Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบงานประวัติศาสตร์ ป.4

ใบงานประวัติศาสตร์ ป.4

Published by สุนันณ์ธิชา งามทรง, 2023-08-23 07:32:14

Description: ใบงานประวัติศาสตร์ ป.4

Search

Read the Text Version

ประวัติศาสตร์ ชื่อ-สกุล ....................................................................................................... ชั้น........................................... เลขที่............................................................ ครูผู้สอน...................................................................................................... โรงเรียน......................................... อำเภอ......................... จังหวัด...............

1 แบบทดสอบก่อนเรียน คำชี้แจง ให้นั กเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ช่วงเวลาคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตรงกับ ช่วง ค.ศ.ใด 6. บัดนี้โลกเข้าสู่ สหัสวรรษใหม่ คำว่า สหัสวรรษใหม่สัมพันธ์กับ ก. ค.ศ. 1801-ค.ศ. 1900 ข้อใด ข. ค.ศ. 1901-ค.ศ. 2000 ค. ค.ศ. 2001-ค.ศ. 2100 ก. สหัสวรรษที่ 3 ง. ค.ศ. 2101-ค.ศ. 2200 ข. พุทธศตวรรษที่ 21 ค. ระหว่าง พ.ศ. 2540-พ.ศ. 3540 ง. ระหว่าง ค.ศ. 1001-ค.ศ. 2000 2. ช่วงเวลาที่กรุงเทพฯ เฉลิมฉลอง 200 ปี ซึ่งตรงกับ 7. ช่วงเวลาระหว่าง พ.ศ. 2401-พ.ศ. 2500 อยู่ในช่วงพุทธ พ.ศ. 2525 อยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่เท่าไร ศตวรรษที่เท่าไร ก. พุทธศตวรรษที่ 23 ก. พุทธศตวรรษที่ 24 ข. พุทธศตวรรษที่ 24 ข. พุทธศตวรรษที่ 25 ค. พุทธศตวรรษที่ 25 ค. พุทธศตวรรษที่ 26 ง. พุทธศตวรรษที่ 26 ง. พุทธศตวรรษที่ 27 3. ทศวรรษ เป็นช่วงเวลาในรอบกี่ปี 8. คำบอกช่วงเวลาในข้อใด มีช่วงเวลายาวนานที่สุด ก. 10 ปี ก. 5 ปี ข. 90 ปี ข. 4 ทศวรรษ ค. 100 ปี ค. 3 ศตวรรษ ง. 900 ปี ง. 2 สหัสวรรษ 4. ศตวรรษ เป็นช่วงเวลาในรอบกี่ปี 9. ปี พ.ศ. 2552 นับเป็นปีที่เท่าไรในสหัสวรรษที่ 3 ก. 100 ปี ก. ปีที่ 7 ข. 500 ปี ข. ปีที่ 8 ค. 1,000 ปี ค. ปีที่ 9 ง. 2,000 ปี ง. ปีที่ 10 5. สหัสวรรษ เป็นช่วงเวลาในรอบกี่ปี 10. ปัจจุบันพระพุทธศาสนามีอายุเข้าสู่พุทธศตวรรษที่ 26 ก. 10 ปี หมายถึงช่วงเวลา พ.ศ. ใด ข. 100 ปี ก. พ.ศ. 2401-พ.ศ. 2500 ค. 1,000 ปี ข. พ.ศ. 2501-พ.ศ. 2600 ง. 2,000 ปี ค. พ.ศ. 2601-พ.ศ. 2700 ง. พ.ศ. 2701-พ.ศ. 2800 คะแนนที่ได้ คะแนนเต็ม 10

2 บทที่ 1 เวลา ช่วงเวลา วัน เวลา มีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตของคนเรา คือ ทำให้เรารู้ว่า เหตุการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นเมื่อใด ดังนั้น การบอกเล่าเหตุการณ์ในช่วงเวลาต่าง ๆ จึงจำเป็ นต้องใช้คำที่เกี่ยวกับ ช่วงเวลา เช่น ชั่วโมง วัน สัปดาห์ เดือน ปี วิธีการนับช่วงเวลาต่อจากปี ยังนับเวลาเป็ น ๒ ปี ๓ ปี ๔ ปี ๕ ปี ต่อไปเรื่อย ๆ แต่เมื่อ เวลาผ่านไปนานขึ้น การนับเวลาเช่นนี้จึงมีความยุ่งยากเกิดขึ้น เพราะมีจำนวนเลขที่บอก ช่วงเวลาเป็ นปีเพิ่มขึ้นเป็ นจำนวนมาก จึงได้มีการกำหนดช่วงเวลาออกเป็ น ๑๐ ปี ๑๐๐ ปี ๑,๐๐๐ ปี แล้วกำหนดเรียกว่า ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ ทศวรรษ ศตวรรษ ทศวรรษ อ่านว่า ทด-สะ-วัด หมายถึง ช่วงเวลา ๑๐ ปี การ ศตวรรษ อ่านว่า สะ-ตะ-วัด หมายถึง ช่วงเวลา นับทศวรรษมักใช้กับปีคริสต์ศักราชเป็ นหลัก โดยนับปีที่ ๑๐๐ ปี การนับศตวรรษ เริ่มนับปีที่ขึ้นต้นด้วย ขึ้นต้นด้วยเลข ๐ เป็ นปีแรกของทศวรรษ แล้วนับต่อไปจน เลข ๑ เป็ นปีแรกของศตวรรษ แล้วนับต่อไปจน สิ้นสุดที่เลข ๙ สิ้นสุดที่เลข ๑๐๐ เช่น ตัวอย่าง ทศวรรษ ๒๐๑๐ นั บตั้งแต่ ค.ศ. ๒๐๑๐ ไปจนถึง ค.ศ. ๒๐๑๙ พุทธศตวรรษ ดังนั้ น ทศวรรษ ๒๐๑๐ จึงเป็นช่วงเวลา ตั้งแต่ ค.ศ. ๒๐๑๐ ไปจนถึง ค.ศ. ๒๐๑๙ นับจากปีที่พระพุทธเจ้าปรินิพพานไปแล้ว ๑ ปี เป็ นปีที่ ๑ไปจนถึง ปีที่ ๑๐๐ เป็ นพุทธศตวรรษที่ ๑ สาระน่ ารู้ ตัวอย่างเช่น พุทธศตวรรษที่ ๒๕ หมายถึง ช่วงเวลาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๐๑ ถึง พ.ศ. ๒๕๐๐ พุทธศตวรรษที่ ๒๖ หมายถึง ช่วงเวลาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๐๑ ถึง พ.ศ. ๒๖๐๐ ปฏิทิน (Calendar) คริสศตวรรษ ปฏิทิน ถูกคิดค้นขึ้นครั้งแรก โดยชาวบาบิลอน เมื่อ นับจากปีที่พระเยซูประสูติเป็ นปีที่ ๑ ไปจนถึง ประมาณ ๒,๐๐๐ ปีก่อนคริสต์ศักราช ส่วนประเทศไทยมี ปีที่ ๑๐๐เป็ นคริสต์ศตวรรษที่ ๑ การพิมพ์ปฏิทินขึ้นครั้งแรกในสมัยพระบาทสมเด็จพระ ตัวอย่างเช่น นั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยสันนิษฐานว่าผู้ที่พิมพ์ คือ หมอบ รัดเลย์หรืออีกชื่อคือ หมอแดน บีช บรัดเลย์ คริสต์ศตวรรษที่ ๒ หมายถึง ช่วงเวลาตั้งแต่ ค.ศ. ๑๐๑ ถึง ค.ศ. ๒๐๐ คริสต์ศตวรรษที่ ๒๑ หมายถึง ช่วงเวลาตั้งแต่ ค.ศ. ๒๐๐๑ ถึง ค.ศ. ๒๑๐๐

3 สหัสวรรษ สหัสวรรษ อ่านว่า สะ-หัด-สะ-วัด หมายถึง ช่วงเวลา ๑,๐๐๐ ปี การนับสหัสวรรษเริ่มนับปีที่ขึ้นต้นด้วยเลข ๑ เป็ นปีแรกของสหัสวรรษ แล้วนับต่อไปจนสิ้นสุดที่เลข ๑,๐๐๐ เช่น สหัสวรรษของพุทธศักราช หรือพุทธสหัสวรรษ นับ สหัสวรรษของคริสต์ศักราช หรือคริสต์สหัสวรรษ จากปีที่พระพุทธเจ้าปรินิพพานไปแล้ว ๑ ปี เป็ นปีที่ ๑ นับจากปีที่พระเยซูประสูติเป็ นปีที่ ๑ ไปจนถึงปีที่ ไปจนถึงปีที่ ๑,๐๐๐ เป็ นสหัสวรรษที่ ๑ ของ พุทธศักราช ๑,๐๐๐ เป็ นสหัสวรรษที่ ๑ ของคริสต์ศักราช ตัวอย่างเช่น ตัวอย่างเช่น พุทธสหัสวรรษที่ ๑ เริ่มนับตั้งแต่ พ.ศ. ๑ ไปจนถึง คริสต์สหัสวรรษที่ ๑ เริ่มนับตั้งแต่ ค.ศ. ๑ พ.ศ. ๑๐๐๐ ดังนั้น พุทธสหัสวรรษที่ ๒ ของพุทธศักราช ไปจนถึง ค.ศ. ๑๐๐๐ ดังนั้น คริสต์สหัสวรรษที่ ๒ หมายถึง ช่วงเวลาตั้งแต่ พ.ศ. ๑๐๐๑ ถึง พ.ศ. ๒๐๐๐ ของคริสต์ศักราช หมายถึง ช่วงเวลาตั้งแต่ ค.ศ. ๑๐๐๑ ถึง ค.ศ. ๒๐๐๐ การใช้ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ เพื่อทำ ความเข้าใจช่วงเวลาในเอกสาร ในเอกสารต่าง ๆ เช่น หนังสือพิมพ์ วารสาร สารคดี เอกสาร-ประวัติศาสตร์ จะมีการบอกช่วงเวลาเป็ น ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ ปรากฏอยู่ การศึกษาเกี่ยวกับการใช้ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ ทำให้ทราบว่าเหตุการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นในช่วงเวลาใด ดังตัวอย่าง ตัวอย่าง หนังสือการขุดค้นทางโบราณคดีในอุทยานประวัติศาสตร์ สุโขทัยของกรมศิลปากร ระบุว่า วัดศรีสวาย สร้างขึ้นใน พุทธศตวรรษที่ ๑๘ เช่นเดียวกับศาลตาผาแดง และ โบราณสถานที่วัดพระพายหลวง (พุทธศตวรรษที่ ๑๘ หมายถึง ช่วงเวลาตั้งแต่ พ.ศ. ๑๗๐๑- ๑๘๐๐) พระสิงห์หลวง สาระน่ ารู้ วัดศรีสวาย พระสิงห์หลวง เป็ นพระประธานในพระอุโบสถ พุทธศั กราช หรือ พ.ศ. คือ ช่วงกำหนดเวลาซึ่งกำหนด เอาปีที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิ พพานเป็นเบื้องต้นใน ศิลปะล้านนา พุทธศตวรรษที่ 21 ปางมารวิชัย สำริด การกำหนดนั บ ซึ่งพุทธศักราชในประเทศไทยเริ่มนั บเมื่อ ปิ ดทอง หน้าตักกว้าง 2.04 เมตร สูงทั้งฐาน 2.84 เมตร พระพุทธเจ้าปรินิ พพานแล้ว ๑ ปี แต่ในประเทศเมียนมาและ ประดิษฐานอยู่ในพระอุโบสถมีพุทธลักษณะสง่างาม ประเทศกัมพูชาเริ่มนั บในปีที่พระพุทธเจ้าปรินิ พพาน ประณีต ที่ฐานมีจารึกอักษรธรรมล้านนาว่า “กุลลา ธมฺ มา อกุสลา ธมฺมา อพยากตา ธมฺมา” อันหมายถึง คริสต์ศั กราช หรือ ค.ศ. เริ่มศักราชที่ ๑ หรือ 1 A.D. (Anno Domino) เมื่อ พ.ศ. ๕๔๔ ซึ่งเป็นปีที่พระเยซูประสูติ ส่วนเวลาทาง ปริศนาธรรมระดับปรมัตถ์ในทางพระพุทธศาสนาที่ ประวัติศาสตร์ก่อนปีประสูติของพระเยซูจะนั บเป็นจำนวนปีก่อน คริสต์ศักราช เช่น ๕๔๓ ปีก่อนคริสต์ศักราช หรือ 543 B.C. ระบุว่า สภาวะธรรมทั้งปวงมี 3 ประเภท คือ (Before Christ) 1.ธรรมทั้งหลายที่เป็ น “กุศล” ก็มี 2. ธรรมทั้งหลายที่เป็ น “อกุศล” ก็มี 3. ธรรมทั้งหลายที่อยู่นอกเหนือจาก “กุศลและ อกุศล” ก็มี

4 ใบงาน เรื่อง เวลาและช่วงเวลา ทศวรรษ คำชี้แจง ให้นั กเรียนอ่านเรื่อง หมู่บ้านแสงตะวัน แล้วตอบคำถาม หมู่บ้านแสงตะวัน หมู่บ้านแสงตะวันเป็นหมู่บ้านเก่าแก่ที่เริ่มก่อสร้างมานานประมาณ 60 ปี มาแล้ว ตาชุ่มซึ่งเป็นผู้ที่ มีอายุ มากที่สุดในหมู่บ้านจะชอบเล่าเหตุการณ์สมัยที่ยังเป็นเด็กว่า พ่อแม่ของตาชุ่มพาตาชุ่มอพยพมาจากหมู่บ้านอื่นพร้อม กับเพื่อนอีกหลายคน ทุกคนช่วยกันสร้างบ้านหลายหลังจนกลายเป็นหมู่บ้านเล็กๆ ต่อมาอีกประมาณ 10 ปี ก็ช่วย กันสร้างวัดและนิมนต์พระสงฆ์ผู้ทรงคุณธรรมมาเป็นเจ้าอาวาส ต่อมาอีก 20 ปี ทางราชการก็สร้างโรงเรียนระดับ ประถมศึกษาให้ ต่อมาอีก 20 ปี ก็มีถนนลาดยางผ่านหน้าหมู่บ้าน มีน้ำประปา ไฟฟ้า ปัจจุบันนี้มีตลาดในหมู่บ้าน เป็นศูนย์รวมของชาวบ้านแสงตะวัน คำถาม 2.การสร้างวัดในหมู่บ้านแสงตะวันใช้เวลากี่ทศวรรษ หลังจากก่อสร้างหมู่บ้าน 1.หมู่บ้านแสงตะวันเริ่มก่อตั้งมาประมาณกี่ทศวรรษ ............................................................................................ ........................................................................................... ............................................................................................ ......................................................................................... 4.มีการสร้างถนนลาดยางผ่านหน้าหมู่บ้านหลังจาก 4.มีการสร้างโรงเรียนหลังจากก่อสร้างหมู่บ้านกี่ ก่อสร้างหมู่บ้านกี่ทศวรรษ ทศวรรษ ........................................................................................... ........................................................................................... ......................................................................................... ......................................................................................... ศตวรรษ คำชี้แจง ให้นั กเรียนบอกช่วงเวลาในเหตุการณ์ที่กำหนดให้

5

6 สหัสวรรษ คำชี้แจง ให้นั กเรียนหาคำหรือข้อความแสดงช่วงเวลาสหัสวรรษ จากสื่อต่างๆ แล้ว บันทึกลงในตาราง

7 ทบทวนความรู้ ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 สาระน่ ารู้ เอา 543 ลบ พ.ศ. เอา 543 บวก ค.ศ. ต้องการแปลง พ.ศ. เป็น ค.ศ. ต้องการแปลง ค.ศ. เป็น พ.ศ.

8

9

10

11 แบบทดสอบหลังเรียน คำชี้แจง ให้นั กเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ช่วงเวลาคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตรงกับ ช่วง 6. บัดนี้โลกเข้าสู่ สหัสวรรษใหม่ คำว่า สหัสวรรษ ค.ศ.ใด ใหม่สัมพันธ์กับข้อใด ก. ค.ศ. 1801-ค.ศ. 1900 ก. สหัสวรรษที่ 3 ข. ค.ศ. 1901-ค.ศ. 2000 ข. พุทธศตวรรษที่ 21 ค. ค.ศ. 2001-ค.ศ. 2100 ค. ระหว่าง พ.ศ. 2540-พ.ศ. 3540 ง. ค.ศ. 2101-ค.ศ. 2200 ง. ระหว่าง ค.ศ. 1001-ค.ศ. 2000 2. ช่วงเวลาที่กรุงเทพฯ เฉลิมฉลอง 200 ปี 7. ช่วงเวลาระหว่าง พ.ศ. 2401-พ.ศ. 2500 อยู่ใน ซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2525 อยู่ในช่วงพุทธ ช่วงพุทธศตวรรษที่เท่าไร ศตวรรษที่เท่าไร ก. พุทธศตวรรษที่ 24 ก. พุทธศตวรรษที่ 23 ข. พุทธศตวรรษที่ 25 ข. พุทธศตวรรษที่ 24 ค. พุทธศตวรรษที่ 26 ค. พุทธศตวรรษที่ 25 ง. พุทธศตวรรษที่ 27 ง. พุทธศตวรรษที่ 26 3. ทศวรรษ เป็ นช่วงเวลาในรอบกี่ปี 8. คำบอกช่วงเวลาในข้อใด มีช่วงเวลายาวนานที่สุด ก. 10 ปี ก. 5 ปี ข. 90 ปี ข. 4 ทศวรรษ ค. 100 ปี ง. 900 ปี ค. 3 ศตวรรษ ง. 2 สหัสวรรษ 4. ศตวรรษ เป็ นช่วงเวลาในรอบกี่ปี 9. ปี พ.ศ. 2552 นับเป็ นปีที่เท่าไรในสหัสวรรษที่ 3 ก. 100 ปี ก. ปีที่ 7 ข. 500 ปี ข. ปีที่ 8 ค. 1,000 ปี ค. ปีที่ 9 ง. 2,000 ปี ง. ปีที่ 10 5. สหัสวรรษ เป็ นช่วงเวลาในรอบกี่ปี 10. ปัจจุบันพระพุทธศาสนามีอายุเข้าสู่พุทธ ก. 10 ปี ศตวรรษที่ 26 ข. 100 ปี ค. 1,000 ปี หมายถึงช่วงเวลา พ.ศ. ใด ง. 2,000 ปี ก. พ.ศ. 2401-พ.ศ. 2500 ข. พ.ศ. 2501-พ.ศ. 2600 ค. พ.ศ. 2601-พ.ศ. 2700 ง. พ.ศ. 2701-พ.ศ. 2800 คะแนนที่ได้ คะแนนเต็ม 10

12 แบบทดสอบก่อนเรียน คำชี้แจง ให้นั กเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะการดำรงชีวิตของมนุษย์ยุคก่อน 6. ข้อใดเป็ นหลักฐานที่เป็ นลายลักษณ์อักษร ประวัติศาสตร์ ทั้งหมด ก. หาของป่ า ล่าสัตว์ ก. ศิลาจารึก พงศาวดาร ข. อาศัยอยู่ในถ้ำ เพิงผา ข. ขวานสำริด ศิลาจารึก ค. มีการดำเนินชีวิตที่เรียบง่าย ค. ภาพวาดผนังถ้ำ ลูกปัดหินสี ง. ใช้เทคโนโลยีในการเพาะปลูก ง. สมุดข่อย เครื่องปั้ นดินเผา 2. เกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่งยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์คือข้อใด 7. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับหลักฐานชั้นต้น ก. รูปแบบของตัวอักษรที่ใช้ ก. บันทึกจากคำบอกเล่าของผู้อยู่ในเหตุการณ์ ข. ลักษณะการสร้างที่อยู่อาศัย ข. ความน่าเชื่อถือน้อยกว่าหลักฐานชั้นรอง ค. วัสดุที่นำมาทำเครื่องมือเครื่องใช้ ค. บันทึกหลังจากเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นแล้ว ง. ลักษณะรูปร่างหน้าตาของมนุษย์ ง. เรียบเรียงข้อมูลจากหลักฐานชั้นรอง 3. เบ็ดตกปลาจากกระดูกสัตว์ แสดงให้เห็นวิถีชีวิตในด้านใด 8. ข้อใดเป็ นหลักฐานชั้นรอง ก. ที่อยู่อาศัย ก. ขวานหินขัด ข. การล่าสัตว์ ข. หลักศิลาจารึก ค. การเพาะปลูก ค. โครงกระดูกมนุษย์ ง. หนังสือประวัติศาสตร์สมัยกรุงศรีอยุธยา ง. การทำเครื่องประดับ 4. หลักฐานใดแสดงให้เห็นว่ามนุษย์มีความเจริญมากที่สุด 9. หลักฐานชั้นต้นในข้อใดที่ทำให้ทราบการ ก. รูปร่างโครงกระดูกมนุษย์ ดำเนิ นชีวิตของมนุษย์ในสมัยประวัติศาสตร์ไทย ข. เครื่องประดับจากโลหะ ค. เครื่องปั้ นดินเผา ก. หนังสือเรื่องกำเนิดมนุษย์ ง. ขวานหินขัด ข. ภาพวาดบนผนังถ้ำ ค. โครงกระดูกสัตว์ 5. ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยเริ่มขึ้นเมื่อใด ง. หลักศิลาจารึก ก. พบเครื่องมือขวานหินขัด ข. สถาปนากรุงสุโขทัยเป็ นราชธานี 10. การศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในภาค ค. พ่อขุนรามคำแหงมหาราชประดิษฐ์ อักษรไทย ต่าง ๆ มีประโยชน์ อย่างไร ง. การบันทึกของพ่อค้านักเดินทางสำรวจชาวโรมัน ก. รู้จักประวัติบุคคลสำคัญ ข. ทำให้รักประเทศชาติมากขึ้น ค. ใช้เป็ นแบบอย่างดำเนินชีวิต ง. เข้าใจวิถีการดำเนินชีวิตของมนุษย์ในอดีต คะแนนที่ได้ คะแนนเต็ม 10

13 บทที่ 2 ยุคสมัยและหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ยุคสมัยในการศึ กษาประวัติศาสตร์ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ เป็ นช่วงเวลาที่ยาวนาน ดังนั้น เพื่อความสะดวกในการศึกษาประวัติศาสตร์ นัก ประวัติศาสตร์และนักโบราณคดีจึงแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ โดยใช้เกณฑ์จากการที่มนุษย์รู้จักคิดประดิษฐ์ ตัวอักษรขึ้นมาใช้ แบ่งออกเป็ น ๒ สมัย ดังนี้ ยุคสมัยในการศึ กษาประวัติศาสตร์ ยังไม่พบตัวอักษร พบตัวอักษร สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยประวัติศาสตร์ ยุคหิน สมัยก่อนสุโขทัย ยุคหินเก่า สมัยสุโขทัย ยุคหินกลาง สมัยอยุธยา ยุคหินใหม่ สมัยธนบุรี ยุคโลหะ สมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์

14 สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ยุคสมัยที่มนุษย์ยังไม่ได้ประดิษฐ์ ตัวอักษรขึ้นมาใช้ การศึกษาเรื่องราวของผู้คนในยุคนี้จึงศึกษาจากเครื่อง มือเครื่องใช้ที่ส่วนใหญ่ทำจากหินหรือโลหะ นอกจากนี้ยังศึกษาจากโครงกระดูก ซากพืช ซากสัตว์ และถ้ำที่ อยู่อาศัย สมัยก่อนประวัติศาสตร์แบ่งยุคสมัยย่อยลงไป ได้แก่ ยุคหิน และยุคโลหะ ยุคหิน ยุคโลหะ ยุคที่มนุษย์นำหินมาประดิษฐ์ เป็ นเครื่องมือเครื่องใช้ ยุคที่มนุษย์นำโลหะมาประดิษฐ์ เป็ นเครื่องมือเครื่อง แบ่งตามลักษณะของเครื่องมือหินออกเป็ น ๓ ยุค ได้แก่ ใช้ และเครื่องประดับ เช่น สำริด เหล็ก ยุคหินเก่า ยุคหินกลาง ยุคหินใหม่ ยุคสำริด ยุคหินเก่า มนุษย์ในสมัยหินเก่ามีความเป็ น มนุษย์ใช้สำริดทำเป็ นเครื่องมือเครื่องใช้และอาวุธ อยู่แบบเร่ร่อน อาศัยอยู่ตามบริเวณถ้ำ สำริดเป็ นโลหะผสมระหว่างทองแดงกับโลหะอื่นๆ มีความ และเพิงผา เก็บของป่ าและออกล่าสัตว์ ก้าวหน้าในการหลอมโลหะ เครื่องมือเครื่องใช้มีความแข็ง ยุคหินกลาง เป็ นอาหาร เครื่องมือหินที่ใช้จะมี แรง เช่นขวาน หอก ภาชนะ กำไล ตุ้มหู ลูกปัด มนุษย์ ลักษณะหยาบๆ ใช้ทุบ ตัด หรือสับ สมัยโลหะอยู่รวมกันเป็ นชุมชน ทำการล่าสัตว์ การเพาะ ปลูก มีพิธีกรรม มนุษย์ยุคหินกลางรู้จักการตั้งถิ่นฐาน ภายนอกถ้ำ เครื่องมือเครื่องใช้ทำด้วย หินแต่มีความประณี ตมากขึ้น รู้จักทำศร ธนูล่าสัตว์ ทำขวานหิน ทำการเพาะปลูก จับปลา และปั้ นหม้อไหด้วยดินเหนียว ตากแห้ง ยุคหินใหม่ มนุษย์ในสมัยหินใหม่เริ่มตั้งหลักแหล่ง ยุคเหล็ก อยู่รวมกันเป็ นกลุ่มเล็กๆเริ่มทำการเพาะ ปลูกและเลี้ยงสัตว์ เครื่องมือหินที่ใช้มีการ มนุษย์มีความก้าวหน้าในการถลุงและหลอมเหล็ก นำ ขัดให้คม มีผิวเรียบ มีการปั้ นภาชนะดิน เหล็กมาทำเครื่องมือเครื่องใช้และอาวุธ เครื่องมือเหล็กมี เผาที่มีการตกแต่งให้สวยงามไว้ใช้ ความทนทานกว่าสำริด ทำให้การเกษตรมีความก้าวหน้า มากขึ้น มนุษย์สมัยโลหะอยู่รวมกันเป็ นชุมชน ทำการล่า สัตว์ การเพาะปลูก มีพิธีกรรม

15 สมัยประวัติศาสตร์ สมัยประวัติศาสตร์ คือ ยุคสมัยที่มนุษย์รู้จักคิดประดิษฐ์ ตัวอักษรขึ้นใช้เพื่อบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ อักษรคูนิฟอร์ม เป็ นตัว ศิลาจารึกเขาน้อย หลักฐานสมัยประวัติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุด อักษรที่ค้นพบว่าเก่าแก่ ที่สุดของชาวสุเมเรียนใน ที่พบในดินแดนไทย พบที่ ตำบลคลองน้ำใส ภูมิภาคตะวันออกกลาง อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว อักษรไฮโรกลิฟิ ก ประดิษฐ์ โดยชาวอียิปต์โบราณมีลักษณะเป็ นอักษรภาพ ใช้สลักเรื่องราวเกี่ยวกับองค์ฟาโรห์ ราชวงศ์ และกิจกรรมอันเกี่ยวข้องกับการปกครองและศาสนา ยุคสมัยที่ใช้ในการศึ กษาประวัติศาสตร์ไทย การศึกษาประวัติศาสตร์ไทย นักประวัติศาสตร์อาจใช้เหตุการณ์สำคัญในแต่ละช่วงเวลาของการเป็ นเมืองหลวง เป็ นเกณฑ์ในการแบ่งยุคสมัย คือ 1.สมัยก่อนสุโขทัย เริ่มจากปี ที่พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ขึ้นครองราชย์และ สถาปนาสุโขทัยเป็ นเมืองหลวงจนกระทั่งสุโขทัยถูก เริ่มต้นเมื่อมีการพบหลักฐานการใช้ตัวอักษรในดินแดน รวมเข้ากับอาณาจักรอยุธยา ประมาณ พ.ศ. ๑๗๙๒ ถึง ไทย ในพุทธศตวรรษที่ ๑๒ ของกลุ่มคนที่ตั้งถิ่นฐานเป็ น พ.ศ. ๒๐๐๖ บ้านเมือง แคว้นในแผ่นดินไทย แคว้นสำคัญ ได้แก่ ทวาร 2.สมัยสุโขทัย วดี หริภุญชัย ศรีวิชัย และตามพรลิงค์ 3.สมัยอยุธยา เริ่มจากปี ที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชขึ้นครอง ราชย์และสถาปนากรุงธนบุรีเป็ นเมืองหลวง จนถึงปี เริ่มจากปีที่สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจ้าอู่ทอง)ขึ้น สุดท้ายของรัชกาล ซึ่งเป็ นช่วงระหว่าง พ.ศ. ๒๓๑๐ ถึง ครองราชย์ และสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็ นเมืองหลวงจน พ.ศ. ๒๓๒๕ กระทั่งถึงปีที่กรุงศรีอยุธยาแตก ซึ่งเป็ นช่วงระหว่าง พ.ศ. ๑๘๙๓ ถึง พ.ศ. ๒๓๑๐ 4.สมัยธนบุรี วัดมหาธาตุในอุทยาน เริ่มจากปี ที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก ประวัติศาสตร์สุโขทัย มหาราช ขึ้นครองราชย์และสถาปนากรุงเทพมหานคร เป็ นหลักฐานที่แสดง เป็ นเมืองหลวง ซึ่งเป็ นช่วงระหว่าง พ.ศ. ๒๓๒๕ ถึง ให้เห็นถึงความเจริญ ปัจจุบัน รุ่งเรืองในสมัยสุโขทัย 5.สมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์

16 หลักฐานทางประวัติศาสตร์ การศึกษาประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็ นการศึกษาอดีตหรือเหตุการณ์ที่ผ่านไปแล้ว เราสามารถศึกษา เหตุการณ์ในอดีตได้โดยใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หรือหลักฐานทางโบราณคดี หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หมายถึง ร่องรอยที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งสามารถนำมาใช้เพื่อเป็ นข้อมูลในการ ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องราวในอดีต ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ 1.ลักษณะการบันทึก ซึ่งแยกได้เป็น 2 ประเภทคือ กฎหมายตราสามดวงเป็น ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนา เบ้าหลอมโลหะ พบที่บ้านเชียง คำบอกเล่าของผู้อยู่ใน โบราณสถานแสดงถึงความ ประมวลกฎหมายในรัชกาล ภิเษก เล่มที่ ๑๑ บันทึกเรื่องราว จังหวัดอุดรธานี เป็นหลักฐาน เหตุการณ์ หรือเคยได้ฟัง เจริญรุ่งเรืองของชุมชนในอดีต ที่ ๑ ที่ใช้บังคับให้ทุกคนใน ทางประวัติศาสตร์ของชาติไทย ที่แสดงถึงเครื่องมือของคนใน เรื่องราวมาก่อน สั งคมปฏิบัติตาม อดีต หลักฐานประเภทลายลักษณ์ อักษร หมายถึง หลักฐานที่ หลักฐานประเภทไม่เป็ นลายลักษณ์ อักษร ได้แก่ หลักฐานทาง เป็ นตัวหนังสือ เช่น หลักศิลาจารึก พงศาวดาร ตำนาน โบราณคดี ซึ่งให้ความรู้ เกี่ยวกับ โครงสร้างและวัฒนธรรม ซึ่งแบ่ง จดหมายเหตุ บันทึกความทรงจำ วรรณกรรม เอกสาร ย่อยได้เป็ น 2 ประเภทคือ ทางวิชาการ ชีวประวัติ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร บันทึกคำ (1) โบราณวัตถุ เช่น พระพุทธรูป เทวรูป สัญลักษณ์ทางศาสนา และเครื่องประดับ เครื่องมือ เครื่องใช้ ให้การหรือการสัมภาษณ์ และเอกสารราชการ หลักฐาน ประเภทนี้ นับเป็ น พื้นฐานที่สำคัญในการศึกษา (2) โบราณสถาน ได้แก่ สิ่งก่อสร้าง โดยฝีมือมนุษย์อยู่ติดกับ ประวัติศาสตร์ไทย พื้นดิน เช่น กำแพงเมือง คูเมือง คูน้ำ วัด เจดีย์ ปราสาท ถนน สระ น้ำ 2.ความน่าเชื่อถือของหลักฐาน อาจจำแนกได้เป็น หลักฐานชั้นต้นและหลักฐานชั้นรอง หลักฐานชั้นต้น หลักฐานชั้นรอง หลักฐานในช่วงเวลาเดียวกับเหตุการณ์ เช่น บันทึกของผู้คนที่ หลักฐานที่เขียนหรือรวบรวมขึ้นภายหลังเหตุการณ์ โดยผู้ อยู่ในเหตุการณ์ หนังสือพิมพ์ รูปถ่าย สิ่งของ เป็ นต้น เขียนเขียนขึ้นจากการศึกษาหลักฐานชั้นต้น โดยหลักฐาน ชั้นรองมีความน่าเชื่อถือน้อยกว่าหลักฐานชั้นต้น เพราะ ได้เขียนขึ้นภายหลังเหตุการณ์นั้นๆ แต่หลักฐานชั้นรอง สามารถใช้ค้นคว้าได้สะดวกกว่า เครื่องปั้ นดินเผาลายเขียนสีแดง ลูกปัดโบราณ พบที่บ้านเชียง สาระน่ ารู้ พบที่บ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี โบราณสถาน สิ่งที่เคลื่อนที่ไม่ได้ เช่น โบสถ์ วิหาร วัง มีอายุเก่ากว่า ๑๐๐ ปีขึ้นไป โบราณวัตถุ สิ่งของโบราณที่เคลื่อนที่ได้ เช่น พระพุทธรูป เทวรูป ศิลาจารึกมีอายุเก่าราว ๑๐๐ ปีขึ้นไป

17 การศึ กษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ท้องถิ่น หมายถึง พื้นที่ซึ่งมีขนาดเล็กที่มีขนาดต่างกัน เช่น ชุมชน หมู่บ้าน เมือง การศึกษาประวัติศาสตร์ ท้องถิ่น จึงเป็ นการศึกษาเหตุการณ์ในอดีตของคนหรือกลุ่มชนที่อยู่ในท้องถิ่นต่าง ๆ การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น จำเป็ นต้องศึกษาจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เพื่อใช้สนับสนุนข้อเท็จ จริงการจำแนกหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่พบในท้องถิ่น อาจจำแนกได้ตามความน่าเชื่อถือของหลักฐาน ที่นัก ประวัติศาสตร์ได้แบ่งออกเป็ นหลักฐานชั้นต้น และหลักฐานชั้นรอง ประเภทของหลักฐานในการศึ กษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น หลักฐานชั้นต้น สถานที่สำคัญในท้องถิ่น รู ปถ่าย หนั งสื อพิมพ์ สิ่ งของต่าง ๆ หลักฐานชั้นรอง หนั งสื อ ตำนาน มีทั้งที่เขียนโดยหน่วยงานราชการและบุคคลทั่วไป หนังสือเกี่ยวกับท้องถิ่นทำให้เราสามารถค้นคว้าได้ เรื่องเล่าต่อๆ กันมา เรื่องราวเปลี่ยนแปลงไปตามการ สะดวก แต่งเติมหรือตามความทรงจำของผู้เล่า บางตำนาน อาจถูกบันทึกเป็ นลายลักษณ์อักษรหลังการแต่งขึ้น ไม่มีการระบุช่วงเวลาที่แน่นอน เรื่องที่อยู่ในตำนาน มักมีเรื่องของสิ่งเหนือธรรมชาติ ไม่ควรเชื่อเรื่องราวทั้งหมดที่เกิดในตำนาน

ใบงาน เรื่อง การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 18 คำชี้แจง : ให้นั กเรียนสรุปความรู้เรื่องยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. สมัยก่อนสุโขทัย เริ่มจาก ..................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ 2. สมัยสุโขทัย เริ่มจาก ............................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ 3. สมัยอยุธยา เริ่มจาก ............................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ 4. สมัยธนบุริ เริ่มจาก .............................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ 5. สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เริ่มจาก .......................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................

ใบงาน เรื่อง การแบ่งยุคสมัยในการศึ กษาประวัติศาสตร์ 19

ใบงาน เรื่อง การแบ่งยุคสมัยในการศึ กษาประวัติศาสตร์ 20 นักเรียนคิดว่า มนุษย์ที่อาศัยอยู่ในถ้ำนี้เป็นมนุษย์ในยุคสมัยใด นักเรียนคิดว่า มนุษย์ในภาพนี้อยู่ในยุคสมัยใด ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ......................................................................

ใบงาน เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ 21 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์ อักษรและไม่เป็นลายลักษณ์ อักษร

ใบงาน เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ 22 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์ อักษรและไม่เป็นลายลักษณ์ อักษร

ใบงาน เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ 23 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์ อักษรและไม่เป็นลายลักษณ์ อักษร

ใบงาน เรื่อง ประเภทของหลักฐานเกี่ยวกับท้องถิ่น 24 หลักบานชั้นต้น หมายถึง ........................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... หลักฐานชั้นรอง หมายถึง........................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................

ใบงาน เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ 25 หลักฐานชั้นต้นและหลักฐานชั้นรอง

ใบงาน เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ 26 หลักฐานชั้นต้นและหลักฐานชั้นรอง

ใบงาน เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ 27 ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์

28

29 แบบทดสอบหลังเรียน คำชี้แจง ให้นั กเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะการดำรงชีวิตของมนุษย์ยุคก่อน 6. ข้อใดเป็ นหลักฐานที่เป็ นลายลักษณ์อักษร ประวัติศาสตร์ ทั้งหมด ก. หาของป่ า ล่าสัตว์ ก. ศิลาจารึก พงศาวดาร ข. อาศัยอยู่ในถ้ำ เพิงผา ข. ขวานสำริด ศิลาจารึก ค. มีการดำเนินชีวิตที่เรียบง่าย ค. ภาพวาดผนังถ้ำ ลูกปัดหินสี ง. ใช้เทคโนโลยีในการเพาะปลูก ง. สมุดข่อย เครื่องปั้ นดินเผา 2. เกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่งยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์คือข้อใด 7. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับหลักฐานชั้นต้น ก. รูปแบบของตัวอักษรที่ใช้ ก. บันทึกจากคำบอกเล่าของผู้อยู่ในเหตุการณ์ ข. ลักษณะการสร้างที่อยู่อาศัย ข. ความน่าเชื่อถือน้อยกว่าหลักฐานชั้นรอง ค. วัสดุที่นำมาทำเครื่องมือเครื่องใช้ ค. บันทึกหลังจากเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นแล้ว ง. ลักษณะรูปร่างหน้าตาของมนุษย์ ง. เรียบเรียงข้อมูลจากหลักฐานชั้นรอง 3. เบ็ดตกปลาจากกระดูกสัตว์ แสดงให้เห็นวิถีชีวิตในด้านใด 8. ข้อใดเป็ นหลักฐานชั้นรอง ก. ที่อยู่อาศัย ก. ขวานหินขัด ข. การล่าสัตว์ ข. หลักศิลาจารึก ค. การเพาะปลูก ค. โครงกระดูกมนุษย์ ง. หนังสือประวัติศาสตร์สมัยกรุงศรีอยุธยา ง. การทำเครื่องประดับ 4. หลักฐานใดแสดงให้เห็นว่ามนุษย์มีความเจริญมากที่สุด 9. หลักฐานชั้นต้นในข้อใดที่ทำให้ทราบการ ก. รูปร่างโครงกระดูกมนุษย์ ดำเนิ นชีวิตของมนุษย์ในสมัยประวัติศาสตร์ไทย ข. เครื่องประดับจากโลหะ ค. เครื่องปั้ นดินเผา ก. หนังสือเรื่องกำเนิดมนุษย์ ง. ขวานหินขัด ข. ภาพวาดบนผนังถ้ำ ค. โครงกระดูกสัตว์ 5. ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยเริ่มขึ้นเมื่อใด ง. หลักศิลาจารึก ก. พบเครื่องมือขวานหินขัด ข. สถาปนากรุงสุโขทัยเป็ นราชธานี 10. การศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในภาค ค. พ่อขุนรามคำแหงมหาราชประดิษฐ์ อักษรไทย ต่าง ๆ มีประโยชน์ อย่างไร ง. การบันทึกของพ่อค้านักเดินทางสำรวจชาวโรมัน ก. รู้จักประวัติบุคคลสำคัญ ข. ทำให้รักประเทศชาติมากขึ้น ค. ใช้เป็ นแบบอย่างดำเนินชีวิต ง. เข้าใจวิถีการดำเนินชีวิตของมนุษย์ในอดีต คะแนนที่ได้ คะแนนเต็ม 10

30 แบบทดสอบก่อนเรียน คำชี้แจง ให้นั กเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ที่พักอาศัยของมนุษย์ยุคหินมีลักษณะตรงกับข้อใด 6. หลักฐานที่ใช้ศึกษาความเป็นมาสมัยอยุธยาคือข้อ ก.สร้างเป็นบ้านไม้ยกพื้นสูง ใด ข.อาศัยอยู่ตามถ้ำ เพิงผา ค.สร้างเป็นตึกมีกำแพงกั้น ก.จดหมายเหตุ ง.อาศัยอยู่ในบ้านที่มีความแข็งแรง ข.หลักศิลาจารึก ค.เตาเผาสังคโลก ง.สมุดภาพไตรภูมิพระร่วง 2. หลักฐานที่ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดำเนินชีวิตของมนุษย์ยุคโลหะ 7. ในสมัยใดดินแดนไทยมีการปกครองระบอบ คือข้อใด ประชาธิปไตย ก.เครื่องมือหินกะเทาะ ก.สมัยรัตนโกสินทร์ ข.เครื่องมือหินขัด ข.สมัยสุโขทัย ค.ขวานสำริด ค.สมัยอยุธยา ง.ขวานหินขัด ง.สมัยธนบุรี 3. เพราะเหตุใดการศึกษาเรื่องราวของมนุษย์ยุคสมัยก่อน 8. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในข้อใดที่แสดงถึงการ ประวัติศาสตร์จึงต้องศึกษาจากเครื่องมือเครื่องใช้ จัดพิธีศพของมนุษย์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ก.เพราะในยุคนั้นไม่มีเครื่องใช้ไฟฟ้า ก.เครื่องสังคโลก ข.เพราะในยุคนั้นยังไม่มีตัวหนังสือใช้ ข.ภาชนะดินเผา ค.เพราะในยุคนั้นผู้คนยังใช้ชีวิตอยู่ในบ้าน ค.โลงผีแมน ง.เพราะในยุคนั้นผู้คนนิยมสร้างสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ ง.เปลือกหอย 4. ในอดีตผู้คนนิยมตั้งถิ่นฐานบริเวณลุ่มแม่น้ำและชายฝั่งทะเล 9. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่พบในท้องถิ่นข้อใด เพราะเหตุใด แสดงถึงพัฒนาการของมนุษย์ ก.อากาศดี สดชื่น ก.โครงกระดูกไดโนเสาร์ ข.เป็นที่เก็บซ่อนอาวุธได้ดี ข.โครงกระดูกมนุษย์ ค.เป็นแหล่งอาหารและการคมนาคม ค.ไม้กลายเป็นหิน ง.มีดินที่แข็งเหมาะแก่การสร้างบ้านเรือน ง.ภาชนะดินเผา 5. หลักฐานชนิดใดแสดงให้เห็นถึงการประดิษฐ์ตัวอักษรไทย 10. การศึกษาเกี่ยวกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์มี ก.ลูกปัดหิน ประโยชน์อย่างไร ข.หลักศิลาจารึก ค.ภาพวาดบนผนังถ้ำ ก.เพื่อนำมาพัฒนาความเป็นอยู่ในปัจจุบัน ง.สมุดภาพไตรภูมิพระร่วง ข.ทำให้ทราบการดำเนินชีวิตของคนในอดีต ค.เพื่อศึกษาเกี่ยวกับเทคโนโลยีในอดีต ง.ทำให้ทราบความคิดของคนในอดีต คะแนนที่ได้ คะแนนเต็ม 10

แผนที่แสดงตัวอย่างแหล่งขุดพบเครื่องมือเครื่องใช้ของ แผนที่แสดงตัวอย่างแหล่งที่ขุดพบเครื่องมือเครื่องใช้ของ 31 มนุษย์ยุคหินในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย มนุษย์ยุคโลหะในประเทศไทย

32 บทที่ 3 พัฒนาการของมนุษย์ในดินแดนไทย 1.การตั้งถิ่นฐานในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ไทย เมื่อประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ ปีมาแล้ว ดินแดนไทยมีมนุษย์อาศัยอยู่แล้ว ทั้งนี้จะเห็นได้จากการขุดพบเครื่องมือและชิ้นส่วน จากโครงกระดูกของมนุษย์ในยุคนั้น ทำให้สันนิษฐานได้ว่าในระยะแรกมนุษย์อยู่รวมกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ มีชีวิตแบบเร่ร่อน เคลื่อนย้ายไปตามแหล่งอาหารต่าง ๆ และอาศัยอยู่ตามถ้ำหรือเพิงผา เพื่อป้องกันอันตรายจากสัตว์ร้าย เรื่องราวของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์สามารถศึกษาได้จากหลักฐานต่าง ๆ เช่น เครื่องปั้นดินเผา เครื่องประดับ ภาพเขียนสีตามผนังถ้ำ โครงกระดูกที่ขุดพบในท้องถิ่นต่าง ๆทั่วดินแดนไทย หลักฐานของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์นี้ สามารถแบ่งตามลักษณะของเครื่องมือเครื่องใช้ ดังนี้ ยุคหิน ยุคหิน คือ การจำแนกสมัยก่อนประวัติศาสตร์จากเครื่องมือเครื่องใช้ของมนุษย์ในยุคนี้ การ ศึกษาพัฒนาการของมนุษย์ในยุคหินจึงศึกษาได้จากลักษณะที่พักอาศัย เครื่องมือหิน และเครื่องใช้ เช่น เครื่องประดับ โครงกระดูก เมล็ดพืช ซากสัตว์ รวมทั้งศิลปะถ้ำที่หลงเหลือเป็นหลักฐานมาถึง ปัจจุบัน

33 สาระน่ ารู้ ยุคโลหะ แม่ฮ่องสอน บริเวณจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีการค้นพบการตั้งหลักแหล่ง ของมนุษย์ยุคหินที่สำคัญ คือ แหล่งโบราณคดีถํ้าผีแมน อยู่บริเวณลำนํ้ า ปาย สันนิ ษฐานว่าชุมชนที่อาศัยอยู่ในเขตนี้ ได้พัฒนาจากยุคหินกลางเข้า สู่ยุคหินใหม่ เพราะแม้ยังคงอาศัยอยู่ในถํ้าขนาดใหญ่แต่ก็รู้จักการเพาะ ปลูก เนื่ องจากพบเมล็ดข้าวและเมล็ดพืชบางชนิ ดในบริเวณหลุมฝังศพ นอกจากนี้ ยังพบโลงศพไม้ที่เป็นรูปเรือขุดจำนวนมาก แสดงถึงการใช้ เรือเป็นพาหนะในการติดต่อระหว่างชุมชน ยุคโลหะ คือ การจำแนกสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่มนุษย์รู้จักนำโลหะบางชนิด ได้แก่ ทองแดง สำริด และเหล็กมาทำเป็น เครื่องมือเครื่องใช้ และเครื่องประดับการศึกษาเรื่องราวของมนุษย์ยุคนี้จึงศึกษาจากเครื่องมือเครื่องใช้และเครื่องประดับที่ ทำด้วยโลหะ

34 สาระน่ ารู้ บ้านเชียง ชุมชนวัฒนธรรมบ้านเชียงมีพัฒนาการต่อเนื่ องมาตั้งแต่ยุค หินกลางเนื่ องจากเป็นบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์มาก แต่ความสำคัญ โดดเด่นอยู่ที่ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีโลหกรรมระดับสูงใน การผลิตเครื่องสำริดเป็นเครื่องใช้ อาวุธ และเครื่องประดับ รวมทั้งผลิต เครื่องปั้ นดินเผาที่มีลักษณะเฉพาะตัว คือ เขียนลวดลายก้นหอยสีแดง บนพื้นผิวภาชนะสีนวล วัฒนธรรมบ้านเชียงเริ่มเสื่อมลงเมื่อเข้าสู่ปลาย ยุคโลหะ อาจเนื่ องจากพื้นที่ลดความอุดมสมบูรณ์และขาดวัตถุดิบที่จะ ผลิตเครื่องมือโลหะชนิ ดใหม่ 2.การตั้งถิ่นฐานในสมัยประวัติศาสตร์ไทย การตั้งถิ่นฐานเป็นชุมชนในท้องถิ่นต่าง ๆ ในดินแดนไทยนั้นพบว่า ชุมชนเหล่านี้ไม่ได้ตั้งอยู่อย่างโดดเดี่ยว แต่มีการ ติดต่อสัมพันธ์ระหว่างชุมชนหลาย ๆ แห่ง เพื่อแลกเปลี่ยนสินค้า ทำให้เกิดศูนย์กลางความเจริญจนพัฒนาขึ้นเป็นบ้านเมือง และแคว้นต่าง ๆ ปัจจัยภายใน ๑. มีสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ รวมทั้งสภาพแวดล้อมทางสังคมที่ดี คือ เป็นสังคมที่มีระเบียบ แบบแผนและมีวัฒนธรรม ๒. ผู้คนในชุมชนมีความรู้ ความสามารถ เช่น รู้จักระบบการจัดการน้ำ การทำคูน้ำ คันดิน ขุดบ่อน้ำ ขุดคลอง ๓. ที่ตั้งของชุมชนมีความเหมาะสม คือ อยู่บนเส้นทางที่ติดต่อกับเมืองต่าง ๆ ทั้งดินแดนภายในและดินแดนภายนอก ได้สะดวก เช่น ตั้งอยู่บริเวณปากน้ำ บริเวณที่มีแม่น้ำหลายสายไหลมาบรรจบกัน ริมทะเล ๔. ชุมชนมีผู้คนอาศัยอยู่จำนวนมาก มีผู้นำที่มีความสามารถและเข้มแข็ง ระบบการปกครองที่ดี มีกำลังไพร่พลที่เข้ม แข็ง ทำให้สังคมมีความสงบและปลอดภัย ปัจจัยดังกล่าว ทำให้ผู้คนเกิดความมั่นใจในการเดินทางไปมาติดต่อค้าขายและ ตั้งหลักแหล่ง

35 ปัจจัยภายนอก ๑. เมื่อพิจารณาที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของดินแดนไทยพบว่าเป็นเส้นทางเดินเรือในการติดต่อค้าขาย เนื่องจากมี กระแสน้ำและกระแสลมที่เหมาะสมซึ่งเอื้อต่อการติดต่อค้าขาย ๒. ชุมชนที่มีสินค้าหลากหลายซึ่งเป็นที่ต้องการของพ่อค้าชาวต่างชาติ เป็นปัจจัยสำาคัญที่ทำาให้เกิดการพัฒนา เพราะมีทั้งผู้ขาย และผู้ซื้อที่เดินทางมาแลกเปลี่ยนสินค้า ทำาให้ชุมชนพัฒนาเป็นศูนย์กลางการค้า มีผลให้เกิดการ แลกเปลี่ยนเทคโนโลยีและวัฒนธรรม เนื่องจากมีปัจจัยภายในและภายนอกดังกล่าว ชุมชนที่ตั้งอยู่ตามลุ่มน้ำ และ ชายฝั่งทะเลที่เหมาะแก่การคมนาคมติดต่อค้าขาย จึงมีโอกาสพัฒนาเป็นเมืองและแคว้น 3.เมืองและแคว้นโบราณในดินแดนไทย ในดินแดนไทยตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๑๑ เป็นต้นมามีชุมชนต่าง ๆ ได้พัฒนาเป็นเมือง และเมืองบางเมือง พัฒนาขึ้นเป็นแคว้น 3.1.เมืองโบราณในดินแดนไทย เมืองโบราณในดินแดนไทยประกอบด้วยเมืองสำคัญในภาคต่าง ๆ ดังนี้ เมืองโบราณทางภาคเหนือ มี เมืองที่สำคัญ ได้แก่ เมืองหริภุญชัย เมืองเชียงแสน และเมืองเวียงท่า กาน แผนที่แสดงตัวอย่างที่ตั้งเมืองโบราณที่สำคัญใน บริเวณภาคเหนื อของประเทศไทย

36 เมืองโบราณทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเมืองสำคัญ ได้แก่ เมืองฟ้าแดดสงยาง เมืองจัมปาศรี เมืองเสมาและเมืองพิมาย แผนที่แสดงตัวอย่างที่ตั้งเมืองโบราณที่สำคัญใน บริเวณภาคตะวันออกเหนื อของประเทศไทย เมืองโบราณทางภาคกลาง มีเมืองที่สำคัญ ได้แก่ เมืองนครชัยศรี เมืองอู่ทอง เมืองคูบัว เมืองละโว้ และเมืองศรีเทพ แผนที่แสดงตัวอย่างที่ตั้งเมืองโบราณที่สำคัญในบริเวณ ภาคกลางของประเทศไทย

37 เมืองโบราณทางภาคใต้ มีเมืองที่สำคัญ ได้แก่ เมืองเวียงสระ สุราษฎร์ธานี เมืองยะรัง ปัตตานี เมืองนครศรีธรรมราช ทุ่งตึก พังงา และคลองท่อมกระบี่ แผนที่แสดงตัวอย่างที่ตั้งเมืองโบราณที่สำคัญใน บริเวณภาคใต้ของประเทศไทย 3.2. แคว้นโบราณในดินแดนไทย เมืองโบราณในดินแดนไทยในภาคต่าง ๆ พัฒนาเป็นเมืองตั้งแต่ช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ ๑๑ แต่บางเมือง พัฒนาขึ้นมาในภายหลัง อย่างไรก็ตามในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๑ เมืองโบราณเหล่านี้ได้พัฒนาขึ้นมาเป็นแคว้น ที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคต่าง ๆ ดังนี้

38 หลักฐานของการก่อตั้ง แคว้นในอดีต 3.3.การตั้งถิ่นฐานและการดำเนิ นชีวิตของคนสมัยสุโขทัย อาณาจักรสุโขทัย ก่อตั้งในปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๘ (ประมาณ พ.ศ. ๑๗๙๒) บริเวณตอนเหนือของลุ่ม น้ำเจ้าพระยา โดยพ่อขุนบางกลางหาวได้รับการสถาปนาเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกทรงพระนามว่า พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ อาณาจักรสุโขทัย มีพระมหากษัตริย์ปกครองทั้งสิ้น ๙ พระองค์ พระบรมราชานุสาวรีย์พ่อขุนรามคำแหงมหาราช อาชีพหลักของชาวสุโขทัย คือ เกษตรกรรม ซึ่งจำเป็น พระมหากษัตริย์องค์สำคัญในสมัยสุโขทัย ต้องใช้น้ำในการเพาะปลูก ดังนั้น เพื่อให้มีน้ำเพียงพอ ชาว สุโขทัยจึงสร้างทำานบกั้นน้ำ ที่เรียกว่า สรีดภงส์ (อ่านว่า สะ-หรีด-พง) นอกจากนี้ ชาวสุโขทัยยังรู้จักทำหัตถกรรม เช่น เครื่องสังคโลก ที่เป็นสินค้าสำคัญของสุโขทัย เครื่องสั งคโลก

39 3.4.การตั้งถิ่นฐานและการดำเนิ นชีวิตของคนสมัยอยุธยา กรุงศรีอยุธยาเป็นอาณาจักรที่มีศูนย์กลางอยู่บริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่าง ใน พ.ศ. ๑๘๙๓ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี อาณาจักรนี้สืบทอดต่อมาเป็นเวลา ๔๑๗ ปี มีพระมหากษัตริย์ ปกครอง ๓๓ พระองค์ ในช่วงเวลาดังกล่าวคนไทยได้สร้างสรรค์ความเจริญทั้งทางด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ซึ่งเป็นพื้นฐานวัฒนธรรมไทยในเวลาต่อมา อาชีพหลักของชาวอยุธยา คือเกษตรกรรม และติดต่อค้าขายกับต่างชาติในสมัยอยุธยาตอนต้นมีการ ติดต่อค้าขายกับจีน อินเดีย อิหร่าน และอาหรับ แต่ภายหลังชาติยุโรปได้เดินทางเข้ามาติดต่อค้าขาย และเผยแผ่ศาสนาคริสต์ ซึ่งก่อให้เกิดความสัมพันธ์ทางการทูต หลักฐานที่สำคัญในสมัยอยุธยา เช่น วัดไชยวัฒนาราม ซึ่งได้รับอิทธิพลจากสถาปัตยกรรมเขมร พระราชวังนารายณ์ราชนิเวศน์ ได้รับอิทธิพลจากสถาปัตยกรรมเปอร์เซีย รวมทั้งภาพวาดจิตรกรรม ฝาผนัง ซึ่งนอกจากจะงดงามแล้ว ยังเป็นหลักฐานให้ทราบถึงความเชื่อและวิถีชีวิตของคนไทยในสมัย กรุงศรีอยุธยา พระบรมราชานุสาวรีย์พระเจ้าอู่ทอง ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา อยู่ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 3.5.การตั้งถิ่นฐานและการดำเนิ นชีวิตของคนสมัยธนบุรี หลังจากกรุงศรีอยุธยาล่มสลายลง สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้ทรงสถาปนากรุงธนบุรีขึ้นเป็นราชธานีแห่งใหม่ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐ กรุงธนบุรีตั้งอยู่บริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยาทางตอนใต้ของกรุงศรีอยุธยาและอยู่ใกล้กับทะเลทำให้สามารถ ติดต่อค้าขายกับต่างชาติได้สะดวก ในระยะแรกเศรษฐกิจสมัยกรุงธนบุรีอยู่ในสภาพยากลำบาก เนื่องจากเกิดการขาดแคลน ข้าว สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จึงสละพระราชทรัพย์ซื้อข้าวแจกจ่ายราษฎร และเกณฑ์ แรงงานไปทำานาปลูกข้าวทำให้ผลผลิตข้าวมีเพิ่มมากขึ้น หลักฐานที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์ในสมัยกรุงธนบุรี ได้แก่ พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี สมุดภาพไตรภูมิ โบราณสถาน เช่น พระราชวังเดิม ป้อมวิไชยเยนทร์ วัดอรุณราชวรารามราช วรมหาวิหาร (วัดแจ้ง) 3.6.การตั้งถิ่นฐานและการดำเนิ นชีวิตของคนสมัยกรุ งรัตโกสิ นทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสถาปนากรุงเทพมหานครเป็นราชธานี เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๕ ตั้งอยู่ บริเวณฝั่งตรงข้ามกับกรุงธนบุรี มีภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มปากแม่น้ำเจ้าพระยา คนไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ทำนา ทำสวน นอกจาก นี้ยังมีการติดต่อค้าขายกับต่างชาติ สินค้าที่ค้าขาย ส่วนใหญ่เป็นสินค้าเกษตร เช่น ข้าว น้ำตาล นอกจากนี้ยังทำการค้าไม้เนื้อแข็ง ยางพาราและดีบุก ในช่วงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประเทศไทยได้มีการปฏิรูปประเทศให้ทัน สมัยแบบชาติตะวันตก ดังนั้น แม้ว่าอาชีพเกษตรกรรมยังเป็นอาชีพหลักของคนไทย แต่มีคนไทย ประกอบอาชีพที่หลากหลาย เช่น ทำางานตามห้างขายของ ธนาคารพาณิชย์ พนักงานไปรษณีย์ พนักงานรถไฟ ต่อมาในพุทธศักราช ๒๔๗๕ ประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขจนถึงปัจจุบัน

ใบงาน เรื่อง พัฒนาการของมนุษย์ในดินแดนไทย 40 ปัจจัยที่มีผลต่อการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์

41 การตั้งหลักแหล่งของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนไทย

42 แหล่งชุมชนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในภาคที่ฉันอาศั ยอยู่

43 พัฒนาการของชุมชนสมัยก่อนประวัติศาสตร์

44 การตั้งหลักแหล่งและพัฒนาการของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ วันที่________เดืือน_______________พ.ศ._________ ชื่อ_____________________________ เลขที่_____ ชั้น _____ นักเรียนเติมคำตอบลงในช่องว่าง พร้อมตอบคำถามเกี่ยวกับการตั้งหลักแหล่งและพัฒนาการของมนุษย์ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ให้ถูกต้อง หม้อสามขา บ้านเก่า เบ้าหลอมโลหะ บ้านเชียง กลองสำริด เกาะสมุย เครื่องมือหิินขัด จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดอุดรธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี นาน้อย จังหวัดน่าน เครื่องมือเหล็กมีบ้อง โนนสูง ภาชนะดิินเผา ภูเวียง ลูกปััดหิิน ตะกั่วป่่า เครื่องมือเหล็ก จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดขอนแก่น จังหวัดพังงา บ้านดอนตาเพชร จังหวัดกาญจนบุรี แผนท่ี ่แสดงตัวอย่างในยุคใด • ___________________________________ การตั้งหลักแหล่งและพัฒนาการของมนุษย์ ใน • ยุคนี้มีลักษณะอย่างไร ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________

45 การตั้งหลักแหล่งและพัฒนาการของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ • แผนท่ี่แสดงตัวอย่างในยุคใด ___________________________________ • การตั้งหลักแหล่งและพัฒนาการของมนุษย์ ในยุคนี้มีลักษณะอย่างไร ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ ___________________________________ • ถ้านักเรียนจะศึกษาถึงพัฒนาการของมนุษย์ย์ุคก่่อนประวัติศาสตร์ นักเรียนจะใช้สิ่งใดบ้างที่เป็็น หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ์ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________

46 การตั้งหลักแหล่งและพัฒนาการของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์

ใบงาน เรื่องแคว้นโบราณสมัยประวัติศิ าสตร์ 47 ภาคเหนื อ ตอนที่ 1 คำชี้แจง ให้นั กเรียนวิเคราะห์ภาพ แล้วเติมคำตอบ 1. 1) โบราณสถานนี้ คือ 2) โบราณสถานนี้เกี่ยวข้องกับแคว้น 2. 1) โบราณสถานนี้ คือ 2) โบราณสถานนี้เกี่ยวข้องกับแคว้น

48 ภาคกลาง

49 ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook