Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore kkkkk

kkkkk

Published by namzii_2023, 2017-09-05 11:13:02

Description: ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง3

Search

Read the Text Version

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งประมวลและกลน่ั กรองจากพระบรมราโชวาทและพระราชดารสั เกยี่วกบั เศรษฐกจิพอเพียง ซ่ึงพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัวพระราชทานในวโรกาสต่างๆ รวมท้ังพระราชดารัสอ่ืนๆ โดยสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้รับพระราชทานพระบรมราชานญุ าตให้นาไปเผยแพร่ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของทุกฝ่ ายและประชาชนโดยทั่วไป เมื่อวนั ที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๒เศรษฐกิจพอเพยี งเป็นปรัชญาช้ีถึงแนวทางการดารงอยแู่ ละปฏิบตั ิตนของประชาชนในทุกระดบั ต้งั แต่ระดบั ครอบครัว ระดบั ชุมชน จนถึงระดบั รัฐท้งั ในการพฒั นาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลางโดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจเพื่อกา้ วทนั ต่อโลกยคุ โลกาภิวตั น์ความพอเพยี ง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นท่ีจะตอ้ งมีระบบภมู ิคุม้ กนั ในตวั ท่ีดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อนั เกิดจากการเปล่ียนแปลงท้งั ภายนอกและภายในท้งั น้ีจะตอ้ งอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมดั ระวงัอยา่ งยง่ิ ในการนาวชิ าการตา่ งๆ มาใชใ้ นการวางแผนและการดาเนินการทุกข้นั ตอน และขณะเดียวกนั จะตอ้ งเสริมสร้างพ้นื ฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา้ หนา้ ที่ของรัฐ นกั ทฤษฎี และนกั ธุรกิจในทุกระดบัใหม้ ีสานึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตยส์ ุจริต และใหม้ ีความรอบรู้ท่ีเหมาะสม ดาเนินชีวติ ดว้ ยความอดทน ความเพยี ร มีสติ ปัญญาและความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง

เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง

ใหร้ อดพน้ จากวิกฤต และสามารถดารงอยไู่ ดอ้ ยา่ งมนั่ ดงและยงั่ ยืน ภายใต้ กระแสโลกาภิวตั ป้ และการเปล่ึยนแปลงตา่ งๆ สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ (สศช.)ในฐานะหน่วยงานหลกั ในการวางแผนชองประเทศตระหนกั ถึงดวามสาคญั ชองแนวคิดดงั กล่าว จึงไดเ้ ชิญผูท้ รงคุณวุฒิจากสาชาต่างๆ มาร่วมกนั พิจารณากลนกรองพระบรมราโชวาทและพระราชดารัสท่ีเกี่ยวชอ้ งกบั เศรษฐกิจพอเพียง สรุปออกมาเป็ นนิยามดวามหมาย “ปรัชญา6แอง เศรษฐกจิ พอเพยี ง” และนาศวามกราบบงั ดมทูลฯ ฃอพระราชทาน พระบรมราชวินิจฉัย ที่งพระองคไ์ ดท้ รงพระกรุณาปรับปรุงแก้ไขพระราชทาน และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้ สศช. นาไปเผยแพร่ เพ่ือเป็ นแนวทางปฏิบตั ิชองทุกผเ่ ายและประชาชนทนป้ ตอ่ มา สศช.ไดอ้ ญั เชิญ “ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง”มาเป็ น ปรัชญานาทางในการจดั ทาแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 10รวมท้งั ไดเ้ สริมสร้างดวามเชา้ ใจไปยงั ภาดส่วนต่างๆ เพ่ือให้เกิดดวามเชา้ ใจ เห็นคุณด่า และนอ้ มนาไปประ ยกุ ตใ์ ชใ้ นวถิ ึชิวิ ต ตอ่ ไป เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง

พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวทรง ยึดหลกั การทรงงานในลกั ษณะเน้นการพฒั นา “ดน,, ดว้ ยปรัชญาชองเศรษฐกิจพอเพียง โดยไม่ทรงเลือกวา่ เฃาเหล่าน้นัเป็ นใคร จึงมิไดม้ ีแต่เพียงปวงชนชาวไทยเท่าน้นั ที่ชาบชิ้งในพระมหากรุณาธิคุณอนั หา ที่เปรียบมิได้ แต่ยงั เป็ นที่ประจักษ์แก่นานาประเทศทวโลก ต่างยกย่องสรรเสริญพระเกียรติคุณและได้น้อมเกลา้ นอ้ มกระหม่อม ถวายรางวลั เกียรติคุณมากมาย เมือ่ วนั ที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๔๙ นายโคฟี อนั นนั เลขาธกิ ารองคก์ ารสหประชาชาติ ไดข้ อพระราชทานวโรกาสเขา้ เฝ้ าและทูลเกลา้ ทูลกระหม่อมถวายเหรียญ “Lifetime Achievement Award on Human Development”ซ่ึงเป็ นรางวลั ความสาเร็จสูงสุดด้านการพฒั นามนุษย์ และกราบบงั คมทูลวา่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไมไ่ ดเ้ ป็ นประโยชนเ์ ฉพาะกบั ประเทศไทย แตเ่ ป็ นประโยชนก์ บั ทุกประเทศท่ีตอ้ งการสร้างความเขม้ แขง็ อยา่ งยงั่ ยนื เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง

ปรัชญาชองเศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็ น แนวทางปฏิบตั ิเพ่ือให้ชีวิตดาเนินไปในทางสายกลางท่ีเหมาะสม สอดคลอ้ งกบั วิถีดวามเป็ นอยอู่ นั เรียบง่ายชองคนไทย ซ่ึงสามารถ นามาประยกุ ตใ์ ชใ้ ห้เหมาะสมกบั ประชาชนทุกระดบั สศช. จึงได้นอ้ มนา หลกั ปรัชญาฯ และอญั เชิญพระบรมราโชวาทและพระราชดารัสใน วาระโอกาสต่างๆ มาจดั พิมพใ์ นสมุดบนั ทึก “เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพียง” เผยแพร่ เพื่อช่วยเสริมสร้างความรั ความเช้าใจ และเรียนรู้ปรัชญา ชองเศรษฐกิจพอเพียงตลอดจนเพื่อให้ทุกภาคส่วนไดเ้ ห็นคุณด่าและ ยึดถือเป็ นแนวปฏิบตั ิ ให้สามารถพ่ึงตนเองไดอ้ ยา่ งเชม้ แข็งพฒั นาไปสู่ “สังคมอยู่เยน็ เป็ นสุ6บร่วมกัน” อย่างมนั่ ดงและยง่ั ยนื ตอ่ ไป สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและลงั ดมแห่งชาติ เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง

พระบาทลมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทอดพระเนตรเห็นดวามเลี่ยงชองเศรษฐกิจลงั ดมไทยที่พ่ึงพิงปี จจยั ภายนอกสูง ภายใตก้ ระแสโลกาภิวตั 'นและ การเปลี่ยนแปลงต่างๆ อยา่ งรวดเร็ว จึงทรงเตือนใหัพสกนิกรตระหนกั ถึง ดวามสาคญัชองปรัชญาฃองเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงนาสู่การพฒั นาที่ยง่ั ยืน และทรงเนน้ ย้าว่าการพฒั นาตอ้ งเริ่มจากการ “พึ่งตนเอง” สร้างพ้ืนฐาน ให้พอมี พอกิน พอใช้ ดว้ ยวธิ ีการประหยดั และถูกตอ้ งตามหลกั วชิ าการ ใหไ้ ดก้ ่อน โดยตอ้ งรู้จกั ประมาณตนและดาเนินการดว้ ยดวามรอบรู้ รอบดอบ ระมดั ระวงั และ “ทาตามลาดับ'ข้ันตอน”สู่การ “ร่วมมือช่วยเหลือซึ่งกัน และกนั ” เมื่อพฒั นาตนเองและชุมชนให้เชม้ แฃ็งแล้ว จะได้ “พัฒนาเครือช่าย เช่ือมสู่สังดมภายนอกอย่างเฃ้มแฃ็ง ม่ันดง และยง่ั ยนื ” ต่อไป เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทาน ปรัชญา6บองเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็ นแนวทางการดาเนิน ชีวติ และวิถีปฏิบตั ินาสู่ดวามสมดุล อนั ส่งผลใหม้ ีดวามสุ6แอยา่ งยง่ั ยนื โดยมีองคป์ ระกอบสาคญั ดงั น้ี • ดวามพอประมาณ หมายถึง ดวามพอดีต่อดวามจาเป็ นและเหมาะลม กับฐานะชองตนเอง ลงั ดม สิงแวดลอ้ ม รวมท้งั วฒั นธรรมในแต่ละท้องถิ่น ไม่มากเกินไป ไม่นอ้ ยเกินไป และตอ้ งไม่เบียดเบียนตนเองและผอู้ ่ืน • ดวามมีเหตุผล หมายถึง การตดั สินใจดาเนินการอย่างมีเหตุผล ตามหลักวชิ าการ หลกั กฎหมาย หลกั คุณธรรมและวฒั นธรรมท่ีดีงาม โดย คานึงถึงปิ จจย้ ท่ีเกี่ยวจอ้ งอย่างลว้ นถ่ี “รู้จุดอ่อน จุดแฃ็ง โอกาส อุปสรรด,, และดาดการณ์ผลท่ีจะเกิดฃ้ึนอยา่ งรอบดอบ “รู้เชา รู้เรา รู้จกั เลือกนา สิงท่ีดีและเหมาะสมมาประยกุ ตใ์ ช,้, • การมภี ูมคิ ุ้มกนั ในตวั ทีดี หมายถึง การเตรียมตวั ให้พร้อมรับ ผลกระทบและการเปล่ียนแปลงตา้ นเศรษฐกิจ ลงั ดม สิงแวดลอ้ ม และ วฒั นธรรมจากท้งั ในและต่างประเทศ เพอื่ ใหส้ ามารถบริหารดวามเล่ียง ปรับตวั และรับมือไตอ้ ยา่ งทน้ ท่วงที เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง

การปฏิบตั ิเพ่ือใหเ้ กิด ดวามพอเพียงน้นั จะตอ้ ง เสริมสร้างใหค้ นในชาติมีพ้นื ฐาน จิตใจในการปฏิบตั ิตน ดงั น้ี„ มีดุณธรรม ท้ังน้ี บุดดล ดรอบครัว องค์กร และชุมชน ทีจะนาปรัชญาชองเศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้ ตอ้ งนาระบบคุณธรรม และความช่ือสตั ยส์ ุจริตมาประพฤติปฏิบตั ิก่อน โดยเร่ิมจาก การอบรมเน้ียงดูในครอบครัว การศึกษาอบรมในโรงเรียนการสง่ั ลอน ศีลธรรมจากศาสนา ตลอดจนการฝึ กจิต ฃม่ ใจชองตนเอง • ใซ้หลกั วิซา -ดวามรู้ โดยนาหลกั วชิ าและดวามรู้เทคโนโลยี ที่เหมาะสมมาใช้ ท้งั ในช้นั การวางแผนและปฏิบตั ิ ดว้ ยดวาม รอบรู้ รอบดอบ และระมดั ระวงัอยา่ งยงิ่ • ดาเนินชีวติ ด้วยดวามเพยี ร ศวามอดทน มีสติ ปี ญญา และดวามรอบดอบ เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง

ทุกคนสามารถนอ้ มนาหลกั ปรัชญาฯ มาเป็ นหลกั ปฏิบตั ิในการ ดาเนินชีวิตได้ โดยตอ้ ง “ระเบิดจากช้างใน” ดือการเกิดจิตสานึก มีดวามศรัทธา เช่ือมน่ัเห็นคุณด่า และนาไปปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง แลว้ จึง ชยายไปสู่ดรอบครัว ชุมชน องคก์ รลงั ดม และประเทศชาติต่อไปดวามพอเพยี งระดบั 'มุดดลและดรอบดรัว แนวทางปฏบิ ตั ิ โดยเร่ิมจากตวั เองก่อน ดว้ ยการฝื กจึต ฃ่มใจตนเอง และอบรมเล้ียงดูดนในดรอบดรัวให้มีคุณธรรม กินอยตู่ าม อตั ภาพ พ่ึงพาตนเองอย่างเต็มดวามสามารถ ไม่ทาอะไรเกินตวั ไม่ลงทุน เกินชนาด ดาเนินชีวิตโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผูอ้ ่ืน ใฝ่ รู้ ใฝ่ ศึกษา และมีการพฒั นาตนเองอย่างต่อเนื่องเพ่ือดวามมน่ั ดงในอนาดต และเป็ น ท่ีพ่ึงใหผ้ ูอ้ ื่นไดใ้ นท่ีสุด เช่น การหาปิ จจยั ล้ีมาเล้ียงตนเองและดรอบดรัว เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง

ภายในดรอบครัว ชุมชน และสงั คมรอบขา้ ง รวมถึงการรักษาวฒั นธรรม ประเพณีและการอยรู่ ่วมกบั ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดลอ้ ม ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม รวมท้งับริหารความเที่ยงด้วยการสร้างภูมิคุ้มกัน ด้านวตั ถุ สังคม สิงแวดล้อม และวฒั นธรรม ตัวอย่างดวามพอเพยี ง เช่น ถา้ มีกระเป๋ าถืออยู่ sr ใบ แต่อยากช้ือ ใบท่ี ตอ้ งคานึงถึงหลกั สาคญั ในองคป์ ระกอบชองปรัชญาฯ ดือพอประมาณ มีเหตผุ ล และภมู ิคุม้ กนั หากช้ือแลว้ ตอ้ งพิจารณาวา่ มีเงินพอใช้ ถึงสินเดือนหรือไม่ หากไม่พอแสดงวา่ ภูมิคุม้ กนั บกพร่อง จึงไม่ควรช้ือกระเป๋ า แต่หากมีเงินเดือนมากพอไม่เดือดร้อน และจาเป็ นตอ้ งใช้ ก็สามารถช้ือได้ แต่ราคาตอ้ งเหมาะสมดว้ ย หรือหากครอบครัวมีปี ญหาเรื่องเป็ นหน้ี ตอ้ ง ไปดูเหตุปี จจยั ,ชองการเป็ นหน้ี ท้งั ท่ีควบดุมไดแ้ ละควบดุมไม่ได้ โดยลง บญั ชีแบ่งประเภทรายรับรายจายหากรายจายใดสามารถควบดุมไดแ้ ละ เป็ นรายจายท่ีไม่จาเป็ น ก็ใหล้ ดหรือยกเลิกไป เช่น โทรศพั ทม์ ือถือรุ่นใหม่ หรือสิงชองที่เป็ นอบายมุฃท้งั ปวง เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง

ดวามพอเพยี งในสถานสืกษา แนวทางปฏิบัติ เร่ิมจาก ดร และผ้บริหารสถานศึกษา เล็งเห็น ดวามสาคญั และนอ้ มนาปรัชญาฯ มาปฏิบตั ิให้เป็ นตวั อยา่ ง เป็ นแม่พิมพ/์ พ่อพิมพท์ ่ึดีท้งัในดา้ นการดาเนินชีวิตโดยยึดหลกั คุณธรรม อาทิ ฃยนั อดทน ไม่ยุ่งเก่ึยวกบั การพนนั และอบายมุข ไม่ฟ้ งเฟ้ อ ฯลฯ และ พฒั นาระบบการเรียนการลอนตามหลกัปรัชญาฯ อาทิ ต้งั ใจลอน หมน่ั หา ดวามรู้เพ่ิมเติม เปิ ดโอกาลให้เด็กแลดงดวามคิดเห็น เพ่ือแลกเปล่ียน เรียนรู้ระหวา่ งครูกบั นกั เรียน กระตุน้ ใหเ้ ด็กรักการเรียน คิดเป็ น ทาเป็ น และปลูกฝื งคุณธรรมเพื่อเป็ นการสร้างคนดี ดนเก่ง ให้แก1ลังดมสาหรับนกั เรียนนักศึกษๆพ้องรู้จกั แบ่งเวลาเรียน เล่น และดาเนิน ชีวิตอยา่ งเหมาะลมและพอประมาณกบั ตนเอง ใฝ่ หาดวามรู้ ใชห้ ลกั วิชา และดวามรู้จริงในการตดั สินใจลงมือทาสิงต่างๆ คบเพ่ือนเป็ นกลั ยาณมิตร รู้ รัก ลามดั ดี ฃยนั หมนั่ เพียรช่ือสตั ย์ แบ่งปี น กตญั ญ รู้จกั ใชจ้ ่ายเงิน อยา่ งมิเหตผุ ลและรอบคอบ รวมท้งั ลร้างภมู ิตุม้ กนั ทางศีลธรรมใหแ้ ก่ ตนเอง อาทิ ไม่ลกั ข'โมย ไมพ่ ดู ปด ไม่ลบู บุหรี่ และไม่ดื่มลุรา เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง

ตวั อย่างดวามพอเพยี ง เซ่น ค7 ตอ้ งเป็ นตนั แบบท่ีดีให้เด็กเห็น และ นาไปเป็ นแบบอย่างในการ ดาเนิน ชีวิต ด้านการบริหารและ การเรียน การสอนของโรงเรียน ควรปรับใหเ้ ขา้กบั สภาพแวดลอ้ มของแตล่ ะแห่ง โรงเรียนในเมืองก็ปรับ ใหเ้ ขา้ กบั วิถีชีวิตของคนในเมือง โรงเรียนในชนบทก็ปรับให้เขา้ กบั วิถีชีวิต ในชนบท สอนให้นักเรียนนกั ศึกษา รู้ รัก สามคั คี เรียนรู้เร่ือง การอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิงแวดลอ้ มรู้จกั การทางาน การปลูกผกั สวนครัว การใชป้ ระโยชน์จากวตั ถุดิบท่ีมือยใู่ นทอ้ งถิ่นมาแปรรูป เป็ นสินค้า/งานหัตถกรรม มืการฝากเงินในธนาคารออมทรัพยข์ องโรงเรียน จดั กิจกรรมลด ละ เลิก อบายมขุ ช่วยเหลือผดู้ อ้ ยโอกาส สาหรับพกั เรียม นกั ศึกษา ตอ้ งมืวนิ ยั เป็ นเดก็ ดี มืดวามกตญั ญ ต้งั ใจเรียนและใชเ้ งินอยา่ งประหยดั รู้จกั อดออม โดยใชห้ ลกั รายไดล้ บ เงินออมเท่ากบั รายจ่ายขยนั หมน่ั เพยี ร เรียนรู้ พฒั นา โดยใชส้ ติ ปี ญญา อยา่ งรอบคอบ เป็ นตน้ เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง

ดวามพอเพยี งในชุมซน แนวทางปฏิบัติ คนในชุมชน มีการรวมกลุ่มกันทาประโยชน์เพ่ือส่วนรวม ช่วยเหลือเก้ือกลู กนั ภายใน ชุมชนบนหลกั ชองดวามรู้ รัก สามคั คี สร้างเป็ นเครือฃ่ายเช่ือมโยงกันในชุมชนและนอกชุมชน ท้ังด้าน เศรษฐกิจลังดมทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดลอ้ ม เช่น การรวมกลุ่ม อาชีพ กลุ่มออมทรัพยห์ รือองคก์ รการเงินชุมชน สวสั ดิการชุมชน การช่วยดูแลรักษาความสงบ ความสะอาดค ว า ม เ ป็ น ร ะ เ บี ย บ เ รี ย บ ร้ อ ย ร ว ม ท้ัง ก าร ใ ช้ภู มี ป็ ญ ญ า ท้อ ง ถิ่ น แ ล ะทรัพยากรธรรมชาติ และสิงแวดล้อมในชุมชนมาสร้างประโยชน์สุฃได้อย่างเหมาะสม ตวั อย่างดวามพอเพยี ง คนในชุมชนร่วมกนั ศึกษาชอ้ มลู ในชุมชน เพ่ือให้รู้จกั ตวั เอง ชุมชน ทรัพยากรในชุมชน โลกภายนอก และรู้สาเหตุ ปิ ญหา ท่ีมาชองผลกระทบต่างๆ แลว้ ร่วมกนั หาวธิ ีแหป้ ิ ญหาและวางแผน ป้ องกนั ป็ ญหาท่ีดาดวา่ จะเกิดฃ้ึนในอนาดต รวมถึงพฒั นาสิงคีๆ ท่ีมีอยู่ เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง

เซ่น ภูมิปี ญญาทอ้ งถ่ิน และทรัพยากรธรรมชาติ แลว้ นามาต่อยอด เพื่อสร้างดวามเปล่ียนแปลงในชุมชนในทางท่ีดีฃ้ึน ฃณะเดียวกนั ตอ้ งเสริมสร้างพ้ืนฐานจิตใพองดนในชุมชนใหม้ ิดวาม “รู้ รัก สามดั ดี,, มิดวามรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวติ ดว้ ยดวามอดทน รอบดอบ มิดวามเพยี ร มิสติปี ญญา และท่ีสาคญั ดือมิดวามสุฃบนความพอเพียง ไม่พีมเพีอย ไม่โลภ ไม่ติดการพนนั ไม่เบ็เนหนิ้ ไม่ลุ่มหลงอบายมุฃ ดงัตวั อย่างที่เกิดช้ืนในช่วงเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ชุมชนที่ไม่ปฏิบตั ิเซ่นน้ี ก็ไปไม่รอดตรงชา้ มกบั ชุมชนท่ีปฏิบตั ิตามปรัชญาชองเศรษฐกิจพอเพยี ง กส็ ามารถดงศวามเชม้แฃง็ และยนื อยไู่ ตด้ ว้ ยตนเอง เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง

ดวามพอเพยี งในภาคธุรกจิ เอกซน แนวทางปฏิบัติ เร่ิมจากดวามบุ่งม่ันในการดาเนินธุรกิจท่ีหวงั ผลประโยชน์หรือกาไรในระยะยาวมากกว่าระยะส้ัน แสวงหาผลตอบแทน บนพ้ืนฐานชองการแบ่งปี น บุ่งให้ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวชอ้ งไดร้ ับประโยชน์ อย่างเหมาะสมและเป็ นธรรม ท้งั ลูกคา้ ดู่ดา้ ผูถ้ ือหุ้น และพนักงาน ดา้ นการ ชยายธุรกิจตอ้ งทาอย่างค่อยเป็ นค่อยไป ไม่ค้ากาไรเกินควร ไม่ลงทุน เกินชนาด ไม่ห้จนเกินตัวรวมท้งั ตอ้ งมีดวามรู้และเชา้ ใจธุรกิจชองตนเอง รู้จกั ลูกคา้ ศึกษาคู่แช่ง และเรียนรู้การตลาดอยา่ งถ่องแหผ้ ลิตในสิงท่ีถนดั และทาตามกาลงั สร้างเอกลกั ษณ์ที่แตกตา่ งและพฒั นาคุณภาพ ผลิตภัณฑ์อย่างต่อเน่ือง มีการเตรียมดวามพร้อมต่อการเปล่ียนแปลงท่ีอาจ เกิด'ช้ืน มีดวามช่ือสัตย์ รับผิดชอบต่อลังดมและปี องกันผลกระทบ ต่อลิงแวดลอ้ ม ที่สาคญั ตอ้ งสร้างเสรีมดวามรู้และจดั สวสั ดิการให้แก1พนกั งานอยา่ งเหมาะสม ตวั อย่างดวามพอเพยี ง เช่น นกั ธุรกิจที่กาลงั รีเร่ิมโดรงการใหม่ นอกจากตอ้ งมีดวามรอบรู้ท่ีเหมาะสมที่จะศึกษาดูคน้ ทุนชองตวั เองพร้อมกบั เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง

ศึกษาตลาดและคูแ่ ขง่ ขนั แลว้ ตอ้ งสร้างฐาน6แองธุรกิจให้ มนั่ ดงดว้ ย ในช่วงแรกๆตอ้ งเร่ิม แบบค่อยเป็ นค่อยไป ไม่โลภมาก ตอ้ งอดทน มีดวามเพียร มีสติ ปิ ญญาเป็ นตน้ และเมื่อประสบ ดวามสาเร็จในระดบั หน่ึงแลว้ จึงคอ่ ยๆ ฃยายกิจการต่อไปแต่ตอ้ งมีดวามรอบดอบ ระมดั ระวงั ใน การลงทุน ไม่เล็งผลเลิศจนเกินไปโดยใช่เงินท่ีเกบ็ ออมไว้มาฃยายกิจการ หรือกเู้ งินมากไ็ ดแั ต่ตอ้ งประเมินแลว้ วา่ สามารถใช่คืนไต้ นอกจากดูแลผูถ้ ือหุ้น และคืนทุนใหล้ ูกคา้ แลว้ ตอ้ งพฒั นา บุคลากรในองค์กรให้เป็ นผูม้ ีดวามรู้ ให้ผลประโยชน์ตอบแทนและ สวสั ดิการแก1พนักงานอย่างเป็ นธรรม รวมถึงช่วยเหลือลงั ดมตาม โอกาสท่ีเหมาะลม เช่น การบริจาดช่วยเหลือผูป้ ระลบภยั พิบตั ิต่างๆ การบริจาดเงินให้แก่องค์กรลาธารณกุศล เพ่ือช่วยเหลือผูต้ อ้ ยโอกาล หรือการให้พนกั งานร่วมเป็ นอาลาลมดั รออกไปช่วยเหลือลงั ดม เพอ่ื เช่ือมโยงธุรกิจเช่ากบั ลงั ดมไตอ้ ยา่ ง แหจ้ ริง และยงั่ ยนื เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง

ดวามพอเพยี งในองด์กรภาครัฐ แนวทางปฏิบัติ ยึดมนั่ ในจรรยาบรรณชา้ ราชการที่ดี โดยระดับ องค์กรหรือผ้บู ริหาร บริหารงานอยา่ งมีธรรมาภิบาล โปร่งใส มีคุณธรรม ประหยดั คุม้ ด่ามีการบริหารดวามเท่ียง ไม่ทาโดรงการท่ีเกินตวั ปรับชนาด องคก์ รให้เหมาะสมและจัดกาลงั คนตามสมรรถนะ ดวามรู้ ดวามสามารถ ถ่ายทอดดวามรู้ในการปฏิบตั ิงาน มีการพฒั นาทีมงาน และสร้างผูส้ ืบทอด ท่ีดี เก่ง ยดึ ประโยชน์สุฃฃองส่วนรวมเป็ นท่ีต้งั ระดับเจ้าหน้าที่ ควรปรับวิถีและใชช้ ีวิตแบบพอเพียง รู้จกั พอประมาณและมีเหตุผล ชื่อสัตยส์ ุจริต ปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความรับผิดชอบ รอบรู้ รอบคอบระมดั ระวงั ใชจ้ ่ายอยา่ งคุม้ ด่า เหมาะสมกบั รายได้ พฒั นาตนเองและความรู้อยเู่ สมอหลีกเที่ยงอบายมุฃ รักษาวฒั นธรรมไทย ยึดประโยชน์สุฃฃองส่วนรวม รู้ รักสามคั คี แบ่งปิ น ให้บริการและช่วยเหลือ ประชาชนดว้ ยน้า'ใจไมตริ อยา่ งรวดเร็วเสมอภาค และลมั ฤทธิ้ผล เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง

ตัวอย่างดวามพอเพียง โ น ร ะ ดับ อ ง ค์ก ร ห รือ ผู้บริ หาร สร้างวัฒนธรรม องค์กรตามหลกั ปรัชญาฯ ให้ เป็ นแนวทางปฏิบัติ เน้นการ สร้างปี ญญาให้คน ในอ งค์กร เพราะวา่ คนเป็ น ทรัพยากรที่มี ด่ า ท่ี สุ ด ช อ ง อ ง ค์ก ร ก า รดาเนินงานคานึงถึงประโยชน์สุฃ ชองประเทศชาติและประชาชนเป็ นสาคัญบริหารจดั การการใช้ งบประมาณอยา่ งโปร่งใส ประหยดั มีประสิทธิภาพ ใชห้ ลกัธรรมาภิบาลในการบริหารงาน เงิน และคน ระดบั เจ้าหน้าท่ี ใชป้ รัชญาชองเศรษฐกิจพอเพียงในการ ดาเนินชีวิต ไม่พีมเพอี ย ไม่เชา้ ใกลอ้ บายมฃุ ใชส้ มรรถนะ ศวามรั ดวามสามารถ ในการปฏิบตั ิงานอยา่ งเตม็ ที่ เอาใจใส่ใหบ้ ริการ ประชาชนอยา่ งรวดเร็วลมั ฤทธิ้ผล เสมอภาด ยิม้ แยม้แจ่มใส ไม่รับสินบน ใชท้ รัพยากรชองหน่วยงานอยา่ งประหยดั คุม้ ด่า เช่น การใช้กระดาษริไชเดิล และการประหยดั พลงั งาน เป็ นตน้ เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง

ดวามพอเพยี งระดับประเทศ แนวทางปฏิบัติ เน้นการบริ หารจัดการประเทศ โดยเริ่ มจากการวางรากฐานให้ประซาซนส่วนใหญ่อยอู่ ยา่ งพอมีพอกิน และพ่ึงตนเองได้ มีดวามรู้และคุณธรรมในการดาเนินซีวิต มีการรวมกลุ่มซองซุมซนหลายๆ แห่งเพื่อแลกเปลี่ยนดวามรู้ สืบทอดภูมิปี ญญา และร่วมกนั พฒั นาตาม แนวทางเศรษฐกิจพอเพียงอยา่ งรู้ รัก สามดั ดี เสริมสร้างเดรือฃ่ายเซื่อมโยง ระหวา่ งซุมซนให้เกิดดวามพอเพียง นาสู่ “สังคมอยู่เยน็ เป็ นสุ6บร่วมกัน” อยา่ งเขม้ แข็ง มนั่ ดง และยงั่ ยืนสืบไป ตวั อย่างดวามพอเพยี ง เซ่น การกาหนดนโยบายพฒั นาประเทศ และการเปิ ดเสรีควรกระทาอยา่ งเป็ นข้นั เป็ นตอน โดยเนน้ การเพิ่มภูมิคุม้ กนั และเสริมสร้างทุนมนุษย์ ทุนเศรษฐกิจ ทุนสงั ดม ทุนวฒั นธรรม ทุนทรัพยากรธรรมซาติและสิงแวดลอ้ ม ปลูกฝื งคุณธรรม ดวามสามดั ดี ดวามรู้ ดวามเพียร ดวามอดทน เก้ือกูลแบ่งปี น ดวามซ่ือสัตยแ์ ละ ดวามกตญั ญให้กวา้ งซวาง การดาเนินนโยบายการเงินการดลงั และการ ดาเนินโดรงการซนาดใหญซ่ องภาดรัฐที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อดวาม เป็ นอยซู่ องประซาซน ตอ้ งดาเนินการอยา่ งรอบรู้ รอบดอบ ระมดั ระวงั เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง

คานึงถึงดวามพอประมาณ คุม้ ด่า มีเหตุผล โปร่งใส สอดคลอ้ งกบั การเปล่ียนแปลง และพอดีกบั ทรัพยากร รวมท้ังก่อให้เกิด ประโยชน์สุฃ แก1ประชาชนอยา่ ง แหจ้ ริง มีการสร้างเด'รอๆ}ายด'วาม'ร่วมมือ ในลกั ษณะที่จะเป็ นประโยชน์ในการ สื บ ท อ ด ภู มิ ปี ญ ญ า แ ล ก เ ป ลี่ ย น ดวามรู้ เทคโนโลยี และบทเรียน จากการพฒั นา หรื อร่วมมือกันพัฒนา ตามปรัชญาชอง เศรษฐกิจพอเพียง ทาให้ประเทศอนั เป็ น สังคมใหญ่อนั ประกอบดว้ ยชุมชน องคก์ ร และ ธุรกิจต่างๆ ท่ีดาเนินชีวติ อยา่ งพอเพียง กลายเป็ นเครื อฃ่ายชุมชน พอเพียงท่ีเชื่อมโยงกนั ดว้ ยหลกั การแห่งความพอเพียง รู้ รัก สามคั คี ไม่เบียดเบียน แบ่งปี นและช่วยเหลือชื่งกนั และกนั ไดใ้ นท่ีสุด เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง

การน้อมนาปรัชญาชองเศรษฐกิจ พอเพียงมาใช้ในระดับต่างๆ น้ัน ต้องมี พ้ืนฐานดือ การพ่ึงตนเองไต้ โดยพิจารณา ถึงดวามพอเพียงในการดาเนินชีวติ ทุกยา่ งกา้ ว ไดแ้ ก่ • ด้านเศรษฐกิจ ไม่ใช้จ่ายเกินตวั ไม่ลงทุน เกินชนาด คิดและวางแผนอยา่ งมีเหตุผลและคุณธรรม รอบรู้ รอบดอบ ระมดั ระวงั เสริมสร้างภูมิคุม้ กน้ ดว้ ยการบริหารดวามเที่ยงท่ีเหมาะสม สม้ ฤทธิ\"!ผลและ'ทนั กาล • ด้านจิตใจ เข้มแข็ง กต้ญญ มีดวามเพียร มีจิตสานึกที่ถูกตอ้ ง มีคุณธรรมอนั มน่ั ดง สุจริต จริงใจ คิดดี ทาดี แจ่มใส เอ้ืออาทรแบ่งปี น เห็นแก1ประโยชนส์ ่วนรวมเป็ นสาคญั • ด้านสังคมและวัฒนธรรม ช่วยเหลือเอ้ือถูลกน้ ประสานสม้ พนั ธ์ รู้ รัก สามดั ดี เสริมสร้างดวามเขม้ แข็งใหด้ รอบดรัวและชุมชน รักษา เอกลกั ษณ์ ภาษา ภูมิปี ญญา และวฒั นธรรมไทย

• ด้ านทรั พยากรธรรมซาติและ สิ งแวดล้ อม รู้จักใช้และจัดการอย่าง ฉลาดประหยดั และรอบดอบ ห้ืเนฟู ทรัพยากรเพ่ือให้เกิดวามยงั่ ยนื และดงอยู่ ยวั่ ลูกหลาน • ด้านเทดโนโล?) รู้จักใช้เทดโนโลยืท่ีเหมาะสม สอดดล้องกับ ดวามต้องการและสภาพแวดลอ้ มตามภูมิสงั ดม พฒั นาเทดโนโลยจื าก ภมู ิปี ญญาซาวบา้ น เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง



เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง

“...การคดิ การปฏบิ ตั ิให้ถูกให้ดีนั้น กค็ อื การคิดและการปฏิบัตใิ หถ้ กู ตอ้ ง ตามหลักการ หลักวิชา หลกั เหตุผล และหลักสจุ ริตธรรม ผ้มู ุ่งหมายจะสรา้ งสรรคป์ ระโยชนแ์ ละความเจรญิ จงึ ควรพยายามปฏบิ ัติฝึกฝนตนเองใหม้ ีความคดิ จิตใจที่เท่ียงตรง และม่นั คงเปน็ กลาง เป็นอสิ ระจากอคติ ซ่งึ มีหลกั ฝึกหัดที่สาคัญประกอบส่งเสริมกันอยูส่ องข้อ ขอ้ แรก ให้หัดพูดหดั ทาหัดคิดดว้ ยสติร้ตู วั อยู่เสมอเพอื่ หยดุ ยัง้ และปอู งกันความประมาทพลาดผดิ และอคติต่างๆ มิให้เกิดข้ึน. ข้อสอง ให้หดั ใชป้ ัญญาความฉลาดรู้ เป็นเครื่องวเิ คราะห์และวนิ จิ ฉัยเรื่องราวปัญหาต่างๆ ทุกอยา่ ง ที่จะต้องขบคิดแกไ้ ข เพอื่ ชว่ ยให้เหน็ เหตุ เห็นสาระไดช้ ัดและวนิ ิจฉัยไดถ้ ูกตอ้ ง เที่ยงตรง

วา่ ข้อท่เี ท็จ ที่จรงิ ทถ่ี กู ทผ่ี ดิ ทีเ่ ป็นประโยชน์ ที่มิใช่ประโยชน์ อยตู่ รงไหน. สติ และปญั ญา ท่ีได้ฝกึ ฝนใชจ้ นคล่องแคลว่ เคยชินแลว้ จะรวมเข้าเปน็ สติปญั ญาทจี่ ะสง่ เสรมิ ให้บุคคลสามารถคิดอ่าน และประพฤติปฏบิ ัตไิ ดถ้ ูก ได้ดี ให้เกิดประโยชนแ์ กต่ นแก่ส่วนรวม ไดส้ มบูรณ์พร้อมทกุ ส่วน...” พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปรญิ ญาบตั รของ สถาบนั เทคโนโลยีราชมงคล ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๓ เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง



เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง

“...ความพอเพยี งนี้ไมไ่ ดห้ มายความว่า ทกุ ครอบครวั จะตอ้ งผลิตอาหารของตวั จะตอ้ งทอผา้ ใสเ่ อง. อย่างนน้ั มนั เกนิ ไป แต่ว่าในหมู่บา้ นหรือในอาเภอ จะตอ้ งมคี วามพอเพยี งพอสมควร. บางสงิ่ บางอย่างทผี่ ลิตไดม้ ากกวา่ ความต้องการ กข็ ายได้แตข่ ายในท่ไี ม่ห่างไกลเทา่ ไหร่ ไมต่ อ้ งเสียคา่ ขนส่งมากนกั ...” พระราชดารัสพระราชทานแก่คณะบคุ คลต่างๆ เน่ืองในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔

“...ใหพ้ อเพียงนก้ี ห็ มายความว่ามกี ินมอี ยู่ ไม่ฟุมเฟอื ย ไมห่ รูหรากไ็ ด้ แต่ว่าพอ.แมบ้ างอยา่ งอาจจะดฟู ุมเฟือย แตถ่ า้ ทาใหม้ คี วามสขุ ถ้าทาได้ก็สมควรทจ่ี ะทา สมควรทจี่ ะปฏบิ ัติ.อันนกี้ ็ความหมายอีกอย่างของเศรษฐกจิ หรอื ระบบพอเพียง...คนเราถา้ พอในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เม่ือมีความโลภนอ้ ยก็เบียดเบยี นคนอ่ืนน้อย.ถา้ ทกุ ประเทศมคี วามคดิ อันนี้ไมใ่ ชเ่ ศรษฐกจิ มคี วามคดิ วา่ ทาอะไรตอ้ งพอเพียงหมายความว่า พอประมาณ ไมส่ ดุ โต่ง ไมโ่ ลภอย่างมากคนเราก็อยูเ่ ปน็ สุข... พอเพียงนีอ้ าจจะมีมาก อาจจะมีของหรูหราก็ได้ แตว่ ่าตอ้ งไมเ่ บยี ดเบยี นคนอ่นื . ตอ้ งให้พอประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพยี ง ทาอะไรก็พอเพยี ง ปฏบิ ัติตนกพ็ อเพียง...” พระราชดารัสพระราชทานแกค่ ณะบคุ คลต่างๆ เนื่องในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ๔ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง



“...ขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่จะใหเ้ มืองไทยพออยูพ่ อกินมีความสงบ และทางานต้งั อธษิ ฐาน ตงั้ ปณิธาน ในทางน้ีที่จะใหเ้ มอื งไทยอยู่แบบพออยพู่ อกิน ไม่ใช่ว่าจะรงุ่ เรอื งอยา่ งยอดแต่ว่า มีความพออยพู่ อกนิ มคี วามสงบ เปรยี บเทียบกับประเทศอน่ื ๆถา้ เรารักษาความพออยพู่ อกนิ นไี้ ด้ เราก็จะยอดย่งิ ยวดได้.ฉะนนั้ ถา้ทกุ ทา่ นซ่งึ ถอื วา่ เปน็ ผมู้ ีความคิดและมีอิทธิพลมพี ลงั ท่จี ะทาให้ผ้อู ืน่ซงึ่ มคี วามคิดเหมือนกนั ชว่ ยกนั รกั ษาสว่ นรวมใหอ้ ยดู่ ีกนิ ดีพอสมควร ขอย้า พอควร พออย่พู อกนิ มีความสงบไมใ่ ห้คนอ่นื มาแยง่คุณสมบัติน้ีจากเราไปได้ก็จะเป็นของขวญั วันเกิดทถ่ี าวรท่ีจะมีคณุ คา่ อยู่ตลอดกาล...”พระราชดารสั พระราชทานแกค่ ณะบุคคลต่างๆ เน่ืองในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ๒๓ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง

เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง

เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง

“...ทกุ คนจาเป็นตอ้ งหมัน่ ใชป้ ัญญาพิจารณาการกระทาของตนใหร้ อบคอบอยู่เสมอ ระมัดระวังทาการทุกอยา่ งดว้ ยเหตผุ ล ดว้ ยความมสี ติ และด้วยความรตู้ ัวเพอื่ เอาชนะความช่วั รา้ ยทั้งมวลใหไ้ ด้โดยตลอด และสามารถก้าวไปถึงความสาเรจ็ ที่แท้จรงิ ท้ังในการงานและการครองชวี ติ ...”พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๖

“...ทา่ นจะตอ้ งทาความคดิ และจติ ใจให้เปิดกวา้ ง แตห่ นกั แนน่ มีเหตุผล มีวิจารณญาณ พร้อมกนั นนั้ กต็ อ้ งมีความจรงิ ใจ เหน็ ใจ และเมตตาปรองดองกัน โดยถอื ประโยชน์ส่วนรวมรว่ มกนั เปน็ วตั ถุประสงค์เอก. ทส่ี าคัญขอ้ หน่ึง จะต้องพยายามขจดั ความดอื้ รน้ั ถอื ตวั ความเห็นแกต่ วั เหน็ แก่ประโยชนส์ ่วนน้อยออกให้ได้ไมป่ ล่อยใหเ้ ขา้ มาครอบงาทาลายความคดิ จติ ใจทดี่ ีงามของตน แลว้ ท่านจะสามารถปฏิบัตกิ ารงานทกุ อยา่ ง ได้ดว้ ยความราบร่นื เบกิ บานใจ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและประสบผลสาเรจ็ ตามทีป่ รารภปรารถนาทกุ สิง่ ในที่สดุ ...” พระบรมราโชวาทในพธิ ีพระราชทานปรญิ ญาบัตรของ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ๑๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๙ เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง



เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง

“....ในการพฒั นาประเทศนั้นจาเป็นต้องทาตามลาดับขน้ั เร่มิ ดว้ ยการสรา้ งพน้ื ฐานคอื ความมีกนิ มใี ชข้ องประชาชนก่อน ดว้ ยวิธกี ารที่ประหยดั ระมัดระวงั แตถ่ กู ตอ้ งตามหลักวชิ าเมื่อพ้ืนฐานเกิดข้ึนมน่ั คงพอควรแล้วจึงคอ่ ยสร้างเสรมิ ความเจรญิ ให้คอ่ ยเป็นไปตามลาดบั ด้วยความรอบคอบ ระมดั ระวงั และประหยัดนั้นก็เพื่อป้องกนั ความผิดพลาดลม้ เหลว และเพ่ือใหบ้ รรลผุ ลสาเรจ็ ได้แน่นอนบรบิ ูรณ์...” พระบรมราโชวาทในพิธพี ระราชทานปริญญาบตั รของ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๗

เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง

“...ทุกวันน้ีประเทศไทยยงั มีทรัพยากรพร้อมมูล ทง้ั ทรพั ยากรธรรมชาติและทรัพยากรบุคคลซึง่ เราสามารถนามาใชเ้ สริมสรา้ งความอุดมสมบรู ณ์และเสถยี รภาพ อันถาวรของบ้านเมอื งได้เป็นอย่างดี. ขอ้ สาคัญเราจะตอ้ งรู้จักใชท้ รพั ยากรทัง้ นั้นอยา่ งฉลาดคอื ไมน่ ามาทมุ่ เทใช้ใหส้ นิ้ เปลืองไปโดยไร้ประโยชน์หรือได้ประโยชน์ ไมค่ มุ้ คา่ หากแตร่ ะมดั ระวงั ใช้ด้วยความประหยดั รอบคอบประกอบด้วยความคดิ พจิ ารณาตามหลักวิชา เหตุผล และความถูก ตอ้ งเหมาะสมโดยมุง่ ถงึ ประโยชนแ์ ท้จรงิ ทจ่ี ะเกิดแกป่ ระเทศชาติ ทัง้ ในปัจจุบันและอนาคตอนั ยนื ยาว...”

พระราชดารัสพระราชทานแกค่ ณะบคุ คลต่างๆเนอื่ งในโอกาสวันเฉลมิ พระ ชนมพรรษา ๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๒๙ เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง

เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง

“...ประเทศบา้ นเมืองจะวฒั นาถาวรอยไู่ ด้ กย็ ่อมอาศยัความสัตย์สจุ รติ เป็นพ้ืนฐานท่านทงั้ หลายจะออกไปรับราชการก็ดีหรอื ประกอบกิจการงานสว่ นตวั กด็ ีขอให้มัน่ อยใู่ นคณุ ธรรมท้ัง ๓ประการคอื สจุ ริตต่อบา้ นเมอื ง สุจรติ ตอ่ ประชาชน และสจุ ริตตอ่หนา้ ที่ท่านจึงจะเปน็ ผู้ท่ีควรแกก่ ารสรรเสริญของมวลชนทัว่ ไป” พระบรมราโชวาทในพธิ พี ระราชทานปริญญาบัตรของ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ๑๒ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๙๗ เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง

เรียนรีเศรษฐกจิ พอเพยี ง

“...ขอขอบใจทุกๆ คน. จติ ใจทเี่ ปี่ยมไปดว้ ยความปรารถนาดี และความเปน็ อันหนึ่งอนั เดียวกนั ของทุกคนทุกฝ่ายน้ี ทาใหข้ า้ พเจา้ เห็นแล้วมีกาลงั ใจมากข้นึ นึกถึงคณุ ธรรม ซึง่ เป็นทต่ี ัง้ ของความรกั ความสามคั คีท่ที าใหค้ นไทย เราสามารถรว่ มมอื ร่วมใจกันรกั ษาและพฒั นาชาตบิ า้ นเมือง ให้เจรญิ รงุ่ เรืองสืบต่อกนั มาไดต้ ลอดรอดฝง่ั . ประการแรก คอื การทที่ ุกคนคดิ พดู ทา ด้วยความเมตตามุ่งดมี งุ่ เจริญต่อกนั .ประการทีส่ อง คอื การทีแ่ ต่ละคนต่างช่วยเหลือเกือ้ กูลกนั ประสานงานประสานประโยชนก์ ัน ให้งานท่ที าสาเรจ็ ผลท้งั แก่ตน แก่ผู้อ่ืน และแก่ประเทศชาติ.ประการทส่ี าม คือการท่ีทกุ คนประพฤตปิ ฏิบัตติ นอยูใ่ นความสจุ รติ ในกฎกตกิ าและในระเบยี บแบบแผนโดยเท่าเทียมเสมอกัน.

ประการท่สี ี่ คอื การท่ีต่างคนตา่ งพยายามทาความคิดความเห็นของตน ให้ถกู ต้องเทย่ี งตรงและมัน่ คงอยใู่ นเหตใุ นผล.หากความคดิ จติ ใจและการประพฤติปฏิบตั ทิ ่ีลงรอยเดียวกันในทางทด่ี ีทเี่ จรญิ น้ี ยังมพี ร้อมมลู อยูใ่ นกายในใจของคนไทยก็ม่นั ใจได้ว่าประเทศชาติไทย จะดารงม่ันคงอย่ตู ลอดไปได.้ ” พระราชดารสั ในการเสด็จออกมหาสมาคม ในงานพระราชพธิ ฉี ลองสริ ิราชสมบตั ิครบ ๖๐ ปี ๙ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๔๙ เรียนรีเศรษฐกิจพอเพยี ง



เรียนรีเศรษฐกจิ พอเพยี ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook