กาหนด วินิจฉยั ความช่วยเหลือที่ตนตอ้ งการ และทาให้ไดม้ าซ่ึงความช่วยเหลือที่ตอ้ งการ สามารถเลือก แหล่งทรัพยากรการเรียน วิเคราะห์และวางแผนโครงการเรียนท้งั หมด รวมท้งั สามารถประเมิน ความกา้ วหนา้ ของการเรียนได้ โดยการพิจารณาตดั สินใจในเร่ืองความรู้และทกั ษะโดยละเอียด กิจกรรม ส่ือ การเรียน แหล่งทรัพยากรการเรียน และอุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการเรียน สถานที่ท่ีใชใ้ นการเรียน เวลาและเป้ าหมาย ท่ีแน่นอน ระยะเวลาในการเรียน ข้นั ตอนการเรียน ประมาณระดบั ของโปรแกรมการเรียน รวมท้งั การกาจดั อุปสรรคและสิ่งท่ีจะทาใหก้ ารเรียนขาดประสิทธิภาพ การท่ีจะไดส้ ่ืออุปกรณ์มา หรือไปถึงแหล่งขอ้ มูล การ เตรียมห้องท่ีเหมาะสมหรือเงื่อนไขทางกายภาพอื่น ๆ งบประมาณท่ีใช้ และการสร้างแรงจูงใจในการเรียน และการฝ่ าอุปสรรคตา่ ง ๆ 2. การทาสัญญาการเรียน (Learning contracts) ซ่ึงเป็ นเครื่องมือในการเรียนดว้ ยตนเองตาม แนวคิดการเรียนเป็ นกลุ่มของ Knowles (1975) โดยเป็ นขอ้ ตกลงระหวา่ งผเู้ รียนและผสู้ อน ในลกั ษณะการ สอนรายบุคคลที่ให้ผเู้ รียนมีความรับผดิ ชอบ มีระเบียบวนิ ยั ในตนเอง เป็ นตวั ของตวั เองใหม้ าก โดยการให้ สารวจและคน้ หาความสนใจที่แทจ้ ริงของตนเอง แลว้ ใหผ้ เู้ รียนเลือกเรียนตามความสนใจ โดยสญั ญาการ

32 เรียนจะช่วยให้ผเู้ รียนไดเ้ รียนดว้ ยตนเองมากข้ึนเพราะไดเ้ ปิ ดเผยตวั เองอยา่ งเตม็ ที่ และพ่ึงพาตนเองไดม้ าก ที่สุด ซ่ึงสัญญาการเรียนเป็ นเคร่ืองมือที่มีการลงนามระหว่างผูเ้ รียนและผูส้ อน โดยมีข้นั ตอนในการทา สัญญาการเรียน ไดแ้ ก่ วนิ ิจฉยั ความตอ้ งการในการเรียน กาหนดจุดมุ่งหมายการเรียน กาหนดวธิ ีการเรียน และแหล่งทรัพยากรการเรียน ระบุผลลพั ธ์ที่จะไดห้ ลงั การเรียน ระบุเกณฑก์ ารประเมินการเรียน กาหนด วนั ท่ีจะทางานสาเร็จ โดยมีการทบทวนสัญญาการเรียนกบั อาจารยท์ ี่ปรึกษา ปรับปรุงสัญญาการเรียน และ ประเมินผลการเรียน ผเู้ รียนที่ใชส้ ญั ญาการเรียนในการเรียนดว้ ยตนเองจะไดร้ ับประโยชน์ ดงั น้ี (1) ผูเ้ รียนจะมีความเขา้ ใจถึงความแตกต่างของบุคคลดา้ นความคิด และทกั ษะท่ีจาเป็ น ในการเรียน ไดแ้ ก่ รู้ความแตกตา่ งระหวา่ งการเรียนโดยมีผสู้ อนเป็นผชู้ ้ีนา และการเรียนดว้ ยตนเอง (2) ผูเ้ รียนจะมีความสามารถในการสร้างความสัมพนั ธ์อนั ดีกบั เพ่ือน เพ่ือที่จะให้บุคคล เหล่าน้นั เป็ นผูส้ ะทอ้ นให้ทราบถึงความตอ้ งการในการเรียน การวางแผนการเรียนของตนเองรวมท้งั การ ช่วยเหลือผอู้ ่ืน (3) ผูเ้ รียนจะมีความสามารถในการวินิจฉัยความตอ้ งการในการเรียนอย่างแทจ้ ริงโดย ร่วมมือกบั ผอู้ ่ืน (4) ผเู้ รียนจะมีความสามารถในการกาหนดจุดมุ่งหมายการเรียนจากความตอ้ งการในการ เรียนของตนเองโดยเป็นจุดมุง่ หมายท่ีสามารถประเมินได้ (5) ผูเ้ รียนจะมีความสามารถในการเชื่อมความสัมพนั ธ์กบั ผสู้ อนเพ่ือขอความช่วยเหลือ หรือปรึกษา (6) ผูเ้ รียนจะมีความสามารถในการแสวงหาบุคคลและแหล่งทรัพยากรการเรียนท่ี เหมาะสมสอดคลอ้ งกบั จุดมุ่งหมายการเรียนที่แตกตา่ งกนั (7) ผเู้ รียนจะมีความสามารถในการเลือกแผนการเรียนที่มีประสิทธิภาพ โดยใช้แหล่ง ประโยชน์จากแหล่งทรัพยากรการเรียนตา่ ง ๆ มีความคิดริเร่ิม และมีทกั ษะในการวางแผนอยา่ งดี (8) ผเู้ รียนจะมีความสามารถในการเก็บขอ้ มูล และนาผลจากขอ้ มูลที่คน้ พบไปใชไ้ ดอ้ ยา่ ง เหมาะสม 3. การเรียนแบบตวั ต่อตวั (One - to - one learning) การเรียนดว้ ยรูปแบบน้ีผเู้ รียนจะทางานเป็ นคู่ เพอ่ื ช่วยอานวยความสะดวกซ่ึงกนั และกนั ในการทางาน 4. การเรียนแบบร่วมมือในกลุ่ม (Collaborative learning) เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ ที่ต่างคนต่างนามาแลกเปลี่ยนกนั ซ่ึงประสบการณ์ของตวั เองอาจช่วยช้ีนาเพื่อนได้ และในทางตรงกนั ขา้ ม ประสบการณ์จากเพ่ือนก็อาจช่วยช้ีนาตนเองได้ พร้อมกนั น้ีก็จะเป็ นการเรียนการสอนท่ีมีการแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ความคิดเห็นระหวา่ งผสู้ อนหรือผอู้ านวยความสะดวกกบั ผเู้ รียนในกลุ่มดว้ ย ส่ิงท่ีจะไดจ้ ากการ เรียนแบบร่วมมือในกลุ่ม คือ การพฒั นาความรู้ความเขา้ ใจในเน้ือหาวิชา ทกั ษะทางสังคม ความรู้สึกเห็น คุณคา่ ในตนเอง การรู้จกั ตนเอง และเกิดแรงจูงใจในการเรียน

33 5. การทาบนั ทึกการเรียน (Learning log) เพื่อบนั ทึกขอ้ มูล ความคิด ความรู้สึก ความคาดหวงั เรื่องราวต่างๆท่ีไดเ้ รียนรู้ ไดพ้ ฒั นา หรือเกิดข้ึนในสมองของผเู้ รียน บนั ทึกน้ีจะเป็ นธนาคารความคิดที่ช่วย เก็บสะสมเร่ืองที่ไดอ้ า่ น ปฏิบตั ิการไดใ้ ชค้ วามคิดทีละนอ้ ยในชีวิตประจาวนั เขา้ ไวด้ ว้ ยกนั ซ่ึงจะทาให้ทราบ แนวทางและวิธีการเรียนเพ่ิมเติมให้กวา้ งไกลออกไป บนั ทึกการเรียนเป็ นสิ่งท่ีมีประโยชน์มากในการ ประเมินการเรียนดว้ ยตนเอง ที่มีลกั ษณะเป็ นแฟ้ มหรือสมุดบนั ทึกขอ้ มูลรายบุคคลเก่ียวกบั กิจกรรมท่ีทา ซ่ึงจะเป็ นขอ้ มูลบ่งช้ีเก่ียวกบั ความคาดหวงั ของผูเ้ รียนแต่ละบุคคล รวมท้งั ความรับผดิ ชอบของผเู้ รียนดว้ ย ผูส้ อนสามารถใช้บนั ทึกการเรียนเป็ นแรงเสริมจากผูส้ อนโดยการเขียนข้อความส้ัน ๆ ง่าย ๆ เพ่ือให้ ขอ้ คิดเห็นหรือคาแนะนาแก่ผเู้ รียน 6. การจดั ช่วงเวลาสาหรับสรุปสิ่งท่ีเรียนรู้ เนื่องจากในการเรียนดว้ ยตนเอง ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้และ เผชิญกบั ปัญหาต่างๆดว้ ยตนเอง จึงตอ้ งมีช่วงเวลาสาหรับสรุปสิ่งท่ีไดเ้ รียนโดยผสู้ อนเป็นผนู้ า 7. การสร้างห้องสมุดของตนเอง หมายถึง การรวบรวมรายช่ือ ขอ้ มูล แหล่งทรัพยากร การเรียน ต่าง ๆ อาทิ รายชื่อบุคคล สถาบนั หนงั สือ รายงานการประชุมฝึ กอบรม ส่ือการเรียนต่าง ๆ สถานที่ หรือ ประวตั ิบุคคลท่ีคิดวา่ จะเป็นประโยชนต์ รงกบั ความสนใจเพอื่ ใชใ้ นการศึกษาคน้ ควา้ ต่อไป 8. การหาแหล่งทรัพยากรการเรียนในชุมชน เช่น การสนทนากบั ผรู้ ู้ ผชู้ านาญในอาชีพต่างๆ หรือ ป้ ายประกาศตามสถานท่ีตา่ ง ๆ เป็นตน้ แหล่งทรัพยากรการเรียนเหล่าน้ีจะเป็นแหล่งสาคญั ในการ คน้ ควา้ ซ่ึง มีผลต่อการเรียนดว้ ยตนเองเป็นอยา่ งมาก สรุปไดว้ า่ การจดั การเรียนรู้ใหผ้ เู้ รียนมีการเรียนดว้ ยตนเอง สามารถเลือกใชร้ ูปแบบในการเรียนได้ หลายอยา่ ง โดยเฉพาะการทาสัญญาการเรียนและการเขียนโครงการเรียน ท้งั น้ีครูควรแนะนาวธิ ีการและ ข้นั ตอนในการเรียนให้ผเู้ รียนเขา้ ใจก่อนดาเนินการเรียนด้วยตนเอง สนบั สนุนให้ผเู้ รียนมีการเรียนแบบ ร่วมมือ และควรจดั ช่วงเวลาสาหรับพบผสู้ อนเพ่ือประเมินการเรียนเป็ นระยะ ๆ ท้งั น้ีผเู้ รียนอาจวางแผน การเรียน ดว้ ยตนเองโดยการเรียนเป็ นรายบุคคล เรียนกบั คู่ท่ีมีความสามารถเท่ากนั เรียนเป็ นกลุ่ม หรือเรียนกบั ผทู้ ่ีมี ความรู้และประสบการณ์ในเร่ืองน้นั มากกวา่ กไ็ ด้ Knowles (1975) ไดเ้ สนอใหผ้ เู้ รียนพจิ ารณาส่ิงตา่ ง ๆประกอบในการวางแผนการเรียน ดงั น้ี (1) การเรียนดว้ ยตนเองควรเร่ิมจากการท่ีผเู้ รียนมีความตอ้ งการที่จะเรียนในสิ่งหน่ึงส่ิงใด เพื่อการ พฒั นาทกั ษะความรู้ สาหรับการพฒั นาชีวติ และอาชีพของตนเอง (2) การเตรียมตวั ของผเู้ รียนคือผเู้ รียนจะตอ้ งศึกษาหลกั การ จุดมุง่ หมายและโครงสร้างของหลกั สูตร รายวชิ าและจุดมุ่งหมายของรายวชิ าก่อน (3) ผเู้ รียนควรเลือกและจดั เน้ือหาวิชาดว้ ยตนเอง ตามจานวนคาบที่กาหนดไวใ้ นโครงสร้างและ กาหนดวตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมลงไปใหช้ ดั เจนวา่ จะให้บรรลุผลในดา้ นใด เพื่อแสดงให้เห็นวา่ ผเู้ รียนได้ เกิดการเรียนในเรื่องน้ัน ๆ แล้ว และมีความคิดเห็นหรือเจตคติในการนาไปใช้กบั ชีวิต สังคมและ ส่ิงแวดลอ้ มดว้ ย

34 (4) ผเู้ รียนเป็ นผวู้ างโครงการเรียนการสอน และดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนน้นั ดว้ ยตนเอง โดยอาจจะขอคาแนะนาช่วยเหลือจากผสู้ อนหรือเพื่อน ในลกั ษณะของการร่วมมือกนั ทางานไดเ้ ช่นกนั (5) การประเมินผลการเรียนดว้ ยตนเอง ควรเป็ นการประเมินร่วมกนั ระหวา่ งผสู้ อนและผเู้ รียน โดย ร่วมกนั ต้งั เกณฑก์ ารประเมินผลร่วมกนั คาถามในการถามตนเองของผเู้ รียนเพื่อใหไ้ ดค้ าตอบสาหรับการวางแผนการเรียน ดงั น้ี (1) จะเรียนรู้อยา่ งไร และเม่ือใดจึงจะเรียนรู้ไดเ้ ร็วที่สุด (2) จะมีวธิ ีการอะไรในการศึกษาเร่ืองน้นั ๆ (3) จะใชห้ นงั สือหรือแหล่งขอ้ มูลอะไรบา้ ง (4) จะกาหนดจุดมุง่ หมายเฉพาะในการศึกษาของตนอยา่ งไร (5) จะคาดหวงั ความรู้ ทกั ษะ เจตคติอะไร (6) จะประเมินผลการเรียนของตนเองอยา่ งไร (7) จะใชเ้ กณฑอ์ ะไรตดั สินวา่ ประสบความสาเร็จ ในการเรียนดว้ ยตนเองผูเ้ รียนสามารถเรียนไดห้ ลายวิธีข้ึนอยู่กบั ความรู้เดิมและทกั ษะของผูเ้ รียน โดยใชส้ ัญญาการเรียนเป็ นเคร่ืองมือสนบั สนุน เพื่อบนั ทึกและจดั การเรียน ท้งั น้ี ผทู้ ี่เรียนดว้ ยตนเองควรมี ทกั ษะในการต้งั คาถาม การสืบคน้ การใชเ้ ทคโนโลยี การทางานเป็ นทีม การแกป้ ัญหา การคิดอย่างมี วจิ ารณญาณ การคิดสร้างสรรค์ การวจิ ยั และการเป็นผนู้ า โดยผเู้ รียนมีบทบาทในการเรียนดว้ ยตนเองดงั น้ี 1. วนิ ิจฉยั ความตอ้ งการในการเรียนของตนเอง 2. ต้งั คาถามตามความอยากรู้อยากเห็น ซ่ึงจะนาไปสู่ความตอ้ งการคน้ หาคาตอบ 3. กาหนดเป้ าหมายและวตั ถุประสงคใ์ นการเรียนของตนเอง 4. รับรู้จุดมุ่งหมายของตนเองและการยอมรับการสะทอ้ นกลบั จากผอู้ ่ืนเก่ียวกบั คุณลกั ษณะ ที่ตอ้ งปรับปรุงของตนเอง 5. วางแผนการเรียนของตนเอง 6. เลือกแหล่งทรัพยากรการเรียนท่ีเป็ นบุคคล ส่ิงของ หรือประสบการณ์ท่ีจะช่วยใหบ้ รรลุ จุดมุง่ หมายในการเรียนและสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มลู ที่ตอ้ งการ 7. เลือกและรับขอ้ มูลขา่ วสารในการตอบคาถาม 8. เลือกและใชว้ ธิ ีการที่มีประสิทธิภาพท่ีสุดในการตรวจสอบขอ้ มลู จากแหล่งการเรียนต่าง ๆ 9. จดั การ วเิ คราะห์ และประเมินขอ้ มลู ท่ีจะทาใหไ้ ดค้ าตอบท่ีถูกตอ้ ง 10. ออกแบบแผนเกี่ยวกบั วธิ ีการประยกุ ตใ์ ชแ้ หล่งทรัพยากรการเรียนที่สามารถตอบคาถาม หรือบรรลุความตอ้ งการในการเรียน 11. ดาเนินการเรียนตามแผนอยา่ งเป็นระบบและเป็นลาดบั ข้นั ตอน 12. ตรวจสอบความสาเร็จตามจุดมุ่งหมายในการเรียน 13. ประเมินผลการเรียนของตนเอง

35 สรุปไดว้ า่ การเรียนดว้ ยตนเองเป็นคุณลกั ษณะท่ีสามารถจดั ไดท้ ้งั ในสภาพการเรียนรู้ในระบบ นอก ระบบ และตามอธั ยาศยั โดยมีหลกั การคือ การเปิ ดโอกาสให้ผเู้ รียนไดว้ ิเคราะห์และแสดงความตอ้ งการท่ี แทจ้ ริงในการเรียนของตนเอง ให้อิสระแก่ผเู้ รียนในการกาหนดจุดมุ่งหมายในการเรียน วิเคราะห์ปัญหา วางแผนการเรียน กาหนดและแสวงหาแหล่งทรัพยากรการเรียนท่ีจะใชใ้ นการเรียน กาหนดข้นั ตอนและ วธิ ีการเรียนที่เหมาะสมกบั ตนเอง ไดด้ าเนินกิจกรรมการเรียน และการประเมินกระบวนการและผลการ เรียนดว้ ย ตนเอง โดยมีอิสระจากการถูกข่มขบู่ งั คบั การใหร้ างวลั หรือการลงโทษ ซ่ึงผสู้ อนจะเป็ นผชู้ ่วยให้ ผเู้ รียนตระหนกั ถึงความจาเป็ นในการเรียน ตระหนกั วา่ ตนตอ้ งเป็ นผเู้ รียนรู้และจดั การเรื่องการเรียนดว้ ย ตวั เอง โดยเปิ ดโอกาสให้ผเู้ รียนรับผิดชอบการเรียนและควบคุมกระบวนการเรียนของตนเองเพ่ือให้บรรลุ เป้ าหมายตามความตอ้ งการของตนเอง และมีการวางแผนกิจกรรมการเรียนการสอนโดยคานึงถึงความ แตกตา่ งระหวา่ งบุคคลของผเู้ รียน สร้างบรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียน สอนวธิ ีการเรียนหลายๆวธิ ี ฝึ กทกั ษะ การเรียนดว้ ยตนเองใหก้ บั ผเู้ รียน รวมท้งั สังเกตกิจกรรมการเรียน เป็ นผชู้ ่วยเหลือและอานวยความสะดวก รวมท้งั ประเมินผลการเรียนของผูเ้ รียนแต่ละคน โดยใช้สัญญาการเรียนเป็ นเคร่ืองมือในการใหผ้ เู้ รียนได้ เรียนดว้ ยตนเอง โดยตระหนกั วา่ ระดบั ของการเรียนดว้ ยตนเองของผเู้ รียนอาจมีต้งั แต่การเรียนดว้ ยตนเองใน ระดบั ต่าคือมีครูเป็นผนู้ าไปจนถึงการท่ีผเู้ รียนไดเ้ รียนดว้ ยตนเองในระดบั สูงโดยไมต่ อ้ งพ่ึงพาครู กจิ กรรม กจิ กรรมท่ี 1 ใหส้ รุปบทบาทของผเู้ รียนในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง มาพอสังเขป กจิ กรรมที่ 2 ใหส้ รุปบทบาทของครูในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง มาพอสังเขป กจิ กรรมท่ี 3 ใหเ้ ปรียบเทียบบทบาทของผเู้ รียนและครู มาพอสงั เขป กจิ กรรมท่ี 4 ใหส้ รุปสาระสาคญั ของ “กระบวนการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง” มาพอสงั เขป กจิ กรรมท่ี 5 ใหผ้ เู้ รียนศึกษาสญั ญาการเรียนรู้ (รายบุคคล) และปรึกษาครู แลว้ จดั ทาร่างกรอบ แนวคิดสญั ญาการเรียนรู้รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู้ เร่ืองที่ 2 ทกั ษะพนื้ ฐานทางการศึกษาหาความรู้ ทกั ษะการแก้ปัญหาและเทคนิคการเรียนรู้ ด้วยตนเอง คาถามธรรมดา ๆ ที่เราเคยไดย้ นิ ไดฟ้ ังกนั อยบู่ ่อย ๆ ก็คือ ทาอยา่ งไรเราจึงจะสามารถฟังอยา่ งรู้เร่ือง และคิดไดอ้ ยา่ งปราดเปรื่อง อ่านไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ตลอดจนเขียนไดอ้ ยา่ งมืออาชีพ ท้งั น้ี ก็เพราะเราเขา้ ใจกนั ดี ว่า ท้งั หมดน้ีเป็ นทกั ษะพ้ืนฐาน (basic skills) ที่สาคญั และเป็ นความสามารถ (competencies) ที่จาเป็ น สาหรับการดารงชีวติ ท้งั ในโลกแห่งการทางาน และในโลกแห่งการเรียนรู้

36 การฟัง เป็นการรับรู้ความหมายจากเสียงที่ไดย้ นิ เป็นการรับสารทางหู การไดย้ ินเป็ นการเร่ิมตน้ ของ การฟังและเป็ นเพียงการกระทบกนั ของเสียงกบั ประสาทตามปกติ จึงเป็ นการใช้ความสามารถทางร่างกาย โดยตรง ส่วนการฟังเป็ นกระบวนการทางานของสมองอีกหลายข้นั ตอนต่อเนื่องจากการได้ยิน เป็ น ความสามารถที่จะได้รับรู้สิ่งท่ีได้ยิน ตีความและจบั ความสิ่งที่รับรู้น้ัน เข้าใจและจดจาไว้ ซ่ึงเป็ น ความสามารถทางสติปัญญา การพูด เป็ นพฤติกรรมการส่ือสารท่ีใชก้ นั แพร่หลายทว่ั ไป ผพู้ ูดสามารถใช้ท้งั วจนภาษา (คือการ สื่อสารโดยผ่านการฟัง พูด อ่าน เขียน) และอวจั นภาษา (คือการสื่อสารโดยไม่ใชก้ ารฟัง การพูด การอ่าน เช่น ภาษาทา่ ทาง รูปลกั ษณ์ตา่ ง ๆ) ในการส่งสารติดตอ่ ไปยงั ผฟู้ ังไดช้ ดั เจนและรวดเร็ว การพดู หมายถึง การ สื่อความหมายของมนุษยโ์ ดยการใชเ้ สียง และกิริยาทา่ ทางเป็นเคร่ืองถ่ายทอดความรู้ความคิด และความรู้สึก จากผพู้ ดู ไปสู่ผฟู้ ัง การอ่าน เป็ นพฤติกรรมการรับสารที่สาคญั ไม่ยง่ิ หยอ่ นไปกวา่ การฟัง ปัจจุบนั มีผรู้ ู้นกั วิชาการและ นกั เขียนนาเสนอความรู้ ขอ้ มูล ข่าวสารและงานสร้างสรรค์ ตีพิมพ์ ในหนงั สือและสิ่งพิมพ์อ่ืน ๆ มาก นอกจากน้ีแลว้ ข่าวสารสาคญั ๆ หลงั จากนาเสนอดว้ ยการพูด หรืออ่านให้ฟังผา่ นสื่อต่าง ๆ ส่วนใหญ่จะ ตีพมิ พร์ ักษาไวเ้ ป็นหลกั ฐาน ความสามารถในการอ่านจึงสาคญั และจาเป็ นยง่ิ ต่อการเป็ นพลเมืองท่ีมีคุณภาพ ในสงั คมปัจจุบนั การเขียน เป็ นการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดและความตอ้ งการของบุคคลออกมาเป็ นสัญลกั ษณ์ คือ ตวั อกั ษร เพื่อสื่อความหมายให้ผอู้ ่ืนเขา้ ใจจากความขา้ งตน้ ทาใหม้ องเห็นความหมายของการเขียนวา่ มี ความจาเป็ นอยา่ งย่งิ ต่อการสื่อสารในชีวติ ประจาวนั เช่น นกั เรียน ใชก้ ารเขียนบนั ทึกความรู้ ทาแบบฝึ กหดั และตอบขอ้ สอบบุคคลทว่ั ไป ใชก้ ารเขียนจดหมาย ทาสัญญา พินยั กรรมและค้าประกนั เป็ นตน้ พอ่ คา้ ใช้ การเขียนเพ่ือโฆษณาสินคา้ ทาบญั ชี ใบสั่งของ ทาใบเสร็จรับเงิน แพทย์ ใชบ้ นั ทึกประวตั ิคนไข้ เขียนใบส่ังยา และอื่น ๆ เป็นตน้

37 กจิ กรรมที่ 1 คุณเป็นผฟู้ ังที่ดีหรือเปล่า ใหต้ อบแบบทดสอบต่อไปน้ี ดว้ ยการทาเครื่องหมาย  ในช่องคาตอบทางดา้ นขวา เพ่ือประเมินวา่ คุณเป็นผฟู้ ังไดด้ ีแคไ่ หน ลกั ษณะของการฟัง ความบ่อยคร้ัง เสมอ ส่วน บางคร้ัง นาน ๆ ไม่ ใหญ่ คร้ัง เคย 1. ปล่อยใหผ้ พู้ ดู แสดงความคิดของเขาจนจบโดยไม่ ขดั จงั หวะ 2. ในการประชุม หรือระหวา่ งโทรศพั ท์ มีการจดโนต้ สาระสาคญั ของสิ่งที่ไดย้ นิ 3. กล่าวทวนรายละเอียดที่สาคญั ของการสนทนากบั ผพู้ ดู เพื่อใหแ้ น่ใจวา่ เราเขา้ ใจถูกตอ้ ง 4. พยายามต้งั ใจฟัง ไม่วอกแวกไปคิดเร่ืองอื่น 5. พยายามแสดงท่าทีวา่ สนใจในคาพดู ของผอู้ ่ืน 6. รู้ดีวา่ ตนเองไมใ่ ช่นกั สื่อสารที่ดี ถา้ ผกู ขาดการพดู แต่ ผเู้ ดียว 7. แมว้ า่ กาลงั ฟังกแ็ สดงอาการต่าง ๆ เช่น ถาม จดสรุปส่ิง ที่ไดฟ้ ัง กล่าวทวนประเด็นสาคญั ฯลฯ 8. ทาทา่ ตา่ ง ๆ เหมือนกาลงั ฟังอยใู่ นท่ีประชุม เช่น ผงก ศีรษะเห็นดว้ ยมองตาผพู้ ดู ฯลฯ 9. จดโนต้ เกี่ยวกบั รูปแบบของการสื่อสารที่ไมใ่ ช่คาพดู ของคูส่ นทนา เช่น ภาษากาย น้าเสียง เป็นตน้ 10. พยายามท่ีจะไมแ่ สดงอาการกา้ วร้าว หรือตื่นเตน้ เกินไป ถา้ มีความคิดเห็นไม่ตรงกบั ผพู้ ดู

กจิ กรรมที่ 2 38 ท่านคดิ อย่างไรกบั คาตอบท้งั 5 คาตอบ (ในแต่ละช่อง) มีคะแนนดงั น้ี เสมอ = 5 คะแนน คโปากรกดล่าอาวธรขิบฟ้าางยลัง่านงน้ันี้ สาคญั ไฉน นาน ๆ คร้ัง = 2 คะแนน ส่วนใหญ่ = 4 คะแนน “การพูดเป็ นทกั กษาะรฟหังนเ่ึงป็ นประตสู าคญั ท่ีเปิ ดไปสู่ ไม่เคย = 1 คะแนน ทมี่ คี วกาามรสเราียคนญั รทู้ กส่ี าุดรขเรอียงนครนู้กเ่อรใาหเ้ กิดพฒั นาการ บางคร้ัง = 3 คะแนน กคเเแรข่ตอาาียพ่นเจมนูดะทอื่คกดทไสกเเเ่ีปหเมาราไ็งัถุกร็อรนนมาว่ลาาวปจธนา่ไ่้านค่นนัั จะิดบนรอ่ศาจนพะึ้กพาัน้ยยึกึง้ีเยษูดขปสสูอดกษข็าออ่าอวนนจ็าอหจะงนอะใกสงกไคากกจหาทรถรลาลทไรืนออ่าพา่าปฟบัี่จนน่อวึงูดกแัะมงไเกทปลาใพดาไ่ีรท็น้วเนปฒวั้ปพาคผา็่นนนงดูรลกาัน้านคอนมากุยบาราายใทคจฯรนเารรี่ฟเลรกทัวาฯังา”่ีปเใทแปรนก็ต้งันะโาพ่ชๆอรรวุมยงฟทกเา่ังรี่งกเียรานาร นาคะแนนจากท้งั 10 ขอ้ มารวมกนั เพ่ือดูวา่ คุณจดั ..............ฟ....ัง....เ..ป..็..น....ท....กั....ษ....ะ....ใ..น....ก....า..ร....ส....ื่อ....ส....า..ร....ท....ี่ส....า..ค....ญั......ข....น....า..ด....น....้ี ..... .......ม..ีใ..ค..ร.เ.ค..ย.ถ..า..ม..ต.ว.ั .เ.อ..ง.บ..า้..ง.ไ..ห..ม..ว.า.่ ..เร..า.ฟ..ัง..ไ.ด..ด้..ีแ..ค..่ . อยใู่ นกลุ่มนกั ฟังประเภทไหนใน 3 กลุ่ม ต่อไปน้ี .......ไ..ห..น...ห..ล..า.ย...ๆ...ค.น...อ..า.จ..ค..ิด..ว..า่ .ก..า.ร..ฟ..ัง.เ.ป..็ น..เ.ร.ื่.อ..ง.... 40 คะแนนขึน้ ไป จัดว่าคุณเป็ นนักฟังช้ันยอด ..............ง....่า..ย....แ....ค....ร่....ู้ว..า่....เข....า....พ....ดู ....อ....ะ..ไ....ร..ก....นั....บ......า้ ..ง..ก....็ถ....ือ....ว..า..่ ..เ..ป..็..น.............. 25 - 39 คะแนน คุณเป็ นนักฟังทด่ี ีกว่าผู้ฟังทวั่ ๆ ไป .......ก..า.ร..ฟ..ัง..แ.ล..ว้...ซ.่.ึง.เ.ป..็ น..ค..ว..า.ม..เ.ข..า้ .ใ..จ.ผ..ดิ ..อ..ย.า่..ง.ย..งิ่ ....... ตา่ กว่า 25 คะแนน คุณเป็ นผู้ฟังทตี่ ้องพฒั นาทกั ษะ ..............เ..พ....ร....า..ะ....ก....า..ร....ฟ....ัง....ท....แี่ ..ท....้จ....ร....ิง....ห....ม....า....ย..ถ....ึง....ก..า....ร..ใ....ห..้..ค....ว..า....ม........ .......ส..น..ใ..จ.ค..า.พ...ูด..อ..ย.่า..ง.เ.ต..ม็ ..ท..ี่ .จ.น...เก..ดิ..ค..ว..า.ม..เ.ข..้า.ใ.จ....... การฟังเป็ นพเิ ศษ .......ค..ว..า.ม..ห..ม..า..ย.ท...กุ .น...ัย.ข..อ..ง..ค.า..พ..ดู ..เ.ห..ล..่า.น..้นั............. แต่ไมว่ า่ จะอยใู่ นกลุ่มไหนก็ตาม คุณก็ควรจะพฒั นา ............................................................... ทกั ษะในการฟังของคุณอยเู่ สมอ เพราะวา่ ผสู้ ่งสาร (ท้งั คน และอุปกรณ์เทคโนโลยตี ่าง ๆ) น้นั มีการเปลี่ยนแปลงและมี ............................................................... ความซบั ซอ้ นมากข้ึนอยตู่ ลอดเวลา ...............................................................  การพูดเป็ นวธิ ีการส่ือสารที่มนุษยใ์ ช้กนั มานานนับพนั ปี และใน โลกน้ีคงไม่มีเคร่ืองมือสื่อสารใดที่สามารถถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกและ ............................................................... สิ่งต่าง ๆ ในใจเราไดด้ ีกวา่ คาพดู ถึงแมว้ า่ ปัจจุบนั น้ีเทคโนโลยีในการสื่อสาร จะไดร้ ับการพฒั นาไปถึงไหน ๆ แลว้ กต็ าม สาเหตุที่เป็นเช่นน้ี ก็เพราะว่าการ พดู ไมใ่ ช่แต่เพียงเสียงท่ีเปล่งออกไปเป็ นคา ๆ แต่การพดู ยงั ประกอบไปดว้ ย น้าเสียงสูง-ต่า จงั หวะชา้ -เร็ว และท่าทางของผพู้ ูด ท่ีทาให้การพูดมีความ ซบั ซอ้ น และมปี ระสิทธิภาพยงิ่ กวา่ เครื่องมอื สื่อสารใด ๆ การพูดน้ันเปรียบเสมือนดาบสองคม คือ สามารถให้ท้งั คุณ และโทษแก่ตวั ผูพ้ ูดได้ นอกจากน้ีการพูดยงั เป็ นอาวุธในการส่ือสารท่ีคน ส่วนใหญช่ อบใชม้ ากกวา่ การฟังและการเขียน เพราะคิดวา่ การพดู ไดม้ ากกว่า คนอ่ืนน้ันจะทาใหต้ นเองไดเ้ ปรียบ ไดป้ ระโยชน์ แต่ท้งั ๆท่ีคิดอย่างน้ีหลาย คนก็ยงั พาตวั เองไปสู่ความหายนะไดด้ ว้ ยปาก เขา้ ทานองปากพาจน ซ่ึงเหตุท่ี เป็นเช่นน้ีกเ็ พราะรู้กนั แต่เพียงว่าฉันอยากจะพูด โดยไม่ คิดก่อนพูด การพดู ที่จะใหค้ ุณแก่ตนเองไดน้ ้นั ควรมีลกั ษณะดงั น้ี  ถกู จงั หวะเวลา  ภาษาเหมาะสม กเแรนาาเรใกนจวพหิรึ้งือกิยจผู้ดหาาะฟูร้ทาทเตัชงุกป่ามอว็ทคนสีนบารน่วตง้ังนดาิดจยีรตาข่วาเมอมป็งนคตา้อพงดู คไิดดแ้ทลุกะคเปร็้ันง กนเตมปา้วาั็อีรนเขสคาธอรียิดรงมงรกตชณม่อวัว์ขชเนนอนาั พงฟติแดูังละเป็น

39 กจิ กรรมท่ี 3 ใหอ้ ่านเรื่อง “การมองโลกในแง่ดี” และสรุปเร่ืองท่ีอา่ น ใหไ้ ดป้ ระมาณ 15 บรรทดั เร่ือง “การมองโลกในแง่ดี” ความหมายและความสาคญั ของการมองโลกในแง่ดี การดาเนินชีวติ ของมนุษยเ์ ราน้นั ไดใ้ ชค้ วามคิดมาช่วยในการตดั สินใจเรื่องราวต่างๆ ท่ีอยรู่ อบตวั เรา ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ซ่ึงในบางคร้ังการมองโลกโดยใชค้ วามคิดน้ี ก็อาจจะมีมุมมองไดห้ ลายดา้ น เช่น ทางดา้ น บวกและทางดา้ นลบ การมองโลกในลกั ษณะเช่นน้ี สามารถถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดออกมาทางจิตใจ เป็นตน้ วา่ ถา้ มองโลกในแง่ดีก็จะส่งผลตอ่ ความรู้สึกนึกคิดในดา้ นดีโดยทาใหก้ ารแสดงออกของคน ๆ น้นั มี ความสุขต่อการดาเนินชีวติ ได้ แต่ในทางกลบั กนั ถา้ มองโลกในแง่ร้ายก็จะส่งผลมายงั ความรู้สึกนึกคิดทาให้ จิตใจเกิดความวติ กกงั วล ขาดความสุขและอาจจะทาให้มองคนรอบขา้ งอยา่ งไม่เป็ นมิตรได้ ฉะน้นั การมอง โลกในแง่ดีเพ่ือให้เกิดประโยชน์ต่อการดาเนินชีวติ ควรมีหลกั อยา่ งไร ลองฟังความคิดเห็นของบุคคลทวั่ ไป วา่ เขามีความเขา้ ใจกนั อยา่ งไรดูบา้ ง การมองโลกในแง่ดี หมายถึง มองส่ิงต่าง ๆ หรือมองปัญหาต่าง ๆ ที่เขา้ มาในทางท่ีดี ในทางบวก ไม่ใช่ในทางลบ มีผลต่อสุขภาพจิตของเราดว้ ย มองสิ่งรอบขา้ ง รอบตวั เรา และมองดูคนรอบขา้ งดว้ ย รวมท้งั มองตวั เราเองดว้ ย สาหรับการมองโลกในแง่ดี คิดวา่ ถา้ เรามองคนรอบตวั หรือมองเหตุการณ์ที่ผา่ นมา ถา้ เราคิดในส่ิงที่ ดี คือ ไม่คิดมาก คิดวา่ คงจะไม่มีเหตุการณ์อะไรเขา้ มาสู่ตวั เรา จะทาให้จิตใจเราเป็ นสุข ซ่ึงจะส่งผลถึง ประสิทธิภาพในการทางานและครอบครัวของเราดว้ ย หลกั การมองโลกในแง่ดี คาวา่ การมองโลกในแง่ดี โดยในแง่ของภาษาสามารถแยกออกเป็ น 3 คาแตกต่างจากกนั คาท่ีหน่ึง คือ การมอง คาท่ีสองคือ โลก คาที่สาม คือ ในแง่ดี เป้ าหมายของการมอง คือ เพอ่ื ใหเ้ ห็น การจะเห็นส่ิงใดเรามีวธิ ีเห็น 2 วธิ ี 1. ใชต้ ามอง เรียกวา่ มองเห็น เราเห็นหอ้ งน้า กาแฟ เห็นสรรพส่ิงในโลกเราใชต้ ามอง 2. คิดเห็น เช่น เรากบั คุณแม่อยหู่ ่างกนั แต่พอเราหลบั ตาเรายงั นึกถึงคุณแม่ได้ เราไม่ไดไ้ ปเมืองนอก มานานหลบั ตายงั นึกถึงสมยั เราเรียน ๆ ที่ตรงน้นั อยา่ งน้ีเรียกว่าคิดเห็น เพราะฉะน้นั การที่จะเห็นส่ิงใด สามารถทาไดท้ ้งั ตากบั คิด การมองโลกบางคร้ังอาจมองดูเห็นปั๊บคิดเลย หรือบางทีไม่ตอ้ งเห็นแตจ่ ินตนาการ คาวา่ โลก เราสามารถแยกเป็น 2 อยา่ ง คือ โลกท่ีเป็นธรรมชาติ ป่ าไม้ แมน่ ้า ภูเขา อยา่ งน้ีเรียกวา่ เป็ น ธรรมชาติ โลกอีกความหมายหน่ึง คือ โลกของมนุษยอ์ ยเู่ รียกวา่ สังคมมนุษย์ เพราะฉะน้นั เวลามองโลกอาจ มองธรรมชาติ บางคนบอกวา่ มอง ภเู ขาสวย เห็นทิวไมแ้ ลว้ ชอบ เรียกวา่ มองธรรมชาติ แต่บางคร้ังมองมนุษย์ ดว้ ยกนั มองเห็นบุคคลอื่นแลว้ สบายใจ เรียกวา่ การมองเหมือนกนั เพราะฉะน้นั โลกจึงแยกออกเป็ น 2 ส่วน คือธรรมชาติกบั มนุษย์

40 คาวา่ ดี เป็ นคาที่มีความหมายกวา้ งมาก ในทางปรัชญาถือวา่ ดี หมายถึงสิ่งที่จะนาไปสู่ ตวั อยา่ งเช่น ยาดี หมายถึงยาท่ีนาไปสู่ คือยารักษาโรคนน่ั เอง มีดดี คือมีดที่นาไปสู่ คือสามารถตดั อะไรได้ หรืออาหารดี หมายความวา่ อาหารนาไปสู่ให้เรามีสุขภาพดีข้ึน เพราะฉะน้นั อะไรที่นาไปสู่สักอยา่ งหน่ึงเราเรียกวา่ ดี ดีใน ท่ีน้ีดูได้ 2 ทางคือ นาไปทาใหเ้ ราเกิดความสุข หรือนาไปเพื่อใหเ้ ราทางานประสบความสาเร็จ ชีวิตเราหนี การทางานไม่ได้ หนีชีวิตส่วนตวั ไม่ได้ เพราะฉะน้นั ดูวา่ มองคนแลว้ ทาใหเ้ ราเกิดความสุข ทาให้ทางาน ประสบความสาเร็จ ถา้ รวม 3 ตวั คือ เราเห็น หรือเราคิดเก่ียวกบั คน แลว้ ทาใหเ้ รามีความสุข เรามอง เราคิดกบั คน ทาให้ เราประสบความสาเร็จ น่ีคือความหมาย สรุปความสาคญั ของคาวา่ การมองโลกในแง่ดี คือ 3 อยา่ งน้ีตอ้ งผกู พนั กนั เสมอคือ การคิด การทา และผลการกระทา ถา้ เราคิดดีเรากท็ าดี ผลจะไดด้ ีดว้ ย ตวั อยา่ งเช่น เราคิดถึงเรื่องอาหาร ถา้ เราคิดวา่ อาหารน้ี ดี เราซ้ืออาหารน้ี และผลจะมีต่อร่างกายเรา ถา้ เราคิดถึงสุขภาพ เรื่องการออกกาลงั เราก็ไปออกกาลงั กาย ผล ที่ตามมาคือ ร่างกายเราแขง็ แรง เพราะฉะน้นั ถา้ เราคิดอยา่ งหน่ึง ทาอยา่ งหน่ึง และผลการกระทาออกมาอยา่ ง หน่ึงเสมอ ถา้ การมองโลกจะมีความสาคญั คือ จะช่วยทาใหช้ ีวติ เรามีความสุข เพราะเราคิดคนๆ น้ีในแง่ดี เรา จะพดู ดีกบั เขา ผลตามมาก็คือเขาจะมีปฏิกิริยาในทางดีกบั เรา ถา้ เราคิดในทางร้ายต่อเขา เช่น สมมติคุณกาลงั ยนื อยู่ มีคนๆ หน่ึงมาเหยยี บเทา้ คุณ ถา้ คิดวา่ คนที่มาเหยยี บเทา้ คุณ เขาไมส่ บายจะเป็นลม แสดงวา่ คุณคิดวา่ เขาสุขภาพไม่ดี คุณจะช่วยพยงุ เขา แตถ่ า้ คุณคิดวา่ คนน้ีแกลง้ คุณ แสดงวา่ คุณมองในแง่ไม่ดี คุณจะมีปฏิกิริยา คือผลกั เขา เม่ือคุณผลกั เขาๆ อาจจะผลกั คุณและเกิดการต่อสู้กนั ได้ เพราะฉะน้นั คิดที่ดีจะช่วยทาใหช้ ีวติ เรามี ความสุข ถา้ คิดร้ายหรือคิดทางลบชีวติ เราเป็นทุกข์ ถา้ คิดในทางท่ีดีเราทางานประสบความสาเร็จ ถา้ คิดในแง่ ลบงานของเรากม็ ีทุกขต์ ามไปดว้ ย (ที่มา: http://www.stou.ac.th/Thai/Offices/Oce/Knowledge/4-46/page6- 4-46.html) สุขหรือทุกข์ขนึ้ อยู่กบั อะไร? ข่าวท่ีมีผถู้ ูกหวยรัฐบาลไดร้ างวลั เป็ นจานวนหลายลา้ นบาท เรียกวา่ เป็ นเศรษฐีภายในชวั่ ขา้ มคืน คงเป็ นข่าวท่ีทุกท่านผา่ นตามาแลว้ และก็ดูเหมือนจะเป็ นทุกขลาภอยไู่ ม่นอ้ ยที่ตอ้ งหลบเล่ียงผทู้ ี่มาหยิบยืม เงินทอง รวมท้งั โจร - ขโมย จอ้ งจะแบ่งปันเงินเอาไปใช้ ในต่างประเทศ ก็เคยมีการศึกษาถึงชีวิตคนท่ีถูกหวยในลกั ษณะของกรณีศึกษาก็คน้ พบวา่ หลายต่อ หลายคน ประสบความทุกขย์ ากแสนสาหสั กวา่ เดิม หลายรายตอ้ งสูญเสียเงินทองจานวนมาก มีอยรู่ ายหน่ึงที่ สุดทา้ ยกลบั ไปทางานเป็ นพนกั งานทาความสะอาด ความเป็ นจริงแลว้ พบวา่ วิธีคิด หรือโลกทศั น์ของเรา ต่างหากท่ีบ่งบอกถึงความสามารถในการมีความสุขหรือความทุกข์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook