3) วรรณา เต็มสิริพจน์ ศศิธร สุวรรณเทพ สันติ เจริญพรพัฒนา พรเลิศ อาภานุทัต และสุรัตน์ ชุมจิตต์. (2564). การศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดสรรงบประมาณ ด้านการศึกษาตรงสู่ผู้เรียน. (รายงานผลการวิจัย). สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, กรุงเทพฯ: ศูนย์นวัตกรรมนโยบาย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. 2.1.4 อื่น ๆ จำนวน 4 รายการ 2.1.4.1 International book/Chapter in international book จำนวน 3 รายการ Thomas, N., E.J.A. Bowen, N., Louw, S. & Nanni, A. (2021). Performing a balancing act: A trioethnography of 'foreign' EMI lecturers in Bangkok. In San and Fang, Pedagogies of English-Medium Instruction Programs in Asian Universities. London: Routledge. Watson Todd, R. & G. Towns, S. (2021). Case study 1, Thailand: “For the world to see and learn” - Motivating learners through purposeful writing. In L. Miller and J. G. Wu (Eds.), Language Learning with Technology: Perspectives from Asia (pp. 79-88). Singapore: Springer. doi: 10.1007/978-981-16-2697-5_6 Jitpaisarnwattana, N. & Reinders, H. (2021). Language MOOCs. The TESOL Encyclopedia of English Language Teaching. USA: Wiley. https://doi.org/10.1002/9781118784 235.eelt0999 2.1.4.2 National book/Chapter in national book จำนวน 1 รายการ จุลนี เทียนไทย ภัทรพรรณ ทำดี ภาสนันทน์ อัศวรักษ์ ปุณณฑรีย์ เจียวิริยบุญญา และฐิตินันทน์ ผิวนิล. (2564). อัตลักษณ์ วิธีคิด และชีวิต 4.0 ของชาวดิจิทัลไทย: การสังเคราะห์ผลการวิจัยสู่การ ใช้ประโยชน์เชิงนโยบาย. การสร้างความเข้าใจในคุณลักษณะ พฤติกรรม และทัศนคติใน อนาคตของชาวดิจิทัลไทย. นนทบุรี: โรงพิมพ์ภาพพิมพ์. 48
2.2 การได้รับเงินสนับสนุนการทำวิจัย 2.2.1 แหล่งทุนวิจัยภายใน ในปีงบประมาณ 2564 คณะศิลปศาสตร์สนับสนุนทุนโครงการวิจัยให้แก่บุคลากรและนักศึกษา จำนวน 3 โครงการ เป็นเงิน 40,000 บาท เป็นโครงการวิจัยของบุคลากรจำนวน 2 โครงการ และโครงการวิจัยของ นักศึกษา จำนวน 1 โครงการ ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้ บุคลากร ตารางที่ 2.2 ลำดับ ชื่อโครงการ หัวหน้าโครงการ/นักวิจัย งบประมาณ แหล่งทุนวิจัย (บาท) พฤติกรรมการออกกำลังกายและ ผศ.ดร.อังคนา บุญเสม 10,000 ทุนอุดหนุนวิจัยคณะ ความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมทาง ศิลปศาสตร์ 1 กายกับสมรรถนะการทำงานของ (รหัสโครงการ บุคลากรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี 2564201) พระจอมเกล้าธนบุรี Use of monolingual mobile รศ.ดร.อธิปัตย์ บุญเหมาะ ทุนอุดหนุนวิจัยคณะ อ.อนุพงศ์ ทวยนาค ศิลปศาสตร์ 2 dictionaries for improving EFL 10,000 (รหัสโครงการ reading comprehension and 2564202) vocabulary learning รวมงบประมาณทั้งหมด 20,000 นักศึกษา ตารางที่ 2.3 ลำดับ ชื่อโครงการ หัวหน้าโครงการ/นักวิจัย งบประมาณ แหล่งทุนวิจัย (บาท) Privilege and Marginalization: 20,000 ทุนอุดหนุนวิจัย The Working Contexts, Social คณะศิลปศาสตร์ 1 Perceptions, and Self-Image of Mr. David Dwayne Perrodin (รหัสโครงการ Extralocal English Teachers in PS-2564101) Thailand รวมงบประมาณทั้งหมด 20,000 49
2.2.2 แหล่งทุนวิจัยภายนอก ในปีงบประมาณ 2564 คณะศิลปศาสตร์ได้รับทุนสนับสนุนโครงการวิจัยภายนอก จำนวน 9 โครงการ ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้ ตารางที่ 2.4 ลำดับ ชื่อโครงการ หัวหน้าโครงการ/นักวิจัย งบประมาณ แหล่งทุนวิจัย (บาท) ทักษะที่จำเป็นในการทำงานของบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี สาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ (ทุนวิจัยพระจอมเกล้าธนบุรี ประจำปีงบประมาณ 2563 1 วิศวกรรมศาสตร์ ในยุคอุตสาหกรรม ดร.อักษราภัค หลักทอง 261,500 รอบ 2) ก้าวหน้าของประเทศไทย (เม.ย. 63 - มี.ค. 64) ดร.วรรณา เต็มสิริพจน์ การศึกษาแนวทางการพัฒนาระบบ ผศ.ดร.สันติ เจริญพร 2 สารสนเทศ เพื่อการจัดสรรงบประมาณ พัฒนา 1,500,000 สำนักงานเลขาธิการสภาการ ด้านการศึกษาตรงสู่ผู้เรียน ผศ.ดร.ศศิธร สุวรรณเทพ (วิจัยร่วม) ศึกษา (พ.ค. - พ.ย. 63) ดร.สุรัตน์ ชุมจิตต์ น.ส.ชมพูนุท สวนกระต่าย The long-term impact of diverse parental migration experiences on รศ.ดร.อารี จำปากลาย 2,240,000 (วิจัยร่วม) 3 youth transition to adulthood: ดร.อักษราภัค หลักทอง University of Hong Kong Thailand as a case study (1 ก.ค. 62 - 30 มิ.ย. 64) 4 การศึกษาเพื่อสร้างมาตรฐานการเรียน รศ.ดร.บัณฑิต ทิพากร 936,450 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ รู้ และโครงสร้างหลักสูตรที่เหมาะสมกับ ผศ.ดร.ศศิธร สุวรรณเทพ (วิจัยร่วม) การเรียนการสอนสำหรับสังคมยุค ผศ.ดร.ชเนนทร์ มั่นคง ปกติใหม่ (New Normal) และ ยุคปกติ นางจิราภรณ์ วงษ์เกิด ในอนาคต (Next Normal) (ต.ค. 63 - ก.ย. 65) ชีวิตครอบครัวผู้ย้ายถิ่นกับการสร้าง สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี 5 ชุมชนใหม่โดยรอบพื้นที่พัฒนา ดร.อักษราภัค หลักทอง 600,000 เศรษฐกิจอุตสาหกรรมภาคตะวันออก พระจอมเกล้าธนบุรี (21 ก.ย. 63 - 20 ก.ย. 65) ผลกระทบระยะยาวของการย้ายถิ่นที่ รศ.ดร.อารี จำปากลาย 1,200,000 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ หลากหลายของพ่อแม่ที่มีต่อการ ศ.ดร.ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์ (วิจัยร่วม) (วช.) 6 เปลี่ยนผ่านสู่วัยรุ่น: กรณีศึกษา ดร.อักษราภัค หลักทอง ประเทศไทย (15 ก.ย. 63 - 15 ก.ย. 64) 50
ตารางที่ 2.4 (ต่อ) ลำดับ ชื่อโครงการ หัวหน้าโครงการ/นักวิจัย งบประมาณ แหล่งทุนวิจัย (บาท) 7 การออกแบบนวัตกรรมการ ดร.อรกัญญา เยาหะรี พัฒนากำลังคนเพื่อมุ่งสู่ความ ผศ.ดร.เดี่ยว กุลพิรักษ์ 2,390,000 เป็น Smart Factory ใน ดร.จารุพักตร์ เทพแก้ว อุตสาหกรรมแปรรูปอาหารสัตว์ นายเอกวัฒน์ นิธิไชโย (พ.ค. 64 - เม.ย. 65) อ.สมชัย ตรีรัตนจารุ นางสาวพิชญ์พจี สายเชื้อ 8 การศึกษาวิจัย รูปแบบการ ผศ.ดร.ศศิธร สุวรรณเทพ 13,360,000 กระทรวงการ จัดการเรียนการสอนวิชาศึกษา ผศ.ดร.ชเนนทร์ มั่นคง อุดมศึกษา ทั่วไปในยุคปกติใหม่ กรณีศึกษา นางจิราภรณ์ วงษ์เกิด การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน อ.ปาณเลิศ ศิริวงศ์ วิทยาศาสตร์ วิจัยและ เพื่อสร้างทักษะชีวิตยุคหลังปกติ อ.สุพรรษา ประสงค์สุข นวัตกรรม ใหม่ ในบริบทมหาวิทยาลัย ดร.พรเลิศ อาภานุทัต เทคโนโลยี ดร.ชาญชัย สัตยานนท์ (ต.ค. 63 - ก.ย. 64) 9 การพัฒนาและใช้ระบบข้อมูลเฝ้า ผศ.ดร.ภาสนันทน์ อัศวรักษ์ 2,030,281 สถาบันวิจัยระบบ ระวังชุมชนเพื่อเตรียมความ ผศ.ดร.ธิดารัตน์ บุญศรี สาธารณสุข (สวรส.) พร้อมต่อการรับมือกับปัญหา อ.ศิริพันธ์ นันสุนานนท์ มลพิษข้ามพรมแดน (1 ก.ย. 64 - 28 ก.พ. 66) 2.2.3 งานวิจัยที่ไม่ได้ขอสนับสนุนทุนวิจัยในปีงบประมาณ 2564 ในปีงบประมาณ 2564 คณะศิลปศาสตร์มีโครงการวิจัยที่ไม่ได้ขอสนับสนุนทุนวิจัยในการดำเนินโครงการ จำนวน 8 โครงการ รายละเอียดดังต่อไปนี้ ตารางที่ 2.5 ลำดับ ชื่อโครงการ หัวหน้าโครงการ/นักวิจัย 1 การศึกษาความรู้ ความเชื่อและทัศนคติเกี่ยวกับบุหรี่ ผศ.ดร.สุรพงษ์ ชูเดช ไฟฟ้าของเยาวชนไทย รศ.ดร.ปิยะพงษ์ จันทร์ใหม่มูล 2 Examining English Usage for Japanese Students Assoc. Prof. Dr. Paul Horness in a Short-term Study Abroad Program in ผศ.ดร.ณัตจิรี จาตุรพิทักษ์กุล Thailand 3 An Investigation of Test Validation Using Rasch ผศ.ดร.ณัตจิรี จาตุรพิทักษ์กุล Model: A case study on Test of English for Thai อ.ดวงใจชนก พรรษา Engineers and Technologists (TETET) Assoc.Prof. Dr. Paul Horness 51
ลำดับ ชื่อโครงการ หัวหน้าโครงการ/นักวิจัย 4 The Influence of the Benchmark Corpus on ผศ.ดร.ปัญจพร พจนปัญญา Keyword Analysis Assoc. Prof. Dr. Richard Watson Todd ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อการเรียนในชั้นเรียนปกติ อ.ดวงใจชนก พรรษา ผศ.ดร.ปัญจพร พจนปัญญา 5 และการเรียนออนไลน์แบบกะทันหันในช่วงการแพร่ ระบาดของ COVID-19 (Students’ perceptions of รศ.ดร.อธิปัตย์ บุญเหมาะ classroom and online teaching) Perceptions and attitudes of students and ผศ.ดร.ปัญจพร พจนปัญญา 6 teachers toward computer mediated materials in อ.ดวงใจชนก พรรษา an English fundamental course 7 การจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน น.ส. กุลกานต์ สุทธิดารา ออนไลน์ในยุค New Normal น.ส. อาทิตยา บินฮาซัน 8 A tailor-made approach to Thai word ผศ.ดร.ปัญจพร พจนปัญญา segmentation for topic-specific research อ.ดวงใจชนก พรรษา 2.3 การได้รับรางวัล ในปีงบประมาณ 2564 คณะศิลปศาสตร์มีบุคลากรได้รับรางวัลหรือมีผลงานวิจัยที่ได้รับรางวัลจากสถาบัน ต่าง ๆ อาทิ 2.3.1 รางวัลบทความนวัตกรรมการเรียน ของเครือข่ายการพัฒนาวิชาชีพอาจารย์และองค์กร การสอน ระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (ควอท) ณ โรงแรม แอมบาสเดอร์ กรุงเทพมหานคร วันพฤหัสบดีที่ 25 ถึงวันศุกร์ที่ 26 มีนาคม 2564 นางสาวกุลกานต์ สุทธิดารา และ นางสาวอาทิตยา บินฮาซัน บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ได้รับรางวัลบทความ นวัตกรรมการเรียนการสอนจากการนำเสนอผลงาน วิจัยเรื่อง “การจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนการเรียน การสอนออนไลน์ในยุค New Normal” ในการ ประชุมวิชาการ ครั้งที่ 16 ประจำปี 2564 เรื่อง พลิกโฉมอุดมศึกษาไทย: วิถีใหม่ของการเรียนการสอน 52
2.4 กิจกรรมส่งเสริมการผลิตงานวิจัย 2.4.2 งานสัมมนาระดับนานาชาติ “Doing ในปีงบประมาณ 2564 คณะศิลปศาสตร์ ได้จัด Research in Applied Linguistics 4 (DRAL 4)” กิจกรรมหลายโครงการเพื่อพัฒนาความเข้มแข็ง วันเสาร์ที่ 4 กันยายน 2564 คณะศิลปศาสตร์ ด้านการวิจัย ได้แก่ มจธ. ร่วมมือ Malaysia Association in Applied Linguistics (MAAL) Singapore Association in 2.4.1 การจัดอบรมเรื่อง “จริยธรรมการวิจัยใน Applied Linguistics (SAAL) และสมาคม มนุษย์สำหรับนักศึกษาต่างชาติระดับบัณฑิตศึกษา” ภาษาศาสตร์ประยุกต์ประเทศไทย (TAAL) ได้จัด งานสัมมนาระดับนานาชาติร่วมกันในหัวข้อ “Doing วันจันทร์ที่ 19 ตุลาคม 2563 กลุ่มงานวิจัย Research in Applied Linguistics 4 (DRAL 4)” การวัดและประเมินผล คณะศิลปศาสตร์ ได้จัดอบรม ในรูปแบบ Virtual ผ่านระบบ Zoom โดย ผู้ช่วย เรื่อง “จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ (บรรยายภาษา ศาสตราจารย์ ดร. ศศิธร สุวรรณเทพ และรอง อังกฤษ) สำหรับนักศึกษาต่างชาติระดับบัณฑิต ศาสตราจารย์ ดร.พรนภิส ดาราสว่าง รองอธิการบดี ศึกษา” ให้แก่นักศึกษาต่างชาติระดับบัณฑิตศึกษา ฝ่ายพัฒนาความเป็นสากล เป็นประธานกล่าวเปิด สายวิชาภาษา คณะศิลปศาสตร์ 7 คน นักศึกษา การสัมมนา และได้รับเกียรติจาก Professor Brian ต่างชาติ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ Paltridge จาก The University of Sydney และ จำนวน 4 คน รวมจำนวนทั้งสิ้น 11 คน โดยมี ผู้ช่วย Professor Guangwei Hu จาก The Hong Kong ศาสตราจารย์ ดร.ภาสนันทน์ อัศวรักษ์ กรรมการ Polytechnic University ให้เกียรติเป็น Keynote จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มจธ. และรอง Speakers ในการสัมมนามีวัตถุประสงค์เพื่อให้ ศาสตราจารย์ ดร.ปิยะพงษ์ จันทร์ใหม่มูล ผู้ช่วย บุคลากรทางการศึกษาและนักศึกษาระดับบัณฑิต คณบดีฝ่ายวิจัย คณะศิลปศาสตร์ เป็นวิทยากร โดยมี ศึกษาได้เผยแพร่ผลงานวิจัยและได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ วัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษาตระหนักถึงความสำคัญ การทำงานวิจัยในสาขาภาษาศาสตร์ประยุกต์ที่เกิด ของการวิจัยในมนุษย์ รวมทั้งได้รับทราบระเบียบ ขึ้นในประเทศไทยและต่างประเทศ ทั้งนี้มีผู้เข้าร่วม ขั้นตอน และแนวปฏิบัติในการขอประเมินจริยธรรม งานสัมมนาจำนวน 195 คน จาก 15 ประเทศ การวิ จั ยในมนุ ษย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี 53
2.5 การให้บริการวิชาการ ทำอาหารในเมนู ขนมจีบกุ้งไก่ใส่ไข่กุ้ง และขนม คณะศิลปศาสตร์ดำเนินการตามพันธกิจของ กล้วย ขนมฟักทอง ขนมมันม่วง กิจกรรมดังกล่าวได้ รับเกียรติจาก อาจารย์วิชัย กฤตประโยชน์ อาจารย์ คณะฯ ที่มุ่งเน้นการสร้างผลงานวิชาการที่มีคุณภาพ กรรชงค์ กฤตประโยชน์ ดร.ปุณยภา แสงศรี และ ระดับสากล และให้บริการวิชาการอย่างมืออาชีพเพื่อ ดร.พนิตพิมพ์ โศจิศิริกุล อาจารย์ประจำคณะ สร้างชื่อเสียงให้แก่คณะฯ ผ่านการจัดโครงการหรือ ศิลปศาสตร์ ร่วมให้ความรู้ภาษาอังกฤษผ่านการทำ กิจกรรมที่ตอบสนองความต้องการของชุมชน ตลอด กิจกรรมต่าง ๆ ด้วยการเรียนรู้ชื่อวัตถุดิบ ขั้นตอน จนเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ของคณะฯ และบูรณาการ การทำ และเทคนิคการประกอบอาหาร การให้บริการทางวิชาการแก่สังคมเข้ากับการเรียน การสอน และการทำวิจัย 2.5.1 การให้บริการวิชาการแก่หน่วยงานภายใน 2.5.1.1 กิจกรรม English through cooking by Duo Chefs วันศุกร์ที่ 6 พฤศจิกายน 2563 ณ ณ ห้อง EDU BAR ชั้น 1 คณะศิลปศาสตร์ ร่วมกับสำนักงานพัฒนา ทรัพยากรบุคคล จัดกิจกรรม English through cooking by Duo Chefs โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่ง เสริมและพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษผ่านการ 54
2.5.1.2 กิจกรรม English through cooking (LLO) และ 2. การสร้าง Constructive Alignment by Duo Chefs ซึ่งเชื่อมโยงระหว่างผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcome) วิธีการวัดผล (Assessment Method) วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤศจิกายน 2563 ณ ห้อง การดำเนินการเรียนรู้ (Learning Approaches) รวม EDU BAR ชั้น 1 คณะศิลปศาสตร์ ร่วมกับสำนักงาน ถึงการจัดการศึกษาแบบมุ่งผลลัพธ์ (Outcome- พัฒนาทรัพยากรบุคคล จัดกิจกรรม English based Education : OBE) through cooking by Duo Chefs โดย วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษผ่านการทำอาหารในเมนู Spinach and Cheese Baked และได้รับเกียรติจาก อาจารย์ วิชัย กฤตประโยชน์ อาจารย์กรรชงค์ กฤตประโยชน์ ดร.ปุณยภา แสงศรี และดร.พนิตพิมพ์ โศจิศิริกุล อาจารย์ประจำคณะศิลปศาสตร์ ร่วมให้ความรู้ภาษา อังกฤษผ่านการทำกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยการเรียนรู้ชื่อ วัตถุดิบ ขั้นตอนการทำ และเทคนิคการประกอบ อาหาร 2.5.1.3 กิจกรรม\"หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพ ของอาจารย์ให้มีสมรรถนะด้านออกแบบหลักสูตร และรายวิชาตามแนวทางการจัดการศึกษาแบบมุ่ง ผลลัพธ์ (Outcome-based Education)\" สำนักวิชาศึกษาทั่วไป คณะศิลปศาสตร์ จัดกิจกรรม หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพของอาจารย์ให้มี สมรรถนะด้านออกแบบหลักสูตรและรายวิชาตาม แ น ว ท า ง ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า แ บ บ มุ่ ง ผ ล ลั พ ธ์ (Outcome-based Education)\" ระยะเวลาดำเนิน โครงการ ทั้งสิ้น 4 เดือน โดย รุ่นที่ 1 จัดในช่วงเดือน กันยายน - ธันวาคม 2564 และรุ่นที่ 2 จัดในช่วง เดือนมกราคม - เมษายน 2565 ประกอบด้วย กิจกรรม คือ 1. การเขียนผลลัพธ์การเรียนรู้ในระดับ หลักสูตร (PLO) รายวิชา (CLO) กิจกรรมในรายวิชา 55
2.5.1.4 กิจกรรมเวทีสนทนา \"ปรับ Mindset 2.5.2 การให้บริการวิชาการแก่หน่วยงาน การประเมินผล ค้นพบวิธีพัฒนาผู้เรียนทุกคน\" ภายนอก วันอังคารที่ 26 มกราคม 2564 คณะศิลปศาสตร์ 2.5.2.1 กิจกรรม “ESS Webinar อุบัติภัยสาร จัดกิจกรรมเวทีสนทนา เรื่อง \"ปรับ Mindset เคมี โรงงานในซอยกิ่งแก้ว: ความเสี่ยงอยู่ที่ไหน การประเมินผล ค้นพบวิธีพัฒนาผู้เรียนทุกคน\" อยู่ที่ใคร แล้วเราจะไปต่อกันอย่างไร” ในรูปแบบ Virtual ผ่านระบบ Zoom เวลา 10.00- 12.00 น. โดยได้รับเกียรติจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วันพฤหัสบดีที่ 8 กรกฎาคม 2564 คณะศิลปศาสตร์ ดร.พิเชษฐ์ พินิจ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนุศิษฏ์ โดยหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา อันมานะตระกูล คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและ สังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อมได้จัดกิจกรรม “ESS Webinar เทคโนโลยี และอาจารย์สุรพล ธรรมร่มดี ที่ปรึกษา อุบัติภัยสารเคมี โรงงานในซอยกิ่งแก้ว : ความเสี่ยงอยู่ ของสำนักงานวิชาศึกษาทั่วไป คณะศิลปศาสตร์ ที่ไหน อยู่ที่ใคร แล้วเราจะไปต่อกันอย่างไร” มาร่วมแลกเปลี่ยนแนวคิดการบรรยายในครั้งนี้ ในรูปแบบ Virtual ผ่านระบบ Zoom และ Facebook Live เวลา 19.00-20.30 น. โดยได้เชิญผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะด้าน 3 ท่าน คือ อาจารย์สนธิ คชวัฒน์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ชมรม นักวิชาการสิ่งแวดล้อมไทย อาจารย์สมพร เพ็งค่ำ ผู้เชี่ยวชาญด้าน Community-led Health Impact Assessment และ ดร.ศิรินันต์ สุวรรณโมลี อาจารย์ประจำหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและการจัดการภัยพิบัติ) มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาสนันท์ อัศวรักษ์ เป็นผู้ดำเนินรายการ 56
2.5.2.2 กิจกรรม Forum “Language MOOC: 2.5.2.3 กิจกรรม FORUM “Attention and What Teachers Need to Know” executive control across linguistic and non-linguistic domains” วันจันทร์ที่ 19 ตุลาคม 2564 คณะศิลปศาสตร์ ได้จัดกิจกรรม Forum “Language MOOC: What วันจันทร์ที่ 16 พฤศจิกายน 2564 คณะศิลปศาสตร์ Teachers Need to Know” ณ ห้อง SoLA 901 ได้จัดกิจกรรม FORUM“Attention and executive คณะศิลปศาสตร์ และในรูปแบบ Virtual ผ่านระบบ control across linguistic and non-linguistic Zoom เวลา 13.30-15.00 น. โดยได้รับเกียรติจาก domains” ณ ห้อง SoLA 905 คณะศิลปศาสตร์ คุณณภัทร จิตไพศาลวัฒนา มาเป็นวิทยากรในการ และในรูปแบบ Virtual ผ่านระบบ Zoom เวลา บรรยายในครั้งนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดโลกทัศน์ 13.30-15.00 น. โดยได้รับเกียรติจาก ดร.ศิรวัจน์ และมุมมองด้านการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและ อิทธิภูริพัฒน์ มาเป็นวิทยากรในการบรรยายในครั้งนี้ กว้างขวางให้แก่บุคลากร นักศึกษา รวมถึงบุคคล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดโลกทัศน์และมุมมองด้าน ภายนอกที่สนใจ การเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและกว้างขวางให้แก่บุคลากร นักศึกษา รวมถึงบุคคลภายนอกที่สนใจ 57
2.5.2.4 โครงการพัฒนาสมรรถนะผู้ประกอบการ 2.5.2.5 โครงการพัฒนาสมรรถนะผู้ประกอบการ ในแขวงบางมด กิจกรรมการอบรมพัฒนาศักยภาพ ในแขวงบางมด กิจกรรมการอบรมพัฒนาศักยภาพ เรื่อง “การตลาดออนไลน์” เรื่อง “เทคนิคการสื่อสารและการนำเสนอสินค้า” วันเสาร์ที่ 28 สิงหาคม 2564 คณะศิลปศาสตร์ วันจันทร์ที่ 30 สิงหาคม 2564 คณะศิลปศาสตร์ และศูนย์กลยุทธ์และความสามารถทางการแข่งขัน และศูนย์กลยุทธ์และความสามารถทางการแข่งขัน องค์กร (STECO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี องค์กร (STECO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี ร่วมกับสำนักงานเขตทุ่งครุ พระจอมเกล้าธนบุรี ร่วมกับสำนักงานเขตทุ่งครุ ภายใต้โครงการพัฒนาสมรรถนะผู้ประกอบการใน ภายใต้ โครงการพัฒนาสมรรถนะผู้ประกอบการใน แขวงบางมด จัดกิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพ ใน แขวงบางมด จัดกิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพ ใน หัวข้อ “การตลาดออนไลน์” ในรูปแบบ Virtual ผ่าน หัวข้อ “เทคนิคการสื่อสารและการนำเสนอสินค้า” ระบบ Zoom เวลา 09.00-16.00 น. โดยได้รับ ในรูปแบบ Virtual ผ่านระบบ Zoom เวลา 09.00- เกียรติจากคุณณรงค์ยศ มหิทธิวาณิชชา ผู้ร่วมก่อตั้ง 16.00 น. โดยได้รับเกียรติจาก รองศาสตราจารย์ ดร. และประธานบริษัท TWF Agency เป็นวิทยากรใน วรรณภา ตระกูลเกษมสุข เป็นวิทยากรในครั้งนี้ โดย ครั้งนี้ โดยเป็นการถ่ายทอดความรู้และกรณีศึกษาใน เป็นการถ่ายทอดความรู้และกรณีศึกษาเกี่ยวกับ พื้นฐานการตลาดดิจิทัล การตั้งเป้าหมายในการตลาด เทคนิคการสื่อสารและการนำเสนอสินค้า อาทิ ดิจิทัลมีกิจกรรมระดมสมองร่วม Workshop และ เทคนิคการเล่าเรื่อง Story Telling การถ่ายทอด แลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างวิทยากรกับ ความรู้ นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมระดมสมองร่วม ผู้เข้าอบรม Workshop และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่าง วิทยากรกับผู้เข้าอบรมและผู้เข้าอบรมด้วยกันเอง 58
ในปีงบประมาณ 2564 คณะศิลปศาสตร์ได้ให้บริการวิชาการแก่หน่วยงานทั้งภายในและภายนอก มหาวิทยาลัยฯ เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและให้ความรู้ในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการให้ ความรู้และให้ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน ด้านการพัฒนาแผนกลยุทธ์ การจัดการเรียนการสอน การจัดการทักษะการเรียนรู้ การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา การเป็นผู้ทรงคุณวุฒิในการวิพากษ์ หลักสูตร และการวัดประเมินโครงการพัฒนาบุคลากร ทั้งที่เป็นโครงการใหม่และโครงการต่อเนื่อง ฯลฯ จำนวนทั้งสิ้น 30 โครงการ 59
เป้าประสงค์ที่ 3 คณะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ มีคุณภาพ ประชาคมเป็นสุข และมีธรรมาภิบาล เป้าประสงค์ที่ 4 คณะมีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและรักษ์สิ่งแวดล้อม คณะศิลปศาสตร์มุ่งพัฒนาองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการอย่างมี ธรรมาภิบาลในทุกมิติ เพื่อจะก้าวสู่องค์กรที่มีคุณภาพ บุคลากรทำงานร่วมกันโดยเป็นประชาคมที่เป็นสุข ปรับ โครงสร้างองค์กรโดยอาศัยรูปแบบการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน พร้อมกับการพัฒนาบุคลากรในด้านต่าง ๆ ให้มีสุขภาวะที่ดีและมีความสุขในการทำงานร่วมกัน มีคุณภาพและความภาคภูมิใจในตนเองและองค์กร ตอบสนองต่อการพัฒนา สร้างการมีส่วนร่วมและปลูกจิตสำนึกรักองค์กร และปรับเปลี่ยนทัศนคติเพื่อเตรียม ความพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันและเป้าประสงค์ของมหาวิทยาลัย คณะศิลปศาสตร์มุ่งพัฒนาการ บริหารจัดการเพื่อประสิทธิภาพและรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยได้นำหลักธรรมาภิบาล มาใช้เป็นแนวปฏิบัติในการ ดำเนินงานอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม มีความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ 3.1 การพัฒนาบุคลากร คณะศิลปศาสตร์ ให้ความสำคัญกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดยการส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรได้ รับการพัฒนาทักษะ เพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ เพื่อให้บุคลากรเป็นผู้ที่มีความสามารถ ในการเรียนรู้ และนำองค์ความรู้มาใช้พัฒนาตนเองได้อย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ เป็นผู้ที่มีความ เชี่ยวชาญในวิชาชีพ เพื่อสร้างความเข้มแข็งและสนับสนุนการบริหารจัดการของคณะฯ ให้มีสมรรถนะที่สามารถ เทียบเคียงกับคู่แข่งได้อย่างมีประสิทธิภาพ 60
3.1.1 กิจกรรมสุนทรียสนทนา “อธิการพบ บุคลากรสายวิชาการรุ่นใหม่” วันพฤหัสบดีที่ 4 มีนาคม 2564 คณะศิลปศาสตร์ ได้จัดกิจกรรมสุนทรียสนทนา “อธิการพบบุคลากร สายวิชาการรุ่นใหม่” ให้แก่บุคลากรสายวิชาการ จำนวน 21 คน โดยเรียนเชิญ รองศาสตราจารย์ ดร. สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี มาพูดคุยกับบุคลากร และเปิด โอกาสให้บุคลากรของคณะฯ ได้รับทราบนโยบาย ทิศทางการขับเคลื่อนภารกิจของมหาวิทยาลัยในด้าน ต่าง ๆ รวมทั้งได้แลกเปลี่ยนมุมมองการทำงาน กับผู้บริหารระดับสูงสุดของมหาวิทยาลัยฯ อีกทั้งยัง เป็นประโยชน์ในการวางแผนและพัฒนาการทำงาน ของบุคลากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.1.2 การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “ภารกิจ และบทบาทของศูนย์พัฒนาสมรรถนะสากล (GCDC)” วันเสาร์ที่ 3 เมษายน 2564 คณะศิลปศาสตร์ได้ จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “ภารกิจและบทบาทของ ศูนย์พัฒนาสมรรถนะสากล (GCDC)” ให้แก่บุคลากร ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานด้านการพัฒนาศักยภาพ นักศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจ เกี่ยวกับเป้าหมาย พันธกิจ และร่วมกำหนดบทบาท หน้าที่ในการดำเนินงานของศูนย์พัฒนาสมรรถนะ สากล (GCDC) โดยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกับ บุคลากรจากสำนักงานวิชาศึกษาทั่วไป (GenEd) และ กลุ่มงานเทคโนโลยีการเรียนรู้ (EdTech) ทั้งนี้เพื่อให้ เกิดการทำงานแบบบูรณาการ โดยมีเป้าหมายหลักใน การพัฒนาสมรรถนะนักศึกษา มจธ. ร่วมกัน 61
3.1.3 Language Teaching Forum 3.2.1 งานแสดงมุทิตาจิตแด่ผู้เกษียณอายุราชการ “Teachers Professional Development: ประจำปี 2564 Creating and Using Practical Knowledge” วันจันทร์ที่ 27 กันยายน 2564 คณะศิลปศาสตร์ วันจันทร์ที่ 20 กันยายน 2564 คณะศิลปศาสตร์ ได้จัดงานแสดงมุทิตาจิตแด่ นางเตือนจิต ตรีมงคล ได้จัดกิจกรรม Language Teaching Forum ผู้เกษียณอายุราชการประจำปี 2564 โดยมี “Teachers Professional Development: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศิธร สุวรรณเทพ คณบดี Creating and Using Practical Knowledge ในรูป คณะศิลปศาสตร์ เป็นประธาน และได้เรียนเชิญ แบบ Virtual ผ่านระบบ Zoom เวลา 13.30- รองศาสตราจารย์ ดร.พรนภิส ดาราสว่าง รองอธิการบดี 16.30 น. โดยได้รับเกียรติจาก Prof.Kenan Dikilitas ฝ่ายพัฒนาความเป็นสากล ร่วมงานในครั้งนี้ ซึ่งงานจัด จาก Faculty of Arts and Education, University ในรูปแบบ New normal และได้มีการมอบของที่ระลึก of Stavanger, Norway มาเป็นวิทยากรใน จากตัวแทนหน่วยงาน ตลอดจนผู้เกษียณได้กล่าว การบรรยายครั้งนี้ แสดงความรู้สึกถึงการทำงานที่ผ่านมา บรรยากาศ ภายในงานเต็มไปด้วยความอบอุ่นและสร้างความ ประทับใจเป็นอย่างยิ่ง 3.2 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม คณะศิลปศาสตร์มีบทบาทหลักที่มหาวิทยาลัย คาดหวัง ให้เป็นหน่วยงานที่สนับสนุนการอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทย ซึ่ง แผนกลยุทธ์ของคณะฯ ยังคงมุ่งเน้นพันธกิจนี้ โดย สนับสนุนให้บุคลากรทุกระดับและนักศึกษาได้ เข้าร่วมกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้บุคลากรและ นักศึกษามีจิตสำนึกในการร่วมอนุรักษ์ รู้สึกหวงแหน และเห็นคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ท้องถิ่นของไทย 62
3.2.2 พิธีปัจฉิมนิเทศให้แก่บัณฑิตใหม่คณะศิลปศาสตร์ ปีการศึกษา 2562 วันเสาร์ที่ 7 พฤศจิกายน 2563 คณะศิลปศาสตร์ ได้จัดงานพิธีปัจฉิมนิเทศให้แก่บัณฑิตใหม่ คณะศิลปศาสตร์ ปีการศึกษา 2562 ในระดับบัณฑิตศึกษา จำนวน 18 ท่าน เนื่องในโอกาสวันพระราชทานปริญญาบัตรประจำปี การศึกษา 2562 ซึ่งถือเป็นประเพณีที่ได้ทำต่อเนื่องกันมาทุกปี โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศิธร สุวรรณเทพ คณบดีคณะศิลปศาสตร์ กล่าวแสดงความยินดีต่อบัณฑิตใหม่ รวมทั้งคณาจารย์ประจำหลักสูตร ตัวแทนศิษย์เก่า ร่วมแสดงความยินดีและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่มหาบัณฑิตก่อนออกไปทำงาน และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข โดยมีนักศึกษาปัจจุบันมาร่วมถ่ายรูปแสดงความยินดีกับเหล่าบัณฑิตใหม่ 3.3 การส่งเสริมการรักษาสิ่งแวดล้อม คณะศิลปศาสตร์ได้จัดโครงการต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการรักษาสิ่งแวดล้อม ได้แก่ โครงการลดขยะพลาสติก การใช้กล่องข้าวแทนกล่องโฟม โครงการประหยัดพลังงาน เช่น รณรงค์ให้เปิดเครื่องปรับอากาศในเวลา 9.00 น. โดยตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศที่ 25 องศาเซลเซียส การเดินขึ้นบันไดแทนการใช้ลิฟท์ การปิดไฟภายในห้อง หากไม่มีผู้ใช้งานในช่วงเวลา 12.00 -13.00 น. การปิดหน้าจอคอมพิวเตอร์เมื่อไม่ใช้งาน หรือปิดคอมพิวเตอร์ เมื่อไม่ใช้งานเกิน 1 ชั่วโมง เป็นต้น 63
บทที่ 3 การประกันคุณภาพการศึกษา คณะศิลปศาสตร์ได้ดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาใน 2 ระดับ คือ ระดับคณะฯ ดำเนินการตามเกณฑ์ คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ (Education Criteria for Performance Excellence : EdPEx) และระดับหลักสูตร ดำเนินการประเมินการบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดโดย สกอ. (องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐานหลักสูตร) และการพัฒนาคุณภาพของหลักสูตรตามเกณฑ์ AUN- QA (ASEAN University Network Quality Assurance) ซึ่งในปีงบประมาณ 2564 คณะฯ มีผลการดำเนิน การประกันคุณภาพใน 2 ระดับดังนี้ 1. การดำเนินงานตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx) คณะศิลปศาสตร์ได้ดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะฯ โดยใช้เกณฑ์คุณภาพการศึกษา เพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx) ด้วยเชื่อว่าการบริหารคุณภาพตามแนวทาง EdPEx จะช่วยปรับปรุงและ พัฒนาการทำงานของคณะฯ ให้เป็นระบบมากขึ้น และจะทำให้เกิดประสิทธิภาพการทำงาน รวมถึงการ ยกระดับขีดความสามารถและกระบวนการเรียนรู้ทั้งของบุคลากรให้สามารถปรับตัวท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง ที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว และสามารถดำเนินงานตามพันธกิจหลักของคณะฯ ให้สอดคล้องตรงกับความต้องการ และความคาดหวังจากผู้ประกอบการ ผู้ใช้บัณฑิต ผู้ปกครอง และสังคม คณะศิลปศาสตร์ได้เริ่มนำการบริหารคุณภาพตามแนวทาง EdPEx มาใช้ตั้งแต่ปี 2559 และในปี 2564 ได้ดำเนินการดังนี้ 64
1.1 ดำเนินการแก้ไข ปรับปรุง เพิ่มเติม การจัด 1.2.2 การเข้ารับการให้คำปรึกษาจากสำนักงาน ทำโครงร่างองค์กร OP (Organization Profile) ประกันคุณภาพ มจธ. และการจัดทำรายงานการ และรายงานการประเมินตนเอง ระดับคณะฯ ประเมินตนเอง ระดับคณะฯ เพื่อให้ทราบสถานะการดำเนินงานของคณะฯ วันพุธที่ 8 กันยายน 2564 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ในปัจจุบัน และการเปลี่ยนแปลงหลายประการ ศศิธร สุวรรณเทพ คณบดีคณะศิลปศาสตร์ รวมทั้ง ที่ส่งผลต่อสภาพการณ์ของคณะศิลปศาสตร์ ทีมบริหาร ประกอบด้วย รองคณบดีฝ่ายบริหาร ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพ ฯลฯ เข้ารับการให้ 1.2 ดำเนินการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับเกณฑ์ คำปรึกษาจากสำนักงานประกันคุณภาพ มจธ. ผ่าน คุณภาพการศึกษา สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศให้แก่บุคลากรภายใน คณะฯ ในปีงบประมาณ 2564 คณะศิลปศาสตร์ได้ ดำเนินงานตามแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตาม แนวทาง EdPEx ดังนี้ 1.2.1 การร่วมฟังการประชุมเชิงปฏิบัติการ “ก้าวใหม่สู่การใช้เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการ ดำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx)” วันจันทร์ที่ 23 ถึงวันอังคารที่ 24 สิงหาคม 2564 รองคณบดีฝ่ายบริหาร ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกัน คุณภาพ และบุคลากรสายสนับสนุนที่เกี่ยวข้อง เข้า ร่วมรับฟังการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ก้าวใหม่สู่ การใช้เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่ เป็นเลิศ (EdPEx)” จัดโดยสำนักงานปลัดกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ผ่าน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อจะได้นำไปใช้เป็นแบบอย่าง หรือประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงกระบวนการและ ผ ล ลั พ ธ์ ก า ร ดำ เ นิ น ง า น แ ล ะ บ ริ ห า ร อ ง ค์ ก ร ใ ห้ ประสบความสำเร็จ รวมทั้งเพื่อเป็นแรงกระตุ้น ให้หน่วยงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพสู่ความ เป็นเลิศอย่างต่อเนื่องและจริงจัง ซึ่งจะส่งผลต่อ การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศต่อไป 65
2. การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร คณะศิลปศาสตร์ได้ดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร โดยการตรวจประเมินการ บริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดโดย สกอ. (องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐานหลักสูตร) และการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) เพื่อเตรียมความพร้อมการขอรับการประเมิน คุณภาพการศึกษาตามแนวทางของเกณฑ์ AUN-QA 2.1 การเข้ารับการประเมินคุณภาพระดับหลักสูตร การกำกับมาตรฐานหลักสูตร) โดยการใช้ระบบ ในรูปแบบ Desktop + Round Table Assessment สนับสนุนการตรวจองค์ประกอบที่ 1 ซึ่งทาง หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษา สำนักงานพัฒนาการศึกษาและบริการ มจธ. เป็น อังกฤษเพื่อการสื่อสารในวิชาชีพและนานาชาติ ผู้ออกแบบและนำมาใช้ในการประเมินครั้งนี้ ในช่วง (หลักสูตรนานาชาติ) ประจำปีการศึกษา 2562 เดือน กรกฎาคม – สิงหาคม 2564 จำนวน 4 หลักสูตร คือ วันศุกร์ที่ 31 ตุลาคม 2563 คณะศิลปศาสตร์ ได้เข้ารับการประเมินฯ จากคณะกรรมการการ 1) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา ประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ในรูปแบบ ภาษาศาสตร์ประยุกต์ ด้านการสอนภาษาอังกฤษ Desktop + Round Table Assessment ตาม (หลักสูตรนานาชาติ) แนวทางเกณฑ์ของ AUN-QA ของหลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อ 2) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสื่อสารในวิชาชีพและนานาชาติ (หลักสูตร ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ เ พื่ อ ก า ร สื่ อ ส า ร ใ น วิ ช า ชี พ แ ล ะ นานาชาติ) โดยมีการสัมภาษณ์ทีมกำกับดูแลที่ น า น า ช า ติ ( ห ลั ก สู ต ร น า น า ช า ติ ) เกี่ยวข้องกับหลักสูตร เพื่อให้ได้ข้อมูลเพิ่มเติมที่เป็น ประโยชน์ต่อการปรับปรุงหลักสูตร และกำหนด 3) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา เป้าหมายในการเข้ารับการประเมินแบบ Desktop + สังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อม Site Visit Assessment อีกครั้งภายใน 2 ปี 4) หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาศาสตร์ประยุกต์ (หลักสูตรนานาชาติ) 2.2 การตรวจประเมินการบริหารจัดการ หลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดโดย สกอ. (องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐานหลักสูตร) ในปีการศึกษา 2563 คณะศิลปศาสตร์ได้รับการ ตรวจประเมินการบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์ มาตรฐานที่กำหนดโดย สกอ. (องค์ประกอบที่ 1 66
ผลการตรวจประเมินองค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐานหลักสูตร ในปีการศึกษา 2563 พบว่า ทั้ง 4 หลักสูตรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 2.3 การประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) เพื่อเตรียมความพร้อมการขอรับการ ประเมินคุณภาพการศึกษาตามแนวทางของเกณฑ์ AUN-QA ในปี พ.ศ. 2564 คณะศิลปศาสตร์ได้จัดทำรายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2563 จำนวน 4 หลักสูตร ผลการประเมินรายงานการประเมินตนเองมีดังนี้ 2.3.1 หลักสูตรที่ขอพิจารณาความพร้อมของหลักสูตรในการกำหนดรูปแบบการประเมินคุณภาพการศึกษา ภายใน ระดับหลักสูตรตามแนวทางของเกณฑ์ AUN-QA จำนวน 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ประยุกต์ (หลักสูตรนานาชาติ) ซึ่งได้รับการตรวจประเมินแบบ Desktop Table Assessment ผลการพิจารณาจากสำนักงานพัฒนาการศึกษาและบริการ (EDS) มีข้อสังเกตดังนี้ ตารางที่ 3.1 แสดงผลการพิจารณาจากสำนักงานพัฒนาการศึกษาและบริการ (EDS) ข้อ เกณฑ์ ข้อสังเกต 1. ความพร้อมของหลักสูตร หลักสูตรเริ่มมีการอธิบายการดำเนินงานของหลักสูตรตามเกณฑ์ AUN-QA โดยส่วนใหญ่แสดงให้เห็นในรูปแบบของกิจกรรม - PLO และ Sub PLO ที่นำเสนอมีความเป็นรูปธรรมสามารถสังเกต 2. SAR นำเสนอ PLO ที่แสดงออกเป็น และประเมินผลได้ (SAR หน้าที่ 2-3) รูปธรรมและสามารถวัดและประเมินผลได้ - PLO และ Sub PLO มีการแบ่งกลุ่ม Generic Outcomes และ Specific Outcomes (SAR หน้าที่ 3) - หลักสูตรมีกิจกรรมการเลือกข้อมูลจากกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้ใช้บัณฑิต ศิษย์เก่า นักศึกษา อาจารย์และนักวิจัยในศาสตร์และ 3. SAR นำเสนอกระบวนการการได้มาซึ่ง บุคลากรสายสนับสนุน รวมถึงผลการประเมินคุณภาพภายใน PLO ที่คำนึงถึงประเด็นต่าง ๆ ที่ ระดับหลักสูตรครั้งที่ผ่านมา (SAR หน้าที่ 4) เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ผู้เรียนควรรู้และพึง - ทุก ๆ ปี`หลักสูตรมีกระบวนการประเมินตนเอง ซึ่งจะมีการทวนสอบ ปฏิบัติได้ภายหลังจบการเรียนการสอน ความต้องการและความคิดเห็นของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อทำให้ จากหลักสูตร มั่นใจว่า PLOs ยังตรงตามที่ต้องการ (SAR หน้าที่ 4) - SAR ยังไม่แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า เมื่อหลักสูตรได้ข้อมูลจากผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียแล้ว หลักสูตรมีกระบวนการอะไรในการแปลความ ต้องการดังกล่าวมาเป็น PLOs 67
ตารางที่ 3.1 แสดงผลการพิจารณาจากสำนักงานพัฒนาการศึกษาและบริการ (EDS) (ต่อ) ข้อ เกณฑ์ ข้อสังเกต 4. SAR แสดงให้เห็น Constructive - จากการศึกษา SAR ในข้อ 4.2 พบว่าหลักสูตรนำเสนอกระบวนการ Alignment ที่ช่วยให้นักศึกษาบรรลุ Learning Outcomes ตั้งแต่การออกแบบ กระบวนการเรียนการสอนและการกำหนดกิจกรรมการเรียนรู้ (SAR หน้าที่ 10) แต่ไม่พบการ Alignment ระหว่าง Learning Outcomes กับกิจกรรมการเรียนการสอน - จากการศึกษา SAR ในข้อ 5.1 พบว่าหลักสูตรนำเสนอวิธีการ ประเมินผลเป็นรายบุคคล เพื่อทำให้มั่นใจว่านักศึกษาสามารถบรรลุ ELO ที่กำหนดไว้ (SAR หน้าที่ 12) แต่ไม่พบการ Alignment ระหว่าง Learning Outcomes กับกิจกรรมการวัดและประเมินผล 5. SAR แสดงข้อมูลสำคัญของหลักสูตร - หลักสูตรเริ่มมีการรายงานผลลัพธ์ที่สำคัญ ย้อนหลัง 1-3 ปี 6. SAR นำเสนอการดำเนินการเพื่อให้ - SAR ยังไม่แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่ามีกระบวนการนำข้อมูลผล เกิดการปรับปรุงกระบวนการสำคัญ การดำเนินการมาปรับปรุงกระบวนการสำคัญของหลักสูตร 2.3.2 หลักสูตรที่ยังไม่ถึงรอบเวลาเข้ารับการตรวจประเมินภายในตามแนวทางของเกณฑ์ AUN-QA มีจำนวน 3 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ประยุกต์ ด้านการสอนภาษาอังกฤษ (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในวิชาชีพและ นานาชาติ (หลักสูตรนานาชาติ) และหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อม 68
คณะผู้จัดทำรายงานประจำปี 2564 ที่ปรึกษา สุวรรณเทพ คณบดีคณะศิลปศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศิธร เทพสุริวงศ์ รองคณบดีฝ่ายวิชาการและประกันคุณภาพ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสาวลักษณ์ อาภานุทัต รองคณบดีฝ่ายบริหาร ดร.พรเลิศ บุญเสม ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อังคนา ผู้จัดทำ/ออกแบบปก/รูปเล่ม นักบริการการศึกษา นางสาวเพชราภรณ์ เฮมกลาง นักประชาสัมพันธ์ นางสาวปาริฉัตร เมืองประแก้ว ผู้ตรวจอักษร/เนื้อหา ประสงค์สุข อาจารย์ นางสาวสุพรรษา จันทรมณี นักวิเคราะห์แผนและงบประมาณ/ นางสาวสุภาพร รักษาการเลขานุการคณะฯ สนับสนุนข้อมูล หน่วยงานต่าง ๆ ภายในคณะศิลปศาสตร์ ได้แก่ กลุ่มวิชาภาษา กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ศูนย์การเรียนรู้แบบพึ่งตนเอง งานบริการสังคมและชุมชน งานวิจัย งานทดสอบ การวัดและประเมินผล สำนักงานคณบดี สำนักงานวิชาศึกษาทั่วไป Website : http://sola.pr.kmutt.ac.th/homesola/ Facebook : School of Liberal Arts, KMUTT - คณะศิลปศาสตร์, มจธ. 69
Search