Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 4.Week-1 Management Information

4.Week-1 Management Information

Published by ncitschoolsmart, 2021-10-02 09:53:26

Description: 4.Week-1 Management Information

Search

Read the Text Version

◼ จัดเก็บรวบรวมแฟม ขอมูลท่ี สัมพันธกนั มาจัดเรียงรวมกัน เสยี ใหมอ ยา งเปน ระเบียบ ◼ สะดวกตอการคน หาและเรียกใช ขอ มลู รวมกนั 51

◼ ลดความซาํ้ ซอนกนั ของขอ มลู (Reduced data redundancy) ◼ ลดความขดั แยงของขอมลู (Reduced data inconsistency) ◼ การรกั ษาความคงสภาพของขอมลู (Improved data integrity) 52

◼ ใชข อมูลรว มกันได (Shared data) ◼ งายตอ การเขา ถงึ ขอ มลู (Easier access) ◼ ลดระยะเวลาการพฒั นาระบบงาน (Reduced development time) 53

54

◼ หนวยงานทีจ่ ัดเกบ็ ขอมูลแยกกนั หลายที่ อาจมีขอ มลู บางสว นที่ ซา้ํ ซอ นกัน (data redundancy) ◼ เชน ฝายการเงินกับฝายการขาย ตางเก็บขอมูลลูกคา ไวท ่ีฝา ยของ ตนเอง เมอื่ มกี ารเปล่ยี นแปลงท่อี ยขู องลูกคาตอ งตามไปแกไขแฟม ท่เี กบ็ ขอมูลของทัง้ สองฝาย ◼ ฐานขอมลู ชวยลดความซา้ํ ซอนกันของขอ มูลไดเพราะจะถกู จัด เกบ็ ไวในที่เดียวกนั จงึ งายตอ การแกไขดว ย 55

◼ ขอ มลู ทเ่ี ปน ชุดเดยี วกนั แตมคี าตางกนั ถือวา เปน ความขัดแยง กันของขอ มูล ◼ เชน ปญ หาเรือ่ งทอ่ี ยลู กู คา หากแกไ ขแคฝ า ยขาย แตฝ า ยการเงินไมไดทําตาม ขอมลู ที่อยูลกู คาจึง ขดั แยง กนั ◼ การใชฐานขอมลู นนั้ เมอ่ื มกี ารแกไขในทีห่ นง่ึ ขอมูลอกี ที่หนง่ึ จะถูกเปล่ียนไปดว ย 56

◼ ความคงสภาพของขอมลู (data integrity) คือ ความถูกตอง ความสอดคลอง ความสมเหตสุ มผล ของขอมูลท่อี ยูในฐานขอมูล ◼ เราสามารถกําหนดชนดิ หรือความยาวของขอ มูล ในฐานขอ มลู ได ถา ผดิ แปลกออกไปจะไมส ามารถ ปอนเขามาได ขอ มูลจงึ มีความถกู ตองตาม โครงสรางอยเู สมอ 57

◼ แตล ะฝายในองคกรสามารถท่ีจะเรยี กใชขอมลู ระหวา งกนั ได เชน ฝายการเงนิ ตองการขอมูลเกี่ยว กับแฟมขอ มลู ลกู คา สามารถดึงมาจากระบบฐาน ขอมูลท่ีเดยี วกันได ◼ ฝา ยบริหารตองการขอ มลู เกย่ี วกบั แฟม ขอมูล พนักงานเพือ่ ดูประวตั กิ ารทํางานกส็ ามารถเรียกใช รว มกนั ได เปนตน 58

◼ ฐานขอ มูลชวยใหการเขา ถึงขอ มูลงายขึ้น เพราะมี กลไกในการเขาถงึ ขอ มูลทเ่ี ปนแบบเดยี วกัน ◼ เชน คําสัง่ เรียกคน ขอมลู ภาษา SQL (Structure Query Language) ในระบบการจัดการฐานขอมูล เชิงสัมพนั ธหรือ RDBMS 59

◼ นักพฒั นาระบบทํางานไดเรว็ ขน้ึ เพราะฐานขอ มลู ชว ยลดปญ หาดาน ความซ้ําซอน ความขัดแยงและ ความคงสภาพของขอ มูลได ◼ ชว งเวลาการบํารุงรักษาโปรแกรม (program maintenance) ลดลง 60

61

◼ ผใู ชไ มจาํ เปนตอ งทราบถึงโครงสรา งทางกายภาพของ ขอ มูลในระดบั ที่ลกึ มาก ◼ สามารถกาํ หนดโครงสรางและดูแลรกั ษาฐานขอมูลได ◼ ควบคมุ การเขา ถงึ ของขอ มลู ตามระดับการใชง านที่ ตองการอาศัยสว นของภาษาที่จัดการกับขอมลู โดย เฉพาะเรยี กวา ภาษาคิวรี่ (query language) 62

63

◼ ภาษาท่ีใชสาํ หรบั สอบถามหรอื จัดการกับขอมลู โดย เฉพาะ ภาษาท่ีไดรบั ความนยิ มสงู สุดคือ ภาษา SQL (Structure Query Language) ◼ องคก ร ANSI ไดป ระกาศให SQL เปนภาษา มาตรฐานสําหรบั ระบบการจัดการฐานขอ มูลเชงิ สัมพันธ (RDBMS) 64

65

66

◼ 1.สรางฐานขอ มูล (create database) ▪วเิ คราะหแ ละออกแบบขอมูลกอนสรา งฐานขอมูลจรงิ ▪ระบบ DBMS ท่วั ไป มีเคร่อื งมอื ชวยสรา งอยใู นโปรแกรม ▪อาศัยภาษา SQL ในการส่งั งาน เชน สรางฟล ดห รอื ตาราง เปนตน 67

◼ 2.เพมิ่ เปล่ยี นแปลงและลบขอมลู (Add, change, and delete data) ▪ สามารถเพม่ิ คารายการในฐานขอ มูลไดทุกเมือ่ เชน เพ่มิ คาเรคอรด บางเรคอรดท่ตี กหลนในการบันทึกขอมลู ▪ ขอมูลท่ีมกี ารเปลี่ยนแปลง เชน ทีอ่ ยลู ูกคาเปลย่ี นหรือ เบอรโ ทรศพั ทถ กู ยกเลกิ กส็ ามารถแกไขได ▪ขอมูลทไี่ มมคี วามจําเปน ตองใช เชน เรคอรดของนกั ศกึ ษา บางคนทล่ี าออกไป อาจลบออกไปไดเชน กนั 68

◼ จดั เรียงและคนหาขอมูล (sort and retrieve data) ▪DBMS มีคณุ สมบตั ทิ ี่ชว ยใหการเรยี กคน ดูขอ มลู งา ย และสะดวก ▪สามารถจัดเรียงขอมูลและเลอื กไดวา จะให DBMS จัด เรยี งแบบใด มากไปนอย หรอื เรยี งตามลําดบั เวลา ▪การคนหาขอมลู ที่มอี ยูมาก สามารถระบุคาเพียงบาง สว นใหค นหาได 69

◼ 3.สรา งรูปแบบและรายงาน (creat form and report) - สามารถสรางรูปแบบการแสดงผลบนหนาจอ (form) - พิมพผลลพั ธร ายการออกมาเปน รายงาน (report) - ชวยในเรื่องของการตัดสนิ ใจและการวิเคราะหข อมูล 70


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook