Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ท่านาฏศัพท์ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ไทย

ท่านาฏศัพท์ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ไทย

Description: ท่านาฏศัพท์ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ไทย

Search

Read the Text Version

ทา่ นาฏศัพทภ์ าษาท่าทางนาฏศิลปไ์ ทย

คานา  หนงั สอื เลน่ น้ีมีเน้อื หาเกย่ี วกับ การพัฒนาหนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ ( E –Book )  เรอื่ ง ท่านาฏศัพท์ภาษาท่าทางนาฏศิลปไ์ ทย เพ่อื นาไปใช้เรียนรู้ ส่วนนกั เรยี นจะได้ทราบวิธีการเรยี นรู้การศึกษาคน้ ควา้ หาความหมาย ของภาษาท่านาฏยศพั ท์ทา่ ทางทางนาฏศิลปไ์ ทย เพ่อื นาไปใชใ้ นการเรียนรู้ ส่วนนกั เรยี นจะการจดั ทาหนังสอื เลม่ น้ขี ึน้ เพอ่ื ศึกษาความ พงึ พอใจของการใชห้ นงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-Book) เรอ่ื ง ทา่ นาฏศัพท์ภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ปไ์ ทย เพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้ ความ เขา้ ใจสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ได้ในการจัดการเรยี นการสอนต่อไป ผจู้ ัดทา นายวริ พงษ์ บตุ รวงั

สารบญั  นาฏยศพั ท์ หมายถงึ 1  \"นาฏย\" หมายถึง 2  \"ศพั ท์\" หมายถงึ 2  นามศัพท์ หมายถงึ 3  กริ ยิ าศัพท์ หมายถึง 3  ศัพทเ์ สรมิ หมายถงึ 4  ศัพทเ์ ส่ือม หมายถงึ 4  นาฏยศัพท์เบด็ เตล็ด หมายถึง 5  นาฏยภาษาหรือภาษาท่าทาง คอื 5  ประเภทของนาฏยศพั ท์ หมายถงึ 5

ความหมายของทา่ นาฏศัพท์ภาษาทา่ ทางนาฏศิลป์ไทย  นาฏยศพั ทท์ างนาฏศิลปแ์ ละทา่ ทางการแสดงออกมาทางสหี นา้ ทา่ ทางบุคลิกภาพทส่ี ่อื ถงึ ทา่ ทางตา่ งๆความหมายขอทา่ นัน้ ๆโดยไมใ่ ช้ เสยี งหรือพูดออกมาใช้สาหรบั การแสดงโขน ละคร และการตที า่ ทางนาฏศิลปไ์ ทย  นาฏยศพั ท์ หมายถึง ศัพท์ทีใ่ ช้เกย่ี วกบั ลักษณะทา่ รา ทใ่ี ช้ในการฝกึ หัดเพื่อแสดงโขน ละคร เปน็ คาทใี่ ชใ้ นวงการนาฏศลิ ป์ไทย สามารถ ส่อื ความหมายกนั ไดท้ กุ ฝา่ ยในการแสดงตา่ ง ๆ

อธิบายคาวา่ นาฏย : ศัพท์  \"นาฏย\" หมายถึง เก่ียวกับการฟ้อนรา เก่ยี วกับการแสดงละคร  \"ศพั ท์\" หมายถงึ เสียง คา คายากท่ตี ้องแปล เรอ่ื ง เม่ือนาคาสองคามารวมกัน ทาให้ไดค้ วามหมายขน้ึ มา การศึกษาทางดา้ นนาฏศลิ ป์ ไทย ไม่ว่าจะเปน็ การแสดงโขน ละคร หรือระบาเบ็ดเตลด็ ตา่ ง ๆ กด็ ี ทา่ ทางท่ีผ้แู สดงแสดงออกมาน้นั ยอ่ มมคี วามหมายเฉพาะ ย่งิ หากได้ ศึกษาอย่างดีแลว้ อาจทาให้เขา้ ใจในเร่อื งการแสดงมากย่งิ ขึน้ ทงั้ ในตวั ผู้แสดงเอง และผู้ทีช่ มการแสดงนน้ั ๆ ส่งิ ทเ่ี ข้ามาประกอบเป็น ท่าทางนาฏศิลป์ไทยน้นั ก็คือ เรือ่ งของนาฏยศัพท์ ซงึ่ แยกออกได้เป็นคาวา่ \"นาฏย\" กับคาว่า \"ศพั ท์\" ดังน้ี

นามศัพท์ : กิรยิ าศัพท์  ประเภทของนาฏยศัพท์ แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท คือ  1. นามศพั ท์ หมายถึง ศัพท์ทีเ่ รียกช่อื ท่ารา หรอื ชอ่ื ท่าท่ีบอกอาการกระทาของผูน้ ัน้ เช่น วง จบี สลบั มอื คลายมอื กรายมอื ฉายมอื ปาดมอื กระทบ กระดก ยกเท้า กา้ วเท้า ประเท้า ตบเท้า กระทุ้ง กะเทาะ จรดเทา้ แตะเท้า ซอยเท้า ขยั่นเทา้ ฉายเทา้ สะดุดเทา้ รวมเทา้ โย้ตวั ยกั ตวั ตไี หล่ กลอ่ มไหล่  2. กิริยาศัพท์ หมายถงึ ศัพทท์ ่ีใช้เรยี กในการปฏิบตั บิ อกอาการกริ ิยา ซง่ึ แบ่งออกเปน็ 2 ศัพท์

คาว่าศัพท์เสรมิ : ศัพทเ์ สื่อม  ศพั ท์เสริม หมายถึง ศัพท์ทใ่ี ช้เรยี กเพื่อปรับปรงุ ท่าทใี หถ้ ูกตอ้ งสวยงาม เช่น กนั วง ลดวง สง่ มอื ดึงมอื หักข้อ หลบศอก เปิดคาง กดคาง ทรงตวั เผน่ ตัว ดึงไหล่ กดไหล่ ดงึ เอว กดเกลยี วข้าง ทับตวั หลบเข่า ถีบเข่า แขง็ เขา่ กนั เข่า เปิดส้น ชักสน้  ศัพทเ์ ส่ือม หมายถึง ศพั ทท์ ใี่ ช้เรยี กช่อื ทา่ ราหรอื ทว่ งทขี องผูร้ าทีไ่ มถ่ กู ต้องตามมาตรฐาน เพ่อื ใหผ้ รู้ ารู้ตวั และแกไ้ ขทา่ ทขี องตนให้ดีขนึ้ เช่น วงล้า วงคว่า วงเหยียด วงหกั วงลน้ คอดื่ม คางไก่ ฟาดคอ เกรง็ คอ หอบไหล่ ทรุดตัว ขย่มตวั เหล่ียมล้า ราแอ้ ราลน ราเล้อื ย รา ล้าจงั หวะ ราหนว่ งจงั หวะ

นาฏยศัพทเ์ บ็ดเตลด็ นาฏยภาษาหรือภาษาท่าทาง ประเภทของนาฏยศัพท์  3. นาฏยศัพทเ์ บ็ดเตล็ด หมายถงึ ศพั ท์ต่าง ๆ ทีใ่ ช้เรียกในภาษานาฏศิลปน์ อกเหนือไปจากนามศัพทแ์ ละกริ ิยาศพั ท์ เชน่ จีบยาว จีบสนั้ ลักคอ เดนิ มอื เอยี งทางวง คนื ตวั ออ่ นเหลี่ยม เหลย่ี มล่าง แมท่ า ทา่ -ที ข้นึ ท่า ยืนเข่า ทลายท่า นายโรง พระใหญ่ - พระนอ้ ย นางกษัตริย์ นางตลาด ผูเ้ มยี ยนื เครื่อง และอน่ื ๆ  นาฏยภาษาหรือภาษาทา่ ทาง คอื เป็นการส่อื สารอยา่ งหนงึ่ ที่ท้งั ผู้ถา่ ยทอดสาร (ผรู้ า) และผู้รบั สาร (ผชู้ ม) จาเปน็ จะตอ้ งเข้าใจตรงกนั จงึ จะสามารถเขา้ ใจในความหมายของการแสดงออกนั้นไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง การถ่ายทอดภาษาด้วย การเคลือ่ นไหวของรา่ งกายน้ี ชาวสยามเราร้จู ักใช้และเขา้ ใจกนั มานานแลว้ จึงทาให้ภาษาการฟอ้ นรานพ้ี ัฒนาดว้ ย กระบวนการทางอารยธรรมจนกลายเป็น \"วจิ ติ รศิลป์\" ดังนน้ั อารยชนผูท้ จ่ี ะสามารถเขา้ ใจในภาษาทา่ ทางเหล่าน้กี ็ จะตอ้ งทาความเขา้ ใจใหต้ รงกบั ผรู้ าเสียก่อน จงึ จะสามารถดูละครราของไทย  ประเภทของนาฏยศพั ท์ หมายถงึ ศัพท์ท่เี รยี กช่อื ท่ารา หรือชอ่ื ท่าที่บอกอาการกระทาของผ้นู ัน้ เชน่ วง จบี สลบั มอื คลายมอื กรายมอื ฉายมือ ปาดมอื กระทบ กระดก ยกเท้า กา้ วเท้า ประเทา้ ตบเทา้ กระทงุ้ กะเทาะ จรดเทา้ แตะ เท้า ซอยเท้า ขยน่ั เทา้ ฉายเทา้ สะดดุ เทา้ รวมเท้า โยต้ วั ยักตวั ตไี หล่ กลอ่ มไหล่

รปู ภาพทา่ นาฏยศพั ทเ์ บื้องตน้

รปู ภาพทา่ นาฏยศพั ทเ์ บื้องตน้