1
2 คำนำ ภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ เป็นสิ่งทีบ่ รรพบรุ ุษของไทยสร้างสมมาเป็นระยะเวลายาวนาน และเปน็ ส่ิงมคี ณุ ค่าย่ิง ท่ีชุมชนรุ่นหลังควรอนุรักษ์และสืบสานต่อไป ภูมิปัญญาส่วนใหญ่จะเชื่อมโยงสู่การใช้ประโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยู่ในท้องถ่ิน เช่น หมอกระดกู ขนมจีนหมกั (คะหนอ้ ง) และประเพณีทอยสะบา้ (เบ เกซา้ ) เป็นต้น ซ่ึงเป็นภูมิปัญญาท้องถ่ินอาเภอสวนผึ้งและเป็นภูมิปัญญาท่ีทรงคุณค่าแก่การจดบันทึกไว้เป็น การสืบสานและอนรุ ักษ์ภูมิปัญญาท้องถิน่ ที่สาคัญและมปี ระโยชน์ไว้ไม่ให้สูญหาย กศน.ตาบลสวนผึ้ง ได้ดาเนินการสารวจและจัดทาเอกสารทาเนียบภูมิปัญญาในท้องถิ่นในพื้นที่ตาบล สวนผึ้ง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ทราบถึงแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในพ้ืนท่ี และจัดทาเป็นทาเนียบเพ่ือ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ความรู้ทักษะในภูมิปัญญาต่าง พร้อมท้ังเป็นข้อมูลในการวางแผนการพัฒนาต่อยอด ให้เป็นอาชีพเสริมของประชาชนในพ้ืนที่ต่อไป กศน.ตาบลสวนผึ้ง จึงได้จัดทาเนียบภูมิปัญญาท้องถ่ิน ประจาเดือนกมุ ภาพนั ธ์ 2563 จานวน 3 แห่ง ซ่ึงมคี วามหลากหลายตามบริบทของชมุ ชน กศน.ตาบลสวนผ้ึง ต้องขอขอบพระคุณผู้ให้ข้อมูลภูมิปัญญาท้องท้องถ่ินทุกคน รวมถึงคณะกรรมการ ดาเนินการสารวจและจัดทาเอกสารฉบับนี้ หวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารฉบับน้ีคงมีประโยชน์ต่อผู้อ่านหรือ ผ้สู นใจในเรื่องภูมิปญั ญานี้ กศน.ตาบลสวนผึ้ง
สำรบญั 3 คำนำ หน้ำ สำรบญั กศน.ตำบลสวนผ้งึ 1 3 - คลังปัญญา หมอกระดูก : นายฉอ่ ง จ๊ับโกรย 5 - คลังปัญญา ขนมจนี หมัก (คะหน้อง) : นางก่อง เณยา - คลงั ปญั ญา ประเพณีทอยสะบา้ (เบเกซ้า) : นางจี่ ทองชยั
41 แบบบันทึกชุดขอ้ มลู คลังปญั ญำ-ภมู ิปัญญำทอ้ งถิ่น ตำบล.....สวนผึง้ ......อำเภอ.....สวนผง้ึ .......จงั หวดั .......ราชบรุ ี...... ชอ่ื ภูมิปัญญำ......................หมอกระดูก..................................................…………………………………………………… ข้อมูลพื้นฐำน รำยบุคคล เจ้ำของภูมิปญั ญำทอ้ งถิ่น/บุคคลคลงั ปญั ญำ ช่อื ........นายฉอ่ ง......นามสกุล.................จับ๊ โกรย.................วนั เดอื นปเี กดิ ...........-/-/2485............อายุ 78 ปี ทอ่ี ยปู่ จั จุบัน (ทส่ี ามารถตดิ ต่อได้) บ้านเลขท่ี............161.......หมทู่ ี.่ ...1......ตาบล/แขวง......สวนผึ้ง................... อาเภอ/เขต.......สวนผง้ึ .........จังหวัด.........ราชบรุ .ี ..........รหสั ไปรษณีย.์ ..........70180.......................................... โทรศพั ท.์ .................-.......................โทรสาร.........................-............................Line ID……........-...…………...... E-mail address:………………......………-......………………….…Facebook……….....………..................………........….. ควำมเปน็ มำของบคุ คลคลังปัญญำ นายฉ่อง จั๊บโกรย ได้เรียนรู้มาจากปู่เกี่ยวกับการเป่ากระดูกให้หายจากการหัก ให้เชื่อมต่อกันเร็วข้ึน มาต้ังแต่อายุ 30 ปี วิธีการนั้นจะเป็นการเป่าคาถาท่ีเป็นความเชื่อของกะเหร่ียงท่ีได้สืบทอดจากบรรพบุรุษ ส่วนในพิธีกรรมน้ันผู้ท่ีมารักษาจะตอ้ งเตรียมขันธ์ 5 ได้แก่ ดอกไม้ 5 ดอก ธปู และเทียน อยา่ งละ 5 เล่ม บุหรี่ 5 มวน เงินจานวน 5 บาท เหล้าขาว จานวน 1 ขวด และน้ามันมะพร้าวสาหรับในการทาบริเวณท่ีหัก แต่ ปัจจบุ ันไมม่ ีคนสืบทอดแล้ว จุดเดน่ ของภมู ปิ ัญญำท้องถิ่น เป็นความเชอ่ื ที่ไดส้ ืบทอดมาจากบรรพบรุ ุษ เพื่อเปน็ การรักษากระดกู ให้หายจากการหกั ไมว่ า่ จะเปน็ แขน ขา สะโพก ใหห้ ายไว และเช่ือมต่อเร็วขน้ึ ทาให้เกดิ ความเช่อื ถอื กัน ได้มคี นมารักษาจานวนมาก ไม่วา่ จะ เป็นคนในหมบู่ ้านหรือตา่ งหมู่บา้ นจะมารักษา
52 ภำพถ่ำยบุคคล และอุปกรณ/์ เครอื่ งมอื /สิ่งท่ีประดษิ ฐ์ (ชิ้นงำนหรือผลงำน)
63 แบบบนั ทกึ ชุดขอ้ มลู คลงั ปัญญำ-ภมู ิปญั ญำทอ้ งถ่นิ ตำบล.....สวนผงึ้ ......อำเภอ.....สวนผ้ึง.......จงั หวดั .......ราชบรุ .ี ..... ชื่อภูมิปัญญำ......................ขนมจนี หมกั …(คะหน้อง)……………………………………………………………… ขอ้ มูลพ้ืนฐำน รำยบุคคล เจ้ำของภมู ิปัญญำทอ้ งถ่นิ /บุคคลคลงั ปัญญำ ชอ่ื ........นางกอ่ ง ..........นามสกลุ .................เณยา.................วนั เดอื นปีเกดิ .............-/-/ 2495......อายุ 68 ปี……… ทอ่ี ย่ปู ัจจบุ ัน (ทสี่ ามารถตดิ ตอ่ ได)้ บ้านเลขท่ี........215.......หมู่ท.ี่ ...1......ตาบล/แขวง......สวนผงึ้ ............................ อาเภอ/เขต.......สวนผง้ึ .........จังหวดั .........ราชบรุ .ี ..........รหสั ไปรษณยี .์ ..........70180.................................................. โทรศพั ท.์ ................-...................โทรสาร.........................-............................Line ID…...............-...............…...……… E-mail address:………………......………-......………………….…Facebook…......................-............................................ ควำมเป็นมำของบคุ คลคลังปัญญำ นางก่อง เณยา ได้สืบทอดการทาขนมจีนหมักมาจากบรรพบุรุษ ได้เล่าให้ฟังว่า การทาขนมจีนหมัก น้ัน เริ่มจากการนาข้าวสารไปแช่น้าค้างคืน เป็นจานวน 3 วัน 3 คืน จากนั้นนามาตาในครกไม้ให้ละเอียด แล้ว นามากรองในผ้าขาวบาง เพ่ือให้น้าออก แล้วนาแป้งที่นามานวดให้เป็นเน้ือเดียวกัน จากนั้น ต้มน้าให้เดือด แล้วนาแป้งมาใส่ในกระป๋องท่ีเจาะรู ที่ได้ประดิษฐ์เอง แล้วบีบในน้าเดือดให้แป้งออกมาเป็นเส้นๆ เมื่อเส้นสุก แล้ว เส้นขนมจีนจะลอยข้ึน ใช้ไม้ช้อนข้ึนมาพักในน้าเย็น จึงนามาใส่ในกระด้งท่ีวางรองในใบไม้ด้วยใบมะยม (ใบมะยมช่วยให้ขนมจีนไม่ติดกระด้ง และไม่แฉะ) ส่วนการทาน้ายาขนมจีนนั้น จะเป็นการทาน้ายาที่มาจาก ปลาท่หี าได้ นามายา่ งให้แห้ง สว่ นเครอื่ งแกงทที่ านัน้ จะเหมอื นเคร่อื งแกงท่ีทาปจั จุบนั จุดเด่นของภูมิปัญญำท้องถ่ิน เปน็ ภูมิปัญญาท่ีไดน้ าความรู้จากบรรพบุรุษ ทน่ี าขา้ วสารท่ีมีอย่นู าไปหมกั ท้ิงไว้ แลว้ มานาทาขนมจนี หมกั และอกี อยา่ งหนงึ่ คอื เกิดการเรียนร้จู ากธรรมชาติ โดยการนาใบไม้มารองเพือ่ ช่วยในการรกั ษาความสด ของเส้นขนมจีน
74 ภำพถ่ำยบุคคล และอุปกรณ/์ เครอื่ งมอื /สิ่งท่ีประดษิ ฐ์ (ชิ้นงำนหรือผลงำน)
85 แบบบนั ทึกชุดขอ้ มูลคลังปญั ญำ-ภมู ปิ ญั ญำท้องถิ่น ตำบล.....สวนผง้ึ ......อำเภอ.....สวนผ้ึง.......จงั หวัด.......ราชบรุ .ี ..... ช่ือภูมปิ ัญญำ......................ประเพณที อยสะบา้ ...(เบเกซา้ )..………………………………………………………………… ขอ้ มูลพื้นฐำน รำยบุคคล เจ้ำของภมู ิปญั ญำทอ้ งถ่นิ /บุคคลคลงั ปญั ญำ ช่อื ................นางจี่..............นามสกลุ ...............ทองชัย..............วนั เดอื นปีเกดิ ......-/-/2481....อาย.ุ ....82..ป.ี .. ท่ีอยปู่ ัจจบุ นั (ท่ีสามารถติดต่อได้) บ้านเลขที.่ .......226.......หม่ทู ่.ี ...1......ตาบล/แขวง......สวนผึ้ง.................. อาเภอ/เขต.......สวนผง้ึ .........จังหวดั .........ราชบุร.ี ..........รหสั ไปรษณยี ์...........70180...................................... โทรศัพท.์ ...............-.............โทรสาร.........................-............................Line ID……........-...…………..……… E-mail address:………………………-......………………….…Facebook……….....………...........……….....………….. ควำมเป็นมำของบคุ คลคลังปญั ญำ นางจี่ ทองชัย เป็นผู้สูงอายุ ที่ได้เล่าความเป็นของประเพณีทอยสะบ้า หรือเรียกทางภาษากะเหรี่ยง ว่า “เบเกซ้า” เม่ือสมัยก่อนจะมีการทอยสะบ้าในช่วงเทศกาลสงกรานต์ เดือน 5 เพ่ือสร้างสนุกสนาน สร้าง ความสมั พนั ธ์ของแตล่ ะหมบู่ ้าน “เปน็ การเอาแรงกนั ” เช่น หมู่บ้านวนั นีม้ ีการทอยสะบ้า วันถัดไปหมบู่ ้านทเ่ี คย ทอยสะบ้าก็จะไปทอยสะบ้าในหมู่บ้านนั้น ประเพณีทอยสะบ้ายังเป็นการช่วงเวลาท่ีหนุ่ม สาว ของแต่ละ หมู่บ้านมาเจอกัน เพื่อสร้างความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกันอีกด้วย แต่ปัจจุบันน้ี ได้เลือนรางหายไป เน่ืองจากคนรุ่น หลงั ไมร่ ้จู กั ไมเ่ คยเลน่ แต่กย็ ังมีให้เหน็ บางหม่บู ้าน แต่เปน็ กีฬาแขง่ ขนั แพ้ ชนะ ของแตล่ ะหมู่บ้านมากกว่า จดุ เดน่ ของภมู ปิ ัญญำท้องถ่ิน นางจ่ี ทองชยั ยงั เปน็ บุคคลหนงึ่ ทีย่ งั อยากใหป้ ระเพณีทอยสะบ้ายงั อยู่ และไม่อยากใหส้ ูญหาย ยงั อยากให้คนร่นุ หลงั อนุรักษ์ เพราะเป็นประเพณีที่ดี เหมาะสมกับวยั หน่มุ สาว ท่จี ะสรา้ งความสมั พนั ธ์ทีด่ ตี ่อกนั
69 ภำพถ่ำยบุคคล และอุปกรณ/์ เครอื่ งมอื /สิ่งท่ีประดษิ ฐ์ (ชิ้นงำนหรือผลงำน)
10 บรรณำนกุ รม นายฉ่อง จ๊บั โกรย.สมั ภาษณ์, 27 กุมภาพนั ธ์ 2563 นางกอ่ ง เณยา.สัมภาษณ์, 27 กุมภาพันธ์ 2563 นางจ่ี ทองชยั .สัมภาษณ์, 28 กมุ ภาพันธ์ 2563
11 คณะผจู้ ัดทำ ทป่ี รกึ ษำ ผูอ้ านวยการ สานกั งาน กศน.จงั หวัดราชบุรี นางสาวดารตั น์ กาญจนาภา ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอสวนผ้งึ นางสาวชนากานต์ สายหมี งานภาคีเครือขา่ ย สานักงาน กศน.จังหวัดราชบรุ ี นางมยรุ า เจริญพร ครู กศน.ตาบลสวนผงึ้ คณะผู้สำรวจขอ้ มูล นางกรรณิกา แจ้งปกรณ์กิจ ครู กศน.ตาบลทา่ เคย ออกแบบปก/เลม่ นายกฤษทร สงิ ห์พิทักษ์
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: