สาธารณรัฐแห่ง สหภาพเมียนมาร์ REPUBLIC OF THE UNION OF MYANMAR
ข้อมูลทั่วไป สารบัญ การเมือง การปกครอง ลักษณะทางภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ ที่ตั้ง ประวัติศาสตร์และความเป็นมา สังคมและวัฒนธรรม
ข้อมูลทั่วไป INFORMATION
ข้อมูลทั่วไป ชื่อเป็นทางการ : สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ (Republic of the union of myanmar) ชื่อเมืองหลวง : เนปยีดอ (Naypyidaw) เมืองสำคัญ ได้แก่ ย่างกุ้ง (เคยเป็นเมืองหลวงชื่อ เดิมว่า ดาโกง เป็นศูนย์กลางการกระจายสินค้าของประเทศ มีผู้คนอยู่หนาแน่น (5.4 ล้าน คน) ค้าขายอัญมณีและส่งออกไม้) มัณฑะเลย์ เมียวดี เมาะละแหม่ง และหงสาวดี วันชาติ : 4 มกราคม วันเข้าร่วมอาเซียน : 23 กรกฎาคม 2540 ศาสนาประจำชาติ : ศาสนาพุทธ (เมียนมาร์บัญญัติให้ศาสนาพุทธเป็นภาษาประจำชาติ ในปีพ.ศ 2517)
ข้อมูลทั่วไป ประชากร : ประมาณ 50.51 ล้านคน ภาษาประจำชาติ : ภาษาพม่า พม่ามีประชากรหลายเชื้อชาติ จึงเกิดเป็น สกุลเงิน : จ๊าด (Kyat) เท่ากับ ปัญหาชนกลุ่มน้อย มีชาติพันธุ์พม่า 63% 0.045 บาทโดยประมาณ ไทยใหญ่ 16% มอญ 5% ยะไข่ 5% อาหารประจำชาติ : หล่าเพ็ด กะเหรี่ยง 3.5% คะฉิ่น 3% ไทย 3% ชิน ดอกไม้ประจำชาติ : ดอกประดู่ 1%
ลักษณะทาง ภูมิศาสตร์และที่ตั้ง
ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ พื้นที่ราบลุ่มแม่น้ำอิรวดีอยู่ทางตอนกลาง ตั้งอยู่ในเขตเมืองร้อน แบ่งเป็น 3 ฤดู แนวทิวเขาสูงอยู่ทางตอนเหนือและทางตะวันตก ฤดูร้อน ช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน พื้นที่ราบสูงฉานมีแม่น้ำสาละวิน ฤดูฝน ช่วงเดือนพฤษภาคม -ตุลาคม ทางตอนใต้มีแม่น้ำสะโตงไหลผ่านลงสู่ทะเล * ลมตะวันออกเฉียงใต้พัดเข้าประจำ อันดามัน ทำให้ฝนตกหนักที่อยู่รัฐยะไข่ เป็นต้น ได้รับน้ำฝน 120-200 นิ้ว/ปี ตอนกลางฝนจะตกน้อย ฤดูหนาว ช่วงเดือนพฤศจิกายน - กุมภาพันธ์ 21-29 องศา
ที่ตั้ง ที่ตั้ง : ประเทศเมียนมาร์ตั้งอยู่ทางด้านตะวันตก ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทางตอนล่าง ติดกับทะเลอันดามัน และอ่าวเบงกอล พื้นที่ : 676,578 ตารางกิโลเมตร (โดยมีพื้นที่ประมาณ 1.3 เท่าของไทย)
ประวัติศาสตร์ และความเป็นมา
ประวัติศาสตร์ ความเป็นมา เมียนมาร์มีหลายเผ่าพันธุ์เคยอาศัยอยู่ (เผ่าพันธุ์ที่เก่าแก่ที่สุดคือ มอญ) ต่อมาอพยพไปพรมแดนจีน/ทิเบต จึงกลาย เป็นพื้นที่การปกครองขนาดที่ใหญ่ที่สุดใน เวลาต่อมา
การเมืองและ การปกครอง
การเมืองและการปกครอง การปกครอง : สาธารณรัฐ มีรัฐสภาที่มีสมาชิกมาจาก การเลือกตั้ง มีประธานาธิบดีเป็นประมุขของประเทศและ เป็นหัวหน้าคณะรัฐบาล รูปแบบการปกครอง : เผด็จการทางทหาร ปกครองโดยรัฐบาลทหาร ภายใต้สภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ แบ่งการปกครองเป็น 7 รัฐ (state) สำหรับเขตที่ประชากรส่วนใหญ่เป็นชนกลุ่มน้อย และ 7 ภาค (division) สำหรับเขตที่ประชากรส่วนใหญ่เป็นเชื้อสายพม่า
เศรษฐกิจและวัฒนธรรม เป็นประเทศกำลังพัฒนาขั้นต่ำหรือมีรายได้ ด้านการทำเหมืองแร่ ในภาคกลางตอนบน เฉลี่ยต่อคนอยู่ในเกณฑ์ต่ำมาก เกษตรกรรม มีน้ำมันปิโตรเลียม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ถือว่าเป็นอาชีพหลักของชาวเมียนมาร์ เขต ขุดแร่ หิน สังกะสี และภาคตะวันออกเฉียงใต้ เกษตรกรรม คือบริเวณดินดอนสามเหลี่ยม ทำเหมืองดีบุก ปากแม่น้ำอิรวดีและแม่น้ำสะโตง มีการปลูก ข้าวเจ้า อ้อย และพืชเมือง ได้รับอิทธิพลทั้งจากจีน อินเดีย ปัจจุบันนี้วัฒนธรรมเมียนมาร์ได้รับอิทธิพล และไทย ดังสะท้อนให้เห็นในด้าน จากตะวันตกมากขึ้น เห็นได้จากเขตชนบท ภาษา ดนตรี และอาหาร ของประเทศ การแต่งกายทั้งหญิงและชาย นิยมนุ่งโสร่ง เรียกว่า ลองยี ส่วนการแต่ง กายแบบโบราณเรียกว่า ลุนตยาอชิก
ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรแร่ธาตุ อัญมณี พลอย เมียนมาร์เป็นแหล่ง แร่รัตนชาติที่มีชื่อเสียงระดับโลก ครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ50 แร่ มีเป็นจำานวนมาก เช่น เหล็ก น้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ของพ้ืนที่ประเทศ แมงกานีส โครเมียม นิกเกิล จากการสำรวจพบว่ามีแร่เชื้อ โคบอลต์ และโมลิบดินัม พลวง เพลิงขนาดปานกลางหลายแห่ง ทรัพยากรน้ำ ตะกั่ว สังกะสี ทองแดง ดีบุกและ ทังสเตน ทองค้า เป็นต้น แม่น้้าที่ส้าคัญ คือ แม่น้้าอิระวดี ซิสแตง และสาละวิน
สถานที่ท่องเที่ยว และมรดกโลก พุกาม เป็นเมืองโบราณและได้รับการรับรองจากองค์การยูเนสโกให้เป็น แหล่งมรดกโลก ตั้งอยู่ในเขตมัณฑะเลย์ ประเทศเมียนมาร์ ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 9 ถึง 13 เมืองแห่งนี้เคยเป็นเมืองหลวงของ อาณาจักรพุกาม อาณาจักรแห่งแรกของชาวเมียนมาร์ ในช่วงรุ่งเรือง สูงสุดของอาณาจักรระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 11 ถึง 13 มีวัด เจดีย์ และอาราม กว่า 10,000 แห่ง ถูกสร้างขึ้นบนที่ราบพุกามเพียงแห่งเดียว
ปี ค.ศ. 1852 เมียนมาร์เสียดินแดนบางส่วนให้แก่อังกฤษ แต่เมียนมาร์ ยังคงมีอำนาจอธิปไตยเหนือดินแดนในเมียนมาร์ตอนบนอยู่ จนกระทั่งถึงสมัย พระเจ้าสีปอ เมียนมาร์ทำสงครามครั้งที่ 3 กับอังกฤษในปี ค.ศ. 1885 เมียนมาร์ ตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษนับตั้งแต่ นั้นเป็นต้นมา จนถึงปี ค.ศ. 1948 เมีย นมาร์จึงสามารถต่อสู้จนได้รับเอกราช
สมาชิก กันยานุช โชติเสมอ เลขที่ 7 ( นำเสนอ ) ธนิยา ศิริกุล เลขที่ 8 ( หาข้อมูล ) ธัญชนก นาคอินทร์ เลขที่ 9 ( นำเสนอ ) วรินทร ไชยทา เลขที่ 10 ( ทำ PRESENTARION , EBOOK ) รัตนาภรณ์ อยู่เจริญ เลขที่ 11 ( นำเสนอ ) วิลาสินี ปันสุพฤกษ์ เลขที่ 12 ( นำเสนอ ) THANK YOU FOR LISTENING
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: