Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาการคำนวณ ม.4

แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาการคำนวณ ม.4

Published by ผลงาน, 2022-03-06 04:47:45

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาการคำนวณ ม.4

Search

Read the Text Version

เอกสารการประเมิน ภาค ค ความเหมาะสมกบั ตาแหน่งวิชาชพี และการปฏบิ ัตงิ านในสถานศกึ ษา แผนการจัดการเรียนร1 ู้ วิชาวิทยาการคานวณ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ นางสาวจารุวรรณ โคตรเหง้า ศึกษาศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยแี ละสือ่ สารการศกึ ษา เกยี รตินยิ มอนั ดบั ๒ เอกสารออนไลน์ กลุ่มวชิ าเอก คอมพวิ เตอร์ เลขประจาตวั สอบ ๐๒๔๖๐๐๑๑ สานกั งานศึกษาธิการจังหวัดกรงุ เทพมหานคร (กศจ.กรงุ เทพมหานคร)

ก คานา แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา วิทยาการคานวณรหัสวิชา ว ๓๑๑๐๔ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๔ จัดทาขึ้น เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนโดยมีการศึกษา และวิเคราะห์หลักสูตรตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐ ) สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สาระละมาตรฐานการเรียนรู้ คาอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา แผนการการจัดการเรียนรู้ เพื่อนาไปใช้ใน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในปีการศึกษา ๒๕๖๔ หวังเป็นอย่างย่ิงว่าแผนการจัดการเรียนรู้จะเป็นประโยชน์ ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ส่งผล ให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และนักเรียน มผี ลสมั ฤทธิ์ทางเรียนสงู ขนึ้ ต่อไป จารวุ รรณ โคตรเหง้า

สารบัญ ข คานา หน้า สารบัญ ก หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ข วิสยั ทัศน์ / หลกั การ / จดุ หมาย ๑ สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี นและลักษณะอันพึงประสงค์ ๑ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ๒ คาอธบิ ายรายวชิ า ๔ โครงสร้างรายวชิ า ๘ หน่วยการเรียนรู้ ๙ แผนการจัดการเรยี น ๑๐ ภาคผนวก ๑๑ ๑๗ ภาคผนวก ก ใบงาน ๑๘ ภาคผนวก ข สอ่ื การเรยี นรู้ ๒๑ ภาคผนวก ค แบบประเมิน ๒๔



๑ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ ๒๕๖๐) วสิ ัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐) เป็นหลักสูตรที่มุ่ง พฒั นาผเู้ รียนทกุ คน เปน็ บคุ คลแหง่ การเรียรู้สู่มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความรู้คู่คุณธรรม เปน็ ผนู้ าของสังคม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลกโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยึดม่ันในการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความพร้อมเข้าสู่ประชาชมอาเซียน สามารถใช้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีรสมทงั้ เจคติท่จี าเปน็ ต่อการศึกษาในการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวติ หลักการ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐) มหี ลกั การทสี่ าคัญ ดงั น้ี ๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติมีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็น เป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพ้ืนฐาน ของความเป็นไทย ควบค่กู บั ความเปน็ สากล ๒. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี คณุ ภาพ ๓. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้ สอดคล้องกบั สภาพและความตอ้ งการของท้องถิ่น ๔. เปน็ หลักสตู รการศกึ ษาท่มี ีโครงสร้างยืดหยนุ่ ทัง้ ด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้ ๕. เป็นหลักสูตรการศกึ ษาท่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ ๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก กลมุ่ เป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ จุดหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐) มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้ เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพ่ือให้เกิด กับผเู้ รยี น เมอื่ จบการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ดังน้ี ๑. มีคุณธรรม จริยธรรมและคา่ นยิ มท่ีพงึ ประสงค์เห็นคุณค่าของตนเองมวี นิ ยั และปฏบิ ัติตนตามหลกั ธรรม ของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือ ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๒. มีความรู้ ความสามารถในการส่อื สาร การคดิ การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต ๓. มสี ุขภาพกายและสุขภาพจติ ทด่ี ี มีสขุ นิสยั และรักการออกกาลังกาย

๒ ๔. มีความรกั ชาติ มีจิตสานกึ ในความเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่นั ในวิถชี วี ติ และการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข ๕. มีจิตสานกึ ในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภมู ิปัญญาไทย การอนุรกั ษ์และพัฒนาส่งิ แวดล้อม มีจติ สาธารณะท่มี ุ่งทาประโยชน์และสร้างสง่ิ ทด่ี งี ามในสังคม และอยรู่ ่วมกันในสังคมอยา่ งมคี วามสุข สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ตาม หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ ๒๕๖๐) มงุ่ เนน้ การ พฒั นาผูเ้ รยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน มงุ่ เน้นพฒั นาผู้เรยี นให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานที่ กาหนด ซ่งึ จะช่วยให้ผู้เรียนเกดิ สมรรถนะสาคญั และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ดงั นี้ สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น ตาม หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ ๒๕๖๐) มงุ่ ให้ผ้เู รยี นเกดิ สมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ดังน้ี ๑. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหา ความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้ วิธกี ารส่อื สาร ท่ีมีประสทิ ธิภาพโดยคานงึ ถึงผลกระทบทม่ี ีต่อตนเองและสงั คม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง สร้างสรรค์ การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรหู้ รือสารสนเทศเพ่ือ การตดั สินใจเกี่ยวกบั ตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม ๓.ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมกี ารตัดสนิ ใจทีม่ ปี ระสิทธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบทเี่ กดิ ขึ้น ตอ่ ตนเอง สังคมและสิง่ แวดล้อม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน การดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม ดว้ ยการสร้างเสรมิ ความสัมพันธ์อันดรี ะหวา่ งบุคคล การจัดการปัญหาและความขดั แย้งต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม การ ปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเล่ียงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ท่ี ส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ ื่น ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลอื ก และใช้ เทคโนโลยีด้านตา่ ง ๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยเี พื่อการพฒั นาตนเองและสงั คมในด้านการเรียนรู้การสื่อสารการทางานการ แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมคี ุณธรรม

๓ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐) มุ่งพฒั นาผู้เรียนให้มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้สามารถอยรู่ ว่ มกับผู้อน่ื ในสังคมได้อย่างมีความสขุ ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและ พลโลก ดงั นี้ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๑.๑ เป็นพลเมอื งดี ของชาติ ๑.๒ ธารงไวซ้ งึ่ ความ เปน็ ชาตไิ ทย ๑.๓ ศรัทธา ยึดม่ัน และ ปฏิบตั ิตนตามหลกั ของ ศาสนา ๑.๔ เคารพเทิดทนู สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ ๒. ซือ่ สัตย์สุจริต ๒.๑ ประพฤติตรงตามความเป็นจรงิ ต่อตนเองทั้งทางกาย วาจา ใจ ๒.๒ ประพฤติตรงตามความเปน็ จรงิ ตอ่ ผูอ้ ่นื ทั้งทางกาย วาจา ใจ ๓. มีวนิ ยั ๓.๑ ปฏิบตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ ของครอบครัว โรงเรยี น และ สังคม ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๔.๑ ตัง้ ใจ เพยี รพยายามในการ เรยี น และเขา้ ร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ ๔.๒ แสวงหาความรู้จากแหล่ง เรียนรูต้ ่างๆ ท้ังภายในและ ภายนอกโรงเรยี น ด้วยการเลือกใช้ ส่ืออยา่ งเหมาะสม บนั ทึกความรู้ วเิ คราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ และน าไปใช้ใน ชวี ติ ประจ าวัน ได้ ๕. อย่อู ยา่ งพอเพยี ง ๕.๑ ดาเนนิ ชวี ติ อย่าง พอประมาณ มีเหตผุ ล รอบคอบ มีคุณธรรม ๕.๒ มภี มู ิค้มุ กันในตัวที่ ดี ปรบั ตวั เพ่ืออยใู่ น สงั คมได้อย่างมี ความสขุ ๖. ม่งุ ม่ันในการทางาน ๖.๑ ตง้ั ใจและรับผิดชอบในการ ปฏบิ ัติหนา้ ท่กี ารงาน ๖.๒ ทางานดว้ ยความเพยี ร พยายาม และอดทนเพ่ือใหง้ าน ส าเร็จตามเป้าหมาย ๗. รกั ความเป็นไทย ๗.๑ ภาคภูมิใจใน ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปะ วฒั นธรรมไทย และมคี วาม กตญั ญูกตเวท ๗.๒ เหน็ คณุ ค่าและใช้ ภาษาไทยในการสอ่ื สารไดอ้ ยา่ ง ถกู ต้องเหมาะสม ๗.๓ อนุรกั ษ์และสบื ทอดภมู ิ ปญั ญาไทย ๘. มจี ิตสาธารณะ ๘.๑ ชว่ ยเหลือผู้อนื่ ด้วยความ เต็มใจและพึงพอใจโดยไมห่ วัง ผลตอบแทน ๘.๒ เขา้ รว่ มกจิ กรรมทเ่ี ป็น ประโยชนต์ ่อโรงเรยี น ชมุ ชน และสงั คม นอกจากนสี้ ถานศึกษาสามารถกาหนดคุณลักษณะอนั พึงประสงค์เพ่มิ เติมให้สอดคล้องตามบรบิ ทและ จดุ เน้นของตนเอง

๔ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระที่ ๑ สิ่งมีชวี ติ กับกระบวนการดารงชวี ติ มาตรฐาน ว ๑. ๑ เขา้ ใจหน่วยพนื้ ฐานของสิง่ มีชีวติ ความสัมพันธข์ องโครงสรา้ ง และหน้าท่ีของระบบต่างๆ ของ ส่งิ มชี วี ติ ทท่ี างานสมั พนั ธก์ นั มีกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ส่ือสารสิง่ ทเ่ี รยี นรแู้ ละนาความรู้ไปใช้ ในการดารงชวี ติ ของตนเองและดแู ลสิ่งมีชวี ติ สาระที่ 2 สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว ๓. ๑ เขา้ ใจสมบตั ขิ องสาร ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสมบตั ขิ องสารกบั โครงสรา้ งและแรงยดึ เหนย่ี ว ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสบื เสาะ หาความรแู้ ละจิตวิทยาศาสตรส์ ่อื สารสงิ่ ทเี่ รียนรู้นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ สาระท่ี ๓ สารและสมบตั ิของสาร มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจหลกั การและธรรมชาติของการเปล่ยี นแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การ เกิดปฏิกริ ิยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรแู้ ละจิตวิทยาศาสตร์ ส่ือสารสงิ่ ทเี่ รยี นรู้ และนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระท่ี ๔ แรงและการเคลื่อนท่ี มาตรฐาน ว ๔. ๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแรงนวิ เคลียร์ มีกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ส่ือสารส่ิงที่เรียนร้แู ละนาความรู้ไปใช้ประโยชนอ์ ยา่ งถกู ตอ้ งและมีคณุ ธรรม สาระที่ ๕ พลังงาน มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งพลังงานกับการดารงชีวติ การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏสิ ัมพนั ธ์ ระหวา่ งสารและพลังงาน ผลของการใชพ้ ลงั งานต่อชีวิตและส่ิงแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสง่ิ ทเี่ รยี นรูแ้ ละ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระท่ี ๖ กระบวนการเปลยี่ นแปลงของโลก มาตรฐาน ว ๖. ๑ เข้าใจกระบวนการตา่ ง ๆ ท่ีเกดิ ขน้ึ บนผวิ โลกและภายในโลก ความสัมพันธข์ องกระบวนการ ตา่ ง ๆ ท่ีมผี ลต่อการเปล่ยี นแปลงภูมอิ ากาศ ภมู ิประเทศ และสณั ฐานของโลก มกี ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจติ วิทยาศาสตร์ ส่ือสารสงิ่ ที่เรยี นรแู้ ละนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ สาระท่ี ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๘. ๑ ใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตรใ์ นการสบื เสาะหาความรู้ การแกป้ ญั หา รู้ วา่ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติทเี่ กดิ ข้นึ ส่วนใหญ่มรี ูปแบบที่แนน่ อน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใตข้ ้อมลู และเครื่องมือท่ีมอี ยใู่ นช่วงเวลานนั้ ๆ เข้าใจวา่ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คม และสิง่ แวดลอ้ ม มคี วามเก่ยี วข้อง สมั พนั ธ์กัน

๕ คณุ ภาพผู้เรียน จบชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ❖เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบท่ีสาคัญของเซลล์ส่ิงมีชีวิต ความสัมพันธ์ของการทางานของระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ การดารงชีวิตของพืช การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงของยีนหรือ โครโมโซม และตวั อยา่ งโรคทเี่ กิดจากการเปลย่ี นแปลงทางพันธุกรรม ประโยชน์และผลกระทบของส่ิงมชี ีวติ ดัดแปร พันธกุ รรม ความหลากหลายทางชีวภาพ ปฏสิ มั พันธ์ขององค์ประกอบของระบบนิเวศและการถ่ายทอดพลงั งานใน สิง่ มีชีวิต ❖เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของธาตุ สารละลาย สารบริสุทธิ์ สารผสม หลักการแยกสาร การ เปล่ียนแปลงของสารในรูปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี และสมบัติ ทางกายภาพ และการใชป้ ระโยชน์ของวัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิกส์ และวัสดุผสม ❖เข้าใจการเคล่ือนที่ แรงลัพธ์และผลของแรงลัพธ์กระทาต่อวัตถุ โมเมนต์ของแรง แรงท่ีปรา กฏใน ชีวิตประจาวัน สนามของแรง ความสัมพันธ์ของงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์พลังงาน การถ่ายโอนพลังงาน สมดุลความร้อน ความสัมพันธ์ของปริมาณทางไฟฟ้า การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน พลังงาน ไฟฟา้ และหลกั การเบื้องตน้ ของวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์ ❖เข้าใจสมบัตขิ องคลื่น และลักษณะของคลน่ื แบบตา่ งๆแสงการสะท้อนการหักเหของแสงและทัศนปู กรณ์ ❖เข้าใจการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ การเกิดฤดู การเคล่ือนที่ปรากฏของดวงอาทิตย์ การ เกิดข้างข้ึนข้างแรม การขึ้นและตกของดวงจันทร์ การเกิดน้าขึ้นน้าลง ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ และ ความก้าวหน้าของโครงการสารวจอวกาศ ❖เขา้ ใจลกั ษณะของชนั้ บรรยากาศ องคป์ ระกอบและปจั จยั ทม่ี ผี ลต่อลมฟ้าอากาศ การเกิดและผลกระทบ ของพายุฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน การพยากรณ์อากาศ สถานการณ์ การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลก กระบวนการเกิดเช้ือเพลิงซากดึกดาบรรพ์และการใช้ประโยชน์ พลังงานทดแทนและการใช้ประโยชน์ ลักษณะ โครงสร้างภายในโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาบนผิวโลก ลักษณะชั้นหน้าตัดดิน กระบวนการเกิด ดนิ แหลง่ นา้ ผวิ ดิน แหล่งน้าใตด้ นิ กระบวนการเกดิ และผลกระทบของภยั ธรรมชาติ และธรณพี ิบตั ิภัย ❖เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพ่ือเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากรเพ่ือออกแบบและสร้างผลงานสาหรบั การแก้ปัญหาในชวี ติ ประจาวันหรือการประกอบอาชพี โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภยั รวมท้ังคานงึ ถึงทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา ❖นาข้อมูลปฐมภูมิเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ ประเมิน นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศได้ตาม วัตถปุ ระสงค์ ใชท้ ักษะการคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชวี ิตจริง และเขียนโปรแกรมอยา่ งง่ายเพ่ือช่วยใน การแก้ปญั หา ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารอย่างร้เู ทา่ ทันและรับผดิ ชอบต่อสงั คม ❖ตั้งคาถามหรือกาหนดปัญหาทเี่ ช่อื มโยงกบั พยานหลักฐาน หรอื หลักการทางวิทยาศาสตรท์ ี่มีการกาหนด และควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคาตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานท่ีสามารถนาไปสู่การสารวจตรวจสอบ ออกแบบและลงมือสารวจตรวจสอบโดยใช้วัสดุและเคร่ืองมือท่ีเหมาะสม เลือกใช้เครื่องมือและเทคโนโลยี สารสนเทศทเี่ หมาะสมในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ทงั้ ในเชิงปริมาณและคุณภาพทีไ่ ดผ้ ลเทีย่ งตรงและปลอดภยั

๖ ❖วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูลที่ได้จากการสารวจตรวจสอบจากพยานหลักฐาน โดย ใช้ความรู้และหลักการทางวิทยาศาสตร์ในการแปลความหมายและลงข้อสรุปและสือ่ สารความคิด ความรู้ จากผล การสารวจตรวจสอบหลากหลายรูปแบบ หรือใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อใหผ้ ูอ้ ืน่ เขา้ ใจไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ❖แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซ่ือสัตย์ ในสิ่งท่ีจะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ เก่ียวกับเร่ืองที่จะศึกษาตามความสนใจของตนเอง โดยใช้เครื่องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้อง เช่ือถือได้ ศึกษา ค้นคว้าเพ่ิมเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นของตนเองรับฟังความคิดเห็นผู้อ่ืน และยอมรับการ เปล่ยี นแปลงความรทู้ ่คี ้นพบ เมื่อมขี อ้ มูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มข้ึนหรือโต้แยง้ จากเดิม ❖ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจาวัน ใช้ความรู้และ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดารงชีวิต และการประกอบอาชีพ แสดงความช่ืนชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น เข้าใจผลกระทบท้ังด้านบวกและด้านลบของการพัฒนาทางวทิ ยาศาสตร์ตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มและตอ่ บริบทอนื่ ๆ และศกึ ษาหาความร้เู พ่มิ เติม ทาโครงงานหรอื สรา้ งชิน้ งานตามความสนใจ ❖แสดงถึงความซาบซ้ึง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลรกั ษาความสมดุลของระบบนิเวศ และความ หลากหลายทางชวี ภาพ จบชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ ❖เข้าใจการลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ กลไกการรักษาดุลยภาพของมนุษย์ ภูมิคุ้มกันในร่างกาย ของมนุษย์และความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน การใช้ประโยชน์จากสารต่าง ๆ ท่ีพืชสร้างข้ึน การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรม วิวัฒนาการที่ทาให้เกิดความหลากหลายของส่ิงมีชีวิต ความสาคัญและผลของเทคโนโลยที างดีเอ็นเอตอ่ มนษุ ย์ ส่ิงมชี วี ิต และสง่ิ แวดลอ้ ม ❖เข้าใจความหลากหลายของไบโอมในเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ของโลก การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบ นิเวศ ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และการแก้ไขปญั หาส่ิงแวดลอ้ ม ❖เข้าใจชนิดของอนุภาคสาคัญที่เป็นส่วนประกอบในโครงสร้างอะตอม สมบัติบางประการของธาตุ การ จดั เรียงธาตุในตารางธาตุ ชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งอนุภาคและสมบัติตา่ ง ๆ ของสารท่มี คี วามสัมพันธก์ ับแรง ยึดเหนี่ยว พันธะเคมี โครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์ การเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการ เกิดปฏิกิริยาเคมี และการเขยี นสมการเคมี ❖เข้าใจปริมาณท่ีเกี่ยวกับการเคลื่อนท่ี ความสัมพันธ์ระหว่างแรง มวลและความเร่งผลของความเร่งที่มี ต่อการเคล่ือนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ แรงโน้มถ่วง แรงแม่เหล็ก ความสัมพันธ์ระหว่างสนามแม่เหล็กและ กระแสไฟฟา้ และแรงภายในนิวเคลียส ❖เข้าใจพลังงานนิวเคลียร์ ความสัมพันธ์ระหว่างมวลและพลังงาน การเปล่ียนพลังงานทดแทนเป็น พลังงานไฟฟ้า เทคโนโลยีด้านพลังงาน การสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน และการรวมคล่ืน การได้ยิน ปรากฏการณ์ท่เี กี่ยวขอ้ งกับเสยี ง สกี ับการมองเหน็ สี คล่นื แมเ่ หล็กไฟฟา้ และประโยชน์ของคลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้า ❖เข้าใจการแบ่งชั้นและสมบตั ิของโครงสร้างโลก สาเหตุ และรปู แบบการเคล่ือนที่ของแผน่ ธรณีท่สี ัมพันธ์ กับการเกิดลักษณะธรณีสัณฐาน สาเหตุ กระบวนการเกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด สึนามิ ผลกระทบ แนว ทางการเฝา้ ระวัง และการปฏิบตั ิตนใหป้ ลอดภยั ❖เข้าใจผลของแรงเนื่องจากความแตกต่างของความกดอากาศ แรงคอริออลิส ท่ีมีต่อการหมุนเวียนของ อากาศ การหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด และผลท่ีมีต่อภูมิอากาศ ความสัมพันธ์ของการหมุนเวียนของ อากาศ และการหมุนเวียนของกระแสน้าผิวหน้าในมหาสมุทร และผลต่อลักษณะลมฟ้าอากาศ ส่ิงมีชีวิตและ

๗ สิ่งแวดล้อม ปัจจัยต่าง ๆ ท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก และแนวปฏิบัติเพ่ือลดกิจกรรมของมนุษย์ท่ี ส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลก รวมทั้งการแปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟ้าอากาศท่ีสาคัญจากแผนที่ อากาศ และขอ้ มลู สารสนเทศ ❖เข้าใจการกาเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงาน สสาร ขนาด อุณหภูมิของเอกภพ หลักฐานท่ีสนับสนุน ทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแล็กซี โครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซีทางช้างเผอื ก กระบวนการเกิดและ การสร้างพลังงาน ปัจจัยที่ส่งผลต่อความส่องสว่างของดาวฤกษ์ และความสัมพันธ์ระหว่างความส่องสว่างกับโชติ มาตรของดาวฤกษ์ ความสัมพันธ์ระหว่างสี อุณหภูมิผิว และสเปกตรัมของดาวฤกษ์ วิวัฒนาการและการ เปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของดาวฤกษ์ กระบวนการเกิดระบบสุริยะ การแบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตย์ ลักษณะของดาวเคราะห์ที่เอ้ือต่อการดารงชีวิต การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะและผลที่มีต่อโลก รวมท้ังการสารวจ อวกาศและการประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีอวกาศ

๘ คาอธิบายรายวิชา รายวชิ า วิทยาการคานวณ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔ กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว ๓๑๑๐๔ ภาคเรียนที่ ๒ เวลาเรียน ๒๐ ช่วั โมง/ภาคเรียน (๑ ชัว่ โมง/สัปดาห)์ จานวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ศึกษาหลักการของแนวคิดเชิงคานวณ การแยกส่วนประกอบและการย่อยปัญหา การหารูปแบบการคิด เชงิ นามธรรม ตัวอยา่ งและประโยชน์ ของแนวคิดเชิงคานวณเพ่อื แก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ประยกุ ต์ใชแ้ นวคิดเชิง คานวณใน การออกแบบข้นั ตอนวิธสี าหรับแก้ปัญหา การแก้ปัญหาดว้ ยคอมพวิ เตอร์ การระบขุ อ้ มูลเขา้ ข้อมลู ออก และเงื่อนไขของปัญหา การออกแบบขั้นตอนวิธีการทาซ้า การจัดเรียงและค้นหาข้อมูล ตัวอย่างการออกแบบ ขนั้ ตอนวธิ เี พื่อแก้ปญั หาดว้ ยคอมพวิ เตอร์ การศึกษาตวั อยา่ งโครงงานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การกาหนดปญั หา ศึกษา วางแผน ดาเนินงาน สรุปผลและเผยแพร่ ในการพัฒนาโครงงานที่มีการบูรณาการร่วมกับวิชาอ่ืนและ เชื่อมโยงกับชีวติ จรงิ รหัสตวั ชีว้ ัด ว ๔.๒ ม.๔/๑ ประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคานวณในการพัฒนาโครงงานท่ีมีการบูรณาการกับวิชาอื่นอย่าง สรา้ งสรรค์ และเช่ือมโยงกับชีวติ จรงิ รวมทง้ั หมด ๑ ตวั ชีว้ ัด

โครงสรา้ งรายวชิ า ๙ รายวชิ า วิทยาการคานวณ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๔ กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว ๓๑๑๐๔ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรยี น (๑ ชั่วโมง/สัปดาห์) จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ท่ี ช่ือหน่อยการเรยี นรู้ รหสั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้ (เนือ้ หา) เวลา นา้ หนัก /ผลกาเรยี นรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน ๑ แนวคิดเชิงคานวณในการพัฒนา ว ๔.๒ ม.๔/๑ ๑.แนวคิดเชิงคานวณ ๗ ๑๕ โครงงานที่เก่ยี วกับชีวิตประจาวัน ๑.๑ กระบวนการคิดเป็นเชิงคานวณ ๔ ๑๕ เชอ่ื มโยงกับชวี ติ จรงิ ๑.๒ กระบวนการแก้ปญั หา ๒. กระบวนการเทคโนโลยี ๓. กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ ๔. ทกั ษะพัฒนาโครงงาน ๕. ระบบเลขฐาน ๒ การพัฒนาโครงงาน ว ๔.๒ ม.๔/๑ ๑. โครงงาน ๒. ขั้นตอนการทาโครงงาน สอบกลางภาค ๑ ๒๐ ๓ การเรียนร้ดู ว้ ยโครงงาน ว ๔.๒ ม.๔/๑ ๑. แนวคิดเชงิ คานวณในการทาโครงงาน ๗ ๑๕ ๒. โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ๓. ตัวอยา่ งโครงงาน สอบปลายภาค ๑ ๒๐ รวม ๒๐ ๑๐๐

หน่วยการเรยี นรู้ ๑๐ รายวชิ า วิทยาการคานวณ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๔ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหสั วิชา ว ๓๑๑๐๔ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลาเรียน ๒๐ ช่วั โมง/ภาคเรียน (๑ ชัว่ โมง/สปั ดาห)์ จานวน ๐.๕ หน่วยกติ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ แนวคดิ เชิงคานวณในการพฒั นาโครงงานท่เี กี่ยวกับชีวิตประจาวนั ๗ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑ แนวคิดเชงิ คานวณ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๒ กระบวนการคดิ เป็นเชิงคานวณเช่อื มโยงกบั ชีวติ จรงิ ๔ ชวั่ โมง แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๓ กระบวนการแก้ปัญหา ๑ ชั่วโมง แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๔ กระบวนการเทคโนโลยี ๗ ช่ัวโมง แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๕ กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๖ กระบวนการเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๑ ชว่ั โมง แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๗ระบบเลขฐาน ๒๐ ชว่ั โมง หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๒ การพัฒนาโครงงาน แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๘ โครงงาน แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๙ ข้ันตอนการทาโครงงาน แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑๐ การศึกษาคน้ คว้า หลักการ ทฤษฎี เอกสารและแหล่งข้อมลู แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑๑ การเขยี นรายงานโครงงาน สอบกลางภาค หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๓ การเรียนรู้ดว้ ยโครงงาน แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑๒ การเรยี นรู้ดว้ ยโครงงาน แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑๓ แนวคิดเชงิ คานวณในการทาโครงงาน แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑๔ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑๕ ตัวอยา่ งโครงงาน แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑๖ นาเสนอโครงงาน แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑๗ การจดั แสดงผลงานโครงงาน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๘ การพัฒนาโครงงาน สอบปลายภาค รวมทั้งหมด

๑๑ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒ วชิ าวทิ ยาการคานวณ รหสั ว ๓๑๑๐๔ กลุม่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ แนวคดิ เชงิ คานวณ ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔ ภาคเรยี นที่ ๒ จานวน ๑ คาบ/สัปดาห์ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑ เรื่อง แนวคิดเชิงคานวณ เวลา ๑ ชวั่ โมง วนั ทีส่ อน.....................………..……..…เดอื น………………………….............................……………..พ.ศ. …………….……… ผ้สู อน นางสาวจารุวรรณ โคตรเหง้า มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั ว 4.2 ม.4/1 ประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคานวณในการพัฒนาโครงงานท่ีมีการบูรณาการกับวิชาอื่นอย่าง สรา้ งสรรค์ และเชื่อมโยงกบั ชีวิตจริง สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด แนวคิดเชิงคานวณเป็นกระบวนการคิดที่ต้องใช้ทักษะและเทคนิคในการแก้ไขปัญหาหรือวางแผน เตรียมการแก้ปัญหาไว้ล่วงหน้า การพัฒนาโครงงานต่าง ๆ ท่ีประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคานวณในโครงงานจะได้รับ ผลลัพธ์ทีด่ ี จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑.ดา้ นความรู้ (Knowledge) - นกั เรียนบอกความหมายแนวคิดเชิงคานวณ Computational Thinking (CT) ได้ ๒. ด้านทกั ษะกระบวนการ(Process) - นักเรียนมีสามารถยกตัวอยา่ ง แนวคดิ เชิงคานวณ Computational Thinking (CT) ได้ ๓. ด้านเจตพสิ ัย (Attitude) - นักเรียนให้ความร่วมมือในการจัดการเรียนการสอน มีการแสดงความคิดเห็น และมีความ กระตือรือรน้ ในการเรยี นเปน็ อยา่ งดี สาระการเรียนรู้ - แนวคิดเชงิ คานวณ - สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น  ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแกป้ ญั หา ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ  ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ - ใฝเ่ รียนรู้ - มงุ่ มน่ั ในการทางาน

๑๒ ภาระช้นิ งาน/ช้ินงาน/หลกั ฐานการเรียนรู้ - แบบทดสอบหลังเรยี น บรู ณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เง่ือนไขคุณธรรม : มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซ่ือสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการดาเนินชวี ติ บรู ณาการภายในวิชา การบรู ณาการภายในวชิ า คอื นักเรียนไดใ้ ชท้ ักษะการฟงั การพดู โตต้ อบกับครู กระบวนการคดิ เปน็ เชิง คานวณเช่อื มโยงกบั ชวี ิตจริง กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ข้นั นา 1. ครูแจ้งจุดประสงคก์ ารเรียนรทู้ ุกหน่วยการเรยี นรู้ 2. ครูนาเข้าสู่บทเรียนด้วยคาถาม “พอพูดถึงคานวณนึกถึงอะไร” เพื่อทบทวนประสบการณ์เดิมของ นักเรยี น โดยใหน้ ักเรยี นอภิปรายจากประสบการณ์เดิมของนักเรียนและครูชว่ ยเสริมเพิ่มเติมขอ้ มูล 3. ให้นกั เรยี นพจิ ารณาดูเสื้อนกั เรียนท่ีตัวเองสวมใส่ แล้วครตู ้งั คาถามถามนกั เรยี น คาถาม - ทาไมนักเรียนตอ้ งใสเ่ สือ้ นักเรยี น - คาถามที่ 2, 3, ... ให้นักเรียนร่วมกันต้ังคาถาม อาจกาหนดให้คนละ 1 คาถามหรือมากกว่านั้นก็ได้ (การตัง้ คาถามหรอื กระดานความคิดเห็นออนไลน์ บน Padlet ) - ก่อนจะเป็นเสื้อให้สวมใส่ เป็นอะไรมาก่อน วัตถุดิบ-ผ้า กระบวนการผลิต-สร้างแบบเส้ือ ตัดเย็บ ผลผลิต-เสอื้ - ครนู าอภปิ รายเกย่ี วกบั คาตอบของนกั เรยี น - ให้นกั เรยี นศกึ ษาเรอ่ื งแนวคิดเชงิ คานวณแบง่ ออกเป็น 3 คา คอื แนวคิด เชงิ คานวณ - ให้นกั เรียนศึกษาเรอ่ื ง การแก้ปัญหาอยา่ งมีขนั้ ตอนอาศัยกระบวนการคดิ อย่างมีระบบ 3 องค์ประกอบ ข้ันสอน 1. นักเรียนแบ่งกลุ่มๆ ละ 4 - 6 คน (หรือตามความเหมาะสม) ร่วมกันศึกษากระบวนแนวคิดเชิงคานวณ จากหนงั สอื เรียนหรือเว็บไซต์ จากนนั้ แบ่งหนา้ ทเ่ี พอื่ ทาการสืบค้น สารวจ ตรวจสอบ วิเคราะห์ และอภปิ รายข้อมูล ทีร่ ่วมกนั ศึกษา ด้วยการตัง้ คาถามวา่ “กระบวนการแนวคิดเชงิ คานวณประกอบดว้ ยอะไรบ้าง” 2. นักเรียนกลุ่มเดิมร่วมกันศึกษาเร่ือง แนวคิดเชิงคานวณ แบ่งออกเป็น 3 คา คือ แนวคิด เชิง คานวณ และศกึ ษาเร่อื ง การแก้ปญั หาอยา่ งมขี นั้ ตอนอาศัยกระบวนการคิดอย่างมีระบบ 3 องคป์ ระกอบ 3. นกั เรยี นศกึ ษาและครูอธบิ ายตวั อย่างการเหน็ ขวดน้าวางอยู่บนโต๊ะวา่ มแี นวคดิ เชิงคานวณอยา่ งไร 4. นักเรียนทากิจกรรมสะเตม็ ศึกษา หัวขอ้ ทก่ี าหนด คือ ทาอย่างไรจงึ จะเก็บมะนาวให้ได้นานโดยไมเ่ น่า 5. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มนาเสนอผลงานท่ีได้จากกิจกรรมที่คดิ และรว่ มกนั ประเมินชิน้ งาน

๑๓ ข้นั สรุป 1. ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรปุ เป็นสาระการเรยี นรทู้ ่สี าคัญตามแนวทางดงั น้ี - “แนวคิดเชิงคานวณ” ไม่ไดห้ มายถึงการคานวณจริง ๆ แตเ่ ป็นแนวคดิ ของการวเิ คราะห์ การใช้เหตุผล อย่างมลี าดบั ขนั้ ตอน - มีพ้นื ฐานการคดิ เชิงคานวณ Computational Thinking (CT) ประกอบดว้ ย 4 องคป์ ระกอบ คอื 1) การแบ่งปัญหาใหญ่ใหเ้ ป็นปัญหายอ่ ย (Decomposition) คือ การลงลกึ เพ่ือวเิ คราะห์ ส่วนประกอบย่อย เพอ่ื ศกึ ษาความซับซอ้ นของผลลัพธห์ รือปญั หา 2) การมองหารปู แบบของปญั หา (Pattern Recognition) คอื การมองหารปู แบบของปญั หา หรือสถานการณ์ (Pattern) ทีเ่ กดิ ขนึ้ ซา้ ๆ แลว้ จดจารูปแบบ 3) การคดิ เชงิ นามธรรม การสรุป และการสรา้ งรปู แบบ (Abstraction and Pattern Generalization) คอื การมองภาพรวมเพื่อนยิ ามสง่ิ ท่ีเปน็ รายละเอียดปลีกย่อย 4) การออกแบบข้นั ตอนวธิ ีการแก้ปญั หา (Algorithm Design) คือ การออกแบบลาดบั การ ทางานทส่ี ามารถสรา้ งรูปแบบ การทางานให้สน้ั ทสี่ ุด และเกิดผลลพั ธ์ตามทกี่ าหนดเป็นรูปแบบทีส่ าคัญทส่ี ุด - กระบวนการคิดอยา่ งเปน็ ระบบ มี 3 องค์ประกอบ คอื 1) ปจั จัยนาเขา้ (Input) หมายถึง ส่งิ ทเ่ี ป็น ตน้ เหตุ ต้นทุนหรือวตั ถุดิบต้ังตน้ ของปรากฏการณ์นนั้ ๆ 2) กระบวนการ (Process) หมายถงึ การกระทา (จากน้ามือมนุษย์ หรอื จากประกฎการณธ์ รรมชาติ กไ็ ด)้ ที่ทาใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงข้ึน 3) ปัจจัยส่งออก (Output) หมายถึง ผลผลิต หรือผลลัพธ์ ท่ีเกิดจากปัจจัยนาเข้าที่ผ่านการกระทา หรอื กระบวนการแลว้ 2. ครูและนักเรียนสรุปกิจกรรมหัวข้อ ทาอย่างไรจึงจะเก็บมะนาวให้ได้นานโดยไม่เน่า ว่าได้ข้ันตอนวิธี ทัง้ หมดก่ีวิธี และใหน้ ักเรยี นทบทวนความเขา้ ใจ โดยการทาใบงาน เปน็ การบา้ น สง่ ใน Classroom ส่ือการเรียนรู้/แหลง่ การเรยี นรู้ 1. หนงั สอื เรียนรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลย(ี วิทยาการคานวณ) ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 2. คอมพิวเตอร์พรอ้ มอุปกรณ์ 3. โปรเจคเตอรพ์ ร้อมอปุ กรณ์ 4. หอ้ งปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร์ 5. เวบ็ ไซตต์ ่างๆ

๑๔ การวัดและประเมินผล ส่งิ ท่ีวดั และ วิธกี าร เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน ประเมนิ ความรู้ (K) แบบประเมินผลการเรียนรู้ด้วย แบบประเมนิ ใช้การผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ ๗๐ ข้นึ ไป ตนเอง ทกั ษะ (P) แบบประเมนิ ดา้ นทกั ษะปฏบิ ตั ิ แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑร์ ะดับ ๓ ขน้ึ ไป เจตคติ (A) แบบประเมินคุณลักษณะอันพึง แบบประเมิน ผา่ นเกณฑร์ ะดับ ๓ ขน้ึ ไป ประสงค์ ลงช่อื ....................................................... (ผเู้ ขยี นแผน) (นางสาวจารวุ รรณ โคตรเหงา้ ) วันที่.......เดือน.............................พ.ศ................................ กจิ กรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…. ...…...……………………………………………………………………………………………..……………………………………………………...... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….............. ……………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………… ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้าของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…. ...…...……………………………………………………………………………………………..……………………………………………………...... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….............. ……………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………… ลงชือ่ ........................................................หัวหนา้ กลุม่ สาระ (....................................................) วันท่.ี ......เดือน.............................พ.ศ................................

๑๕ บนั ทึกหลังการสอน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี……………………………… เรื่อง ………………………………………………….…………………………………….…. แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี…………………… เร่อื ง …………………………………………………….…………………………………….…. ผลการจัดการเรียนรู้ ผลการเรยี นรูข้ องนกั เรยี น นกั เรยี นมีจานวนท้งั ส้ิน.....................คน เขา้ เรียนจานวนทงั้ สน้ิ ....................คน จากการจดั กิจกรรมการเรยี นรพู้ บว่านักเรียนเกิดการเรยี นรู้ตามวัตถุประสงค์ดงั น้ี ดา้ นความรู้ (K) นักเรยี นสามารถ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…. ...…...……………………………………………………………………………………………..……………………………………………………...... จานวนทง้ั ส้นิ ........................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ......................... ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) นกั เรียนสามารถ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…. ...…...……………………………………………………………………………………………..……………………………………………………...... จานวนทง้ั สน้ิ ........................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ......................... ดา้ นเจตคติ (A) นกั เรยี นสามารถ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…. ...…...……………………………………………………………………………………………..……………………………………………………...... จานวนท้ังสิ้น........................คน คิดเป็นร้อยละ......................... ปัญหา / อุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…. ...…...……………………………………………………………………………………………..……………………………………………………...... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….............. ……………………………………………………………………………………………………………...………………………………………………

๑๖ ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…. ...…...……………………………………………………………………………………………..……………………………………………………...... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… ลงช่ือ ผ้สู อน (นางสาวจารุวรรณ โคตรเหง้า) วันที่.....เดือน......................พ.ศ. .................. ความคดิ เห็นของผ้บู ริหารสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…. ...…...……………………………………………………………………………………………..……………………………………………………...... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….............. ……………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………… ลงช่ือ ผูอ้ านวยการ (..........................................................) วันท.ี่ ....เดือน......................พ.ศ. ..................

๑๗ ภาคผนวก

๑๘ ภาคผนวก ก ใบงาน

๑๙ ภาคผนวก ก ใบงาน ใบงาน เรอ่ื ง แนวคดิ เชิงคานวณ คาช้แี จง : ระบุปญั หาที่นักเรียนพบในชีวิตประจาวนั และเขียนอธบิ ายการนาแนวคิดเชงิ คานวณไปใชใ้ นการ แก้ปญั หาน้นั ปญั หาท่ีพบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….............. แนวคดิ เชงิ คานวณ วิธีการแก้ปญั หา 1.แนวคดิ การแยกยอ่ ย 2.แนวคิดการจดจารปู แบบ 3.แนวคดิ เชิงนามธรรม 4.แนวคดิ การออกแบบขน้ั ตอน

๒๐ ภาคผนวก ก ใบงาน ใบงาน เรือ่ ง แนวคิดเชิงคานวณ คาช้ีแจง : ระบปุ ัญหาท่นี กั เรยี นพบในชีวติ ประจาวนั และเขยี นอธบิ ายการนาแนวคดิ เชิงคานวณไปใชใ้ นการ แก้ปัญหาน้นั ปญั หาท่ีพบ มนี ัดพบกับเพื่อนหลงั เลกิ เรยี นท่สี ยามสแควรว์ ันในวันศุกร์ซึง่ เปน็ วนั ท่ีรถติดมากทีส่ ดุ ในสปั ดาห์ จงึ ต้องการ หาวธิ ี เดินโรงเรยี นไปสยามสแควรว์ ันให้ทันเวลานดั แนวคดิ เชงิ คานวณ วธิ กี ารแกป้ ัญหา 1.แนวคิดการแยกยอ่ ย - เดนิ ทางด้วยรถประจาทางจะใชเ้ วลานานเพราะรถติด แต่จ่ายค่าเดนิ ทาง ไม่แพง - เดินทางดว้ ยรถไฟฟ้าจะใชเ้ วลาน้อยกว่า แต่จ่ายค่าเดินทางมากขน้ึ - เลือ่ นนัดเพอื่ นไปเปน็ วนั ท่เี ดินทางสะดวกกว่า 2.แนวคิดการจดจารูปแบบ - ไมค่ วรเล่อื นนัดเพื่อนเพราะเป็นธุระจาเปน็ .ควรหาวธิ ีเดินทาง ไปให้ ทันเวลานัด 3.แนวคิดเชิงนามธรรม ตัดสินใจเดนิ ทางด้วยรถไฟฟา้ เพราะเลีย่ งรถติตและใช้เวลาเดนิ ทางนอ้ ย กว่า 4.แนวคดิ การออกแบบขั้นตอน 1) ออกจากโรงเรยี นเร็วขึ้น 2) นั่งรถมอเตอรไ์ ซตว์ ินไปท่สี ถานีรถไฟฟา้ ท่ีใกลโ้ รงเรียนท่ีสุด 3) น่งั รถไฟฟ้าไปลงท่ีสถานีสยาม 4) เดินไปสถานทน่ี ัดหมาย

๒๑ ภาคผนวก ข สอ่ื การจดั การเรยี นรู้

๒๒ ภาคผนวก ข สื่อการจัดการเรยี นรู้ สอื่ ประกอบการทากจิ กรรม ๑. กระดานความคิดเหน็ Online Padlet ๒. สอ่ื การสอน

๒๓ ๓. Word wall เกม: จัดกิจกรรมการสุ่มกลุ่มนาเสนอ ๔.ช่องทางการส่งงาน และประเมินผล

๒๔ ภาคผนวก ค แบบประเมิน

๒๕ แบบประเมนิ พฤติกรรมการเรียนรู้ วิชา วิทยาการคานวณ ม.๔ เรอ่ื ง ...............................................................ช้นั ม.๔/....... วันที่ ............. เดอื น ................................พ.ศ. ................... ความ การตงั้ การทา สง่ งาน มาเรียน รวม ปรบั ต้ังใจ คาถาม กจิ กรรม ในเวลา สม่าเสมอ คะแนน คะแนน เลขท่ี ช่อื -นามสกุล ม่งุ ม่ัน ตอบ กลมุ่ ที่ (๔) (๒๐) (๑๐) (๔) คาถาม (๔) กาหนด (๔) (๔) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ หมายเหตุ ๑. แบบประเมินนใี้ ชไ้ ด้ตลอดภาคเรียน ๒. บันทึกพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสมในแต่ละช่อง แล้วจึงสรุปคะแนนที่ได้ในแต่ละช่อง ซ่ึงต้อง ตก ลงกบั นักเรยี นว่าไมถ่ กู ตอ้ งกีค่ รั้งซงึ่ จะถกู หัก ๑ คะแนน ลงชอื่ ผ้ปู ระเมิน (..........................................................) วนั ที.่ ....เดือน......................พ.ศ. ..................

๒๖ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ วชิ า วิทยาการคานวณ ม.๔ เรื่อง ...............................................................ชน้ั ม.๔/....... วนั ท่ี ............. เดือน ................................พ.ศ. ................... เลขที่ ชอ่ื -นามสกุล มีวนิ ัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันใน มจี ิต ซ่ือสัตยส์ จุ ริต สรปุ การทางาน สาธารณะ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ คาชแ้ี จง ๑. แบบประเมินน้ใี ช้ตลอดภาคเรียน ประเมนิ ใหค้ รบทกุ รายการ ๒. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ๓ = ดเี ยีย่ ม ๒ = ดี ๑ = ผา่ น ๓. สรุปผลการประเมินอาจใช้ค่าเฉลี่ย ถ้ามีจุดทศนิยมต้ังแต่ ๐.๕ ให้ปัดขึ้น หรือประเมินโดยใช้ เกณฑ์ถ้ามีระดับคุณภาพใดมากที่สุด สรุปผลการประเมินจะเป็นระดับนั้น เช่น ถ้าได้ ๓ = ๓ รายการ ได้ ๒ = ๖ รายการ สรุปผลได้ = ๒

๒๗

๒๘


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook