Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore a_constructive_joyful_and_blissful_life

a_constructive_joyful_and_blissful_life

Published by supapornh, 2016-05-13 04:09:12

Description: หลักการดำรงชีวิต

Keywords: ธรรม

Search

Read the Text Version

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๙๓ใหคณุ ความดหี รอื คณุ สมบตั ทิ ดี่ เี จริญงอกงามขึ้นในคน ถา จะประกอบขึ้นเปนศัพทก เ็ รยี กวา บญุ สิกขา แตภาษาพระเปนพทุ ธพจนวา ปุฺ เมว โส สิกฺเขยยฺ แสดงวา บญุ เปน เรอื่ งของการศึกษา คอืการพัฒนาคณุ สมบตั ิทีด่ ีขนึ้ ในคน การจดั กิจกรรมทุกอยาง เปนเรอ่ื งของการทจ่ี ะมาชวยใหคนนัน้ ไดศ ึกษาย่ิงข้นึ ๆ ไป เราจะใชค ําวา พัฒนาคน ฝก คนอบรมคน อะไรก็แลว แต กเ็ รื่องเดยี วกนัตอ มา เม่อื คนมากนั มาก จะฟงธรรมก็ไมม สี ถานท่ีเหมาะสมเพยี งพอจึงตองสรา งอาคารขึน้ มาเปนศาลา การสรางอาคารอะไรตา งๆ เหลาน้ัน ซง่ึเดยี๋ วนเ้ี ปนงานที่เรียกวา สาธารณปู การ กเ็ ปนเร่ืองทม่ี ีข้นึ เพ่อื จดั สรรเออ้ื อาํ นวยใหเกดิ ความสะดวกสําหรับกจิ กรรมการศึกษาญาตโิ ยมมาทําบุญทํากศุ ล ก็เพ่อื จะใหก ําลังแกพ ระสงฆท ่ีจะไดเ ลาเรียนศกึ ษาใหเจรญิ ขน้ึ ในศีล สมาธิ ปญญา ฝา ยญาตโิ ยมเองมา ก็เพอื่ พฒั นาตัวใหเจรญิ ขนึ้ ใน ทาน ศลี ภาวนาทง้ั จติ ตภาวนา และปญ ญาภาวนาถา เรามองเรื่องราวและกจิ การงานทกุ อยา งในวดั ไมวา อะไรก็ตามตลอดจนบคุ คลและวัตถสุ ง่ิ ของทง้ั หลาย ใหเหน็ ใหถึงจุดหมายท่แี ทแ ลว ทุกอยางจะเปน เร่ืองเดยี วกนั หมด ถา เรามองไมเหน็ จดุ หมายนี้ ทุกอยา งกจ็ ะกระจดั กระจาย เปนตางชิน้ ตางอนั เปน คนละอยา ง และไปคนละทาง งานพระศาสนาทกุ อยางนั้น ตองจบั ใหไดว า ความหมายและความมุงหมายท่เี ปน ตวั แทของมันอยูทไี่ หน แลวมันมีความเปนอันหนึง่ อันเดียวกันอยา งไร ถา มองอยางน้ี ก็จะเหน็ สิง่ ทป่ี จจบุ นั เขาชอบเรียกวา องคร วม หรอืเปน บูรณาการ วามนั เปน เร่ืองเดียวกนั ทง้ั นนั้ถา มองเปนเรื่องเดียวไมได ก็เควง ควา งกระจดั กระจายแน เชนเรื่อง

๙๔ ชวี ติ ทส่ี รา งสรรค สดใสและสุขสันตกอ สราง ก็ไมร ูจะสรา งไปทาํ ไม แลวก็เขวไปวา ตอ งสรางใหใ หญโ ต เพอื่ โนนเพอ่ื น่ี เด๋ยี วก็มาลงท่ตี ัวตน กลายเปนเพื่อช่ือเสียง ความย่ิงใหญ ฯลฯ เถลไถลไป แมแตท ่ีวาเพ่ือศลิ ปวฒั นธรรม กไ็ มใชจ บในตัว แตทแ่ี ท ศลิ ปวฒั น-ธรรมนแ่ี หละ คอื ตัวหนุนตวั นาํ ใหญข องการศกึ ษาพฒั นาคน ฉะน้นั จะตอ งใหม าเจอตรงน้ใี หไ ด คือใหมาบรรจบเปนอันหนงึ่ อันเดียวกนั ทีห่ ลักการและความมุงหมาย และใหเ ห็นวา มนั กระจายออกไปไดอยา งไร ถามองเห็นระบบความสัมพันธท่ีเปน อนั หน่ึงอันเดียวกันได การคดิ ในเร่ืองงานกจ็ ะชัดวา เราทาํ อะไร คืออะไร เพ่ืออะไร แลวอนั น้ีไปโยงกบั อันอื่นอยา งไร เรยี กวา ตองมองทกุ อยา งในวัด และในพระศาสนา ใหสัมพันธกนัหมด เปนอนั หนึ่งอันเดยี ว นน่ั คือ เพื่อจดุ หมายทว่ี า จะทาํ อยา งไรใหค นเจรญิ ขน้ึ ไปเปน อริยสาวกเปน อริยชน เปนอริยบคุ คล เปนพระโสดาบนั สกทิ าคามี ฯลฯ เปนเสขะ -อเสขะ เรื่องทงั้ หมดก็มีอยเู ทา น้ี ลองขยายความหมายกนั ดู ท่ีพระสอนชาวบาน การสอนนั้นเราเรียกวา การเผยแผ แตการสอนท่เี ปน การเผยแผน ้ัน ก็คือการศึกษานั่นแหละ สอนชาวบานก็คอื ใหการศกึ ษาแกป ระชาชนในวงกวา งออกไป ความจรงิ การเผยแผก็เปนเร่ืองการศึกษาท้งั นั้น รวมแลว ก็เปน อันวา ในงานพระศาสนานั้น โดยเนือ้ หาสาระแลวการศึกษาหรือการศกึ ษาปฏิบตั ทิ เี่ รียกวา ไตรสิกขา นีแ้ หละ เปนเนอื้ แท แตทนี ี้ ทําอยา งไรจะใหก ารศึกษาครบระบบไตรสกิ ขาท่วี า นั้น คอื ใหไดท งั้ ศลี สมาธิ และปญญา

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๙๕- หนาทขี่ องผูท ํางานทางสังคม ตองนําคนเขามาหามรรค ทจี่ รงิ ทานมีเครื่องชว ยไวใหแลว ทจ่ี ะนําคนเขาสกู ารศกึ ษาในระบบไตรสกิ ขานัน้ แตต รงน้บี างทีเรามองขา ม หลกั การบอกอยแู ลววา เม่ือคนศกึ ษาดวยไตรสกิ ขา ก็จะกา วไปในทางดาํ เนินชวี ติ ถกู ตอ งดีงาม ทเี่ รียกวา มรรค ปญ หาท่เี รามองขา มกนั ไปกค็ ือวา ทาํ อยา งไรจะใหค นทยี่ งั ไมศ ึกษามาเริ่มศึกษา หรอื ทาํ อยางไรจะใหค นทย่ี งั อยูนอกทางหรอื ยังไมร จู ักทาง เขามาสมู รรคคือเขามาเดนิ ในทาง เรามองขา มขัน้ ตอนสําคญั นี้ไปเสีย จงึ พูดกนั แตวา พุทธศาสนาสอนใหเดินไปในมรรค แตท่ีจริงตอนแรกคนเขายงั อยนู อกทางนอกมรรค แลวกอนจะเดินไปในมรรค เขาจะมาเขามรรคไดอ ยา งไร ตอนน้เี ราตอ งเอาใจใสใหมาก น่แี หละคอื ทบ่ี อกวา ทา นมีเครือ่ งชว ยไวใ หแ ลว คอื พระพุทธเจา ไดตรัสบอกเครอื่ งชกั เครอ่ื งนําคนเขาสูท างหรอื วถิ ีแหง มรรคไวแ ลว คือองคธ รรมทเ่ี รยี กวา เปน บพุ นิมติ แหง มรรค พระพทุ ธเจาทรงเนนเรอ่ื งบุพนมิ ิตแหง มรรค และเรอื่ งปจจัยแหงสมั มาทิฏฐิ ใหรูวาสัมมาทิฏฐิท่ีเปนองคแรกของมรรคจะเกดิ ข้ึนไดอ ยา งไรมันมิใชเ กดิ ขน้ึ เฉยๆ ตรงน้แี หละเปน จดุ สาํ คัญ หนาทีข่ องผดู าํ เนนิ งานสาํ หรับสงั คมสว นใหญ เปน หนา ทใ่ี นการชักจงูหรือนําคนมาเขา สทู างทถ่ี ูกคอื มรรคนัน้ เพราะคนทวั่ ไปอาจจะยงั ไมไดเขามาทม่ี รรค หรือถา เขายงั อยูใ นทางคอื มรรคขน้ั ตน เรากต็ อ งใหกาํ ลงั เกื้อหนนุเขา เพราะฉะนนั้ ธรรมหรือปจ จัยทีจ่ ะนําเขา สูม รรค จึงสําคัญอยา งย่งิ แทนท่จี ะมวั มองแตมรรค ตอ งมองใหถึงตัวทีจ่ ะนําเขาสูมรรค ที่พระพทุ ธเจา ทรงเรียกวา บุพนิมิตแหง มรรค คอื ธรรมะขอ ที่วา เมอ่ื มนัเกิดขึ้นแลว ก็แนใจไดเ ลยวา บุคคลน้นั จะเขาไปสูมรรค หรือมรรคจะเกิดข้ึน

๙๖ ชีวิตที่สรางสรรค สดใสและสุขสนั ตแกเขา เหมอื นอยางที่พระพุทธองคตรสั วา เปรยี บเหมือนวา กอนทีด่ วงอาทติ ยจ ะอุทยั มีแสงอรุณขึ้นมากอนหรอืปรากฏใหเหน็ กอ น ฉนั ใด เม่ือมรรคจะเกิดขน้ึ แกบคุ คลหรอื แกภกิ ษุ กม็ ีธรรมเชน กลั ยาณมติ ตตา คือความมีกัลยาณมติ ร ปรากฏเกิดข้นึ มากอน ฉันนน้ั ธรรมะประเภทนี้ เราจะตอ งเอาใจใสกันใหม าก เพราะเมือ่ คนยงั อยูหา งไกล เขาไมรูจกั มรรค ยังไมเ จอมรรค ยังไมเขามาหามรรคเลย เขาจะเดินไปในมรรคไดอ ยางไร เหมือนคนเขายงั ไมร ูวาทางอยูท่ไี หน เรมิ่ ตน ท่ีไหน จะใหเ ขาเดนิ ทางไปไดอ ยางไร เพราะฉะน้ัน เราจงึ ตอ งพาเขาเขามาทม่ี รรคกอ น แลวทั้งหมดน้ีเราจะตองมองวา ทุกอยางท่ีมีท่ีจัดกันอยูในพระพุทธ-ศาสนา เปนสวนชักนํา เก้ือหนุน เก้ือกูล เพื่อใหคนมาเขาสูมรรค และเดินไปในมรรคนั้น ที่เขาจะกาวหนาไปๆ ดวยการฝกศึกษาพัฒนาตามระบบแหงไตรสิกขา จนกวาจะถึงจุดหมาย ถาเราทํางานเปนระบบ เรียกเตม็ วาเปน ระบบความสมั พนั ธ ทุกอยา งจะเช่ือมโยงกนั มจี ุดรว มรวมถงึ กนั และเปน ไปดว ยดี นี้เปนแงคดิ ประการหนง่ึ คือ การมองใหเ ห็นความเปน อนั หน่งึ อนั เดียวกนั เมอื่ มองเหน็ จุดรวมของงานพระศาสนา กเ็ หน็ ตัวพระพทุ ธศาสนาท้ังหมด แลว การทํางานก็จะชดั

ภาค ๒ มองคนใหถ ึงธรรม(ชาติ) -E-มนุษยเ ปนสัตวท ่ปี ระเสรฐิ ดวยการศึกษาหน่ึง ธรรมชาติพเิ ศษที่เปนสว นเฉพาะของมนุษย คอื เปน สตั วท ่ีฝกไดจะพดู วา เปนสัตวท พ่ี ัฒนาได เปน สัตวทศ่ี กึ ษาได หรอื เปน สตั วท่ีเรยี นรูไดกม็ คี วามหมายอยางเดียวกนั จะเรยี กวา เปน สัตวพเิ ศษก็ได คือแปลกจากสตั วอ ื่น ในแงท ีว่ าสัตวอน่ื ฝกไมได หรือฝกแทบไมได แตมนุษยนี้ฝกได และพรอมกันนั้นก็เปนสัตวที่ตองฝกดวย พดู สน้ั ๆ วา มนุษยเปน สตั วท ี่ฝก ได และตอ งฝก สตั วอ ื่นแทบไมตองฝก เพราะมันอยไู ดด วยสญั ชาตญาณ เกิดมาแลวเรยี นรูจากพอแมน ิดหนอ ย ไมนานเลย มนั ก็อยรู อดได อยางลกู ววั คลอดออกมาสกั ครหู นง่ึ กล็ ุกข้นึ เดินได ไปกบั แมแ ลว ลูกหานออกจากไขเ ชาวนัน้ัน พอสายหนอยก็วิง่ ตามแมลงไปในสระนํา้ วง่ิ ได วายนาํ้ ได หากนิ ตามพอแมของมันได แตม ันเรียนรูไดนดิ เดยี ว แคพ อกนิ อาหาร เปน ตน แลว ก็อยูดว ยสญั ชาตญาณไปจนตลอดชวี ิต เกิดมาอยางไรกต็ ายไปอยางนนั้ หมุนเวียนกันตอไป ไมสามารถสรา งโลกของมนั ตา งหากจากโลกของธรรมชาติหนึ่ง เนื้อหาแตน้ีไปจนจบหนังสือน้ี คัดจาก \"บทเพิ่มเติม: ชีวิตที่เปนอยูดี ดวยมี การศึกษาทั้ง ๓ ที่ทําใหพัฒนาครบ ๔ (มรรคมีองค ๘ Å สิกขา ๓ Æ ภาวนา ๔)\" ใน หนงั สอื พุทธธรรม ฉบับเดมิ (พิมพค รัง้ ท่ี ๑๐, ส.ค. ๒๕๔๔) หนา ๓๔๓–๓๗๔

๙๘ ชวี ติ ทีส่ รางสรรค สดใสและสขุ สันต แตมนุษยนต้ี องฝก ตองเรยี นรู ถาไมฝก ไมเ รียนรู ก็อยูไมได ไมตองพดู ถึงวาจะอยดู ี แมแตร อดกอ็ ยูไมไ ด มนษุ ยจึงตอ งอยกู ับพอ แมห รือผูเลย้ี ง เปนเวลานบั สิบป ระหวา งนี้ก็ตอ งฝก ตองหัดตอ งเรียนรไู ป แมแตกนิ นงั่นอน ขับถาย เดิน พดู ทุกอยางตองฝกท้งั น้ัน มองในแงนเี้ หมอื นเปน สตั วท ี่ดอย แตเ ม่อื มองในแงบวก วา ฝก ได เรียนรูได ก็กลายเปน แงเดน คอืพอฝก เร่ิมเรยี นรแู ลว คราวนีม้ นุษยกเ็ ดินหนา มปี ญ ญาเพม่ิ พนู ขึน้ พดู ไดส่ือสารได มีความคิดสรา งสรรค ประดษิ ฐอ ะไรๆ ได มคี วามเจรญิ ทงั้ ในทางนามธรรม และทางวัตถุธรรม สามารถพัฒนาโลกของวัตถุ เกิดเทคโนโลยีตางๆ มีศิลปวทิ ยาการ เกดิ เปน วัฒนธรรม อารยธรรม จนกระท่ังเกิดเปนโลกของมนษุ ยซอ นขน้ึ มา ทา มกลางโลกของธรรมชาติ สัตวอ่นื อยา งดี ที่ฝกพิเศษไดบาง เชน ชา ง มา ลิง เปนตน ก็ ๑. ฝก ตวั เองไมได ตอ งใหม นษุ ยฝกให ๒. แมมนษุ ยจะฝก ให ก็ฝก ไดในขอบเขตจาํ กัด แตมนุษยฝกตัวเองได และฝกไดแ ทบไมมีท่ีส้ินสดุ การฝกศึกษาพัฒนาตน จงึ ทาํ ใหมนุษยก ลายเปน สตั วท ปี่ ระเสรฐิ เลิศสูงสดุ ซง่ึ เปนความเลศิ ประเสริฐทีส่ ตั วทัง้ หลายอ่ืนไมมี หลักความจริงนี้สอนวา มนษุ ยมิใชจะประเสรฐิ ขน้ึ มาเองลอยๆ แตประเสรฐิ ไดด วยการฝก ถา ไมฝกแลวจะดอยกวาสตั วดริ จั ฉาน จะตา่ํ ทรามยิ่งกวา หรือไมก ็ทาํ อะไรไมเปนเลย แมจ ะอยรู อดก็ไมไ ด ความดเี ลิศประเสริฐของมนุษยนน้ั จงึ อยทู ก่ี ารเรียนรฝู ก ศึกษาพฒั นาตนขึ้นไป มนษุ ยจ ะเอาดไี มได ถาไมม กี ารเรียนรฝู ก ฝนพัฒนาตนเพราะฉะนั้น จึงตอ งพูดใหเ ตม็ วา “มนุษยเปนสัตวประเสริฐดวยการฝก”

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๙๙ ไมควรพูดแควา มนุษยเปนสัตวประเสริฐ ซึ่งเปนการพูดท่ีตกหลนบกพรอง เพราะวา มนุษยน ี้ ตอ งฝกจงึ จะประเสรฐิ ถา ไมฝ ก กไ็ มประเสริฐ คําวา “ฝก ” นี้ พูดตามคําหลกั แทๆ คอื สกิ ขา หรอื ศกึ ษา ถา พดูอยา งสมยั ใหม กไ็ ดแ กคําวา เรยี นรู และ พฒั นา พูดรวมๆ กันไปวาเรยี นรูฝก หดั พฒั นา หรือ เรยี นรูฝก ศกึ ษาพฒั นาศักยภาพของมนุษย คือจดุ เร่มิ ของพระพุทธศาสนาความจริงแหงธรรมชาติของมนุษยในขอท่ีวา มนุษยเปนสัตวที่ฝกไดน้ี พระพุทธศาสนาถือเปนหลักสําคัญ ซึ่งสัมพันธกับความเปนพระศาสดาและการทรงทาํ หนาท่ีของพระพทุ ธเจา ดงั ท่ไี ดเ นนไวใ นพทุ ธคุณบทท่ีวา อนตุ ฺตโร ปรุ สิ ทมมฺ สารถิ สตฺถา เทวมนสุ ฺสานํ “เปนสารถีฝกคนที่ควรฝก ผูยอดเยี่ยม เปนศาสดาของเทวะและมนุษยทงั้ หลาย” [ม . มู . ๑ ๒ /๙ ๕ /๖๗] มีพุทธพจนมากมาย ท่ีเนนยํ้าหลักการฝกฝนพัฒนาตนของมนุษยและเราเตือน พรอมทั้งสงเสริมกําลังใจ ใหทุกคนมุงมั่นในการฝกศึกษาพัฒนาตนจนถงึ ท่สี ดุ เชน วรมสสฺ ตรา ทนตฺ า อาชานยี า จ สนิ ฺธวา กุ ชฺ รา จ มหานาคา อตตฺ ทนฺโต ตโต วรํ “อัสดร สินธพ อาชาไนย กุญชร และชางหลวง ฝก แลว ลวนดีเลิศ แตค นที่ฝกตนแลวประเสริฐกวา (ทง้ั หมด) นัน้ ” [ขุ.ธ.๒๕/๓๓/๕๗]

๑๐๐ ชีวติ ทสี่ รางสรรค สดใสและสุขสนั ต ทนฺโต เสฏโ มนุสฺเสส.ุ “ในหมูม นุษย ผปู ระเสรฐิ สุด คอื คนที่ฝก แลว” [ข.ุ ธ.๒๕/๓๓/๕๗] วชิ ฺชาจรณสมฺปนฺโน โส เสฏโ  เทวมานเุ ส. “ผูถึงพรอมดวยวิชชาและจริยะ เปนผูประเสริฐสุด ท้ังในหมูมนุษยแ ละมวลเทวา” [ส.ํ นิ.๑๖/๗๒๔/๓๓๑] อตตฺ า หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา อตตฺ นา หิ สุทนเฺ ตน นาถํ ลภติ ทลุ ลฺ ภํ “ตนแลเปนทพ่ี ่ึงของตน แทจ รงิ นนั้ คนอื่นใครเลาจะเปนท่ีพง่ึ ได มีตนที่ฝกดแี ลวนั่นแหละ คือไดทพ่ี ึ่งซง่ึ หาไดย าก” [ข.ุ ธ. ๒๕/๒๒/๓๖] มนุสสฺ ภูตํ สมพฺ ุทฺธํ อตฺตทนฺตํหนง่ึ สมาหิตํ . . . เทวาป ตํ นมสฺสนตฺ ิ . . . . . . . . . . . . . . “พระสัมพุทธเจา ท้ังท่ีเปนมนุษยนี่แหละ แตทรงฝกพระองคแลว มีพระหฤทัยซ่ึงอบรมถึงท่ีแลว แมเทพท้ังหลายกน็ อมนมัสการ” [องฺ.ปฺจก.๒๒/๓๑๔/๓๘๖] คาถาน้ีเปนการใหกําลังใจแกมนุษยวา มนุษยที่ฝกแลวนั้น เลิศประเสริฐ จนกระทัง่ แมแตเ ทวดาและพรหมกน็ อมนมัสการ ความหมายที่ตองการในท่ีนี้ ก็คือ การมองมนุษยวาเปนสัตวที่ฝกไดหน่ึง ทันตะ มาจาก ทมะ ท่ีแปลวา การฝก ซึ่งเปนอีกคําหนึ่งที่ใชแทนสิกขาได [ทันตะ คือ คนท่ีฝกหรือศึกษาแลว ถาเปนคนผูท่ีจะตอง(ไดรับการ)ฝก ก็เปน ทัมมะ (อยางในบท พุทธคณุ ท่ียกมาใหดูขา งตน)]

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๑๐๑และมคี วามสามารถในการฝก ตัวเองไดจนถึงท่ีสุด แตตองฝกจึงจะเปนอยางน้ันได และกระตุนเตือนใหเกิดจิตสํานึกตระหนักในการที่จะตองปฏิบัติตามหลักแหงการศึกษาฝก ฝนพัฒนาตนน้นั ถาใชคําศัพทสมัยปจจุบัน ก็พูดวา มนุษยมีศักยภาพสูง มีความสามารถท่ีจะฝกศึกษาพฒั นาตนไดจนถงึ ขนั้ เปนพุทธะ ศักยภาพนี้เรียกวา โพธิ ซ่ึงแสดงวาจุดเนนอยูที่ปญญา เพราะโพธินั้น แปลวา ปญญาตรัสรู คือปญญาทที่ าํ ใหม นุษยกลายเปน พุทธะ ในการศึกษาตามหลักพุทธศาสนาหรือการปฏิบัติธรรมน้ัน สิ่งสําคัญท่ีจะตองมีเปนจุดเร่ิมตน คือ ความเช่ือในโพธินี้ ที่เรียกวา โพธิศรัทธา ซ่ึงถอื วาเปน ศรัทธาพ้นื ฐาน เม่อื มนษุ ยเชื่อในปญญาที่ทําใหมนุษยเปนพุทธะไดแลว เขาก็พรอมท่ีจะศึกษาฝกฝนพฒั นาตนตอไป ตามที่กลาวมานี้จะเห็นวา คําวา โพธิ นั้น ใหจุดเนนท้ังในดานของศักย-ภาพท่ีมนุษยฝกไดจนถึงที่สุด และในดานของปญญา ใหเห็นวาแกนนําของการฝกศึกษาพัฒนานั้นอยูท่ีปญญา และศักยภาพสูงสุดก็แสดงออกที่ปญญา เพราะตัวแทนหรือจุดศูนยรวมของการพัฒนาอยูท่ีปญญา เพื่อจะใหโพธินี้ปรากฏข้ึนมา ทําบุคคลใหกลายเปนพุทธะ เราจึงตองมกี ระบวนการฝก หรือพัฒนาคน ท่ีเรียกวา สิกขา ซึง่ ก็คือ การศกึ ษา สิกขา คือกระบวนการการศึกษา ท่ีฝกหรือพัฒนามนุษย ใหโพธิปรากฏขึน้ จนในท่ีสุดทาํ ใหม นษุ ยน น้ั กลายเปน พุทธะ

๑๐๒ ชีวติ ที่สรางสรรค สดใสและสุขสนั ตชวี ติ ที่ดี คอื ชีวติ ทีศ่ ึกษาเมอื่ พัฒนาคนดว ยไตรสกิ ขา ชีวติ กก็ า วไปในอริยมรรคา ชีวิตนั้นเปนอันเดียวกันกับการศึกษา เพราะชีวิตคือการเปนอยู และการที่ชีวิตเปนอยูดําเนินไป ก็คือการที่ตองเคล่ือนไหว พบประสบการณใหมๆและเจอสถานการณใหมๆ ซึ่งจะตองรูจัก ตองเขาใจ ตองคิด ตองปฏิบัติหรือจัดการอยางใดอยางหนึ่ง หรือหาทางแกไขปญหาใหผานรอดหรือลุลวงไป ทาํ ใหตองมีการเรียนรู มีการพิจารณาแกปญหาตลอดเวลา ทั้งหมดน้ีพูดสนั้ ๆ ก็คอื สิกขา หรอื การศกึ ษา ดังน้ัน เม่ือยังมีชีวิตอยู ถาจะเปนอยูได หรือจะเปนอยูใหดี ก็ตองสิกขาหรือศึกษาตลอดเวลา พูดไดวา ชีวิตคือการศึกษา หรือ ชีวิตท่ีดีคือชีวติ ทมี่ กี ารศกึ ษา มีการเรียนรู หรือมกี ารฝก ฝนพัฒนาไปดว ย การศึกษาตลอดชีวิตในความหมายที่แท คืออยางน้ี ถาจะพูดใหหนักแนน กต็ องวา “ชีวติ คือการศกึ ษา” พูดอีกอยางหนึ่งวา การดําเนินชีวิตท่ีดี จะเปนชีวิตแหงสิกขาไปในตัวชีวิตขาดการศกึ ษาไมได ถาขาดการศึกษาก็ไมเปนชีวิตท่ีดี ท่ีจะอยูไดอยางดีหรอื แมแตจ ะอยูใหร อดไปได ตรงนเ้ี ปน การประสานเปนอนั เดยี วกนั ระหวาง การศึกษาพัฒนามนษุ ยหรอื การเรียนรฝู ก ฝนพฒั นาคน ทเี่ รยี กวาสิกขา กบั การดําเนินชีวติ ท่ดี ขี องมนษุ ย ท่ีเรยี กวามรรค คอื การดาํ เนินชวี ติ ชนิดท่มี กี ารศกึ ษาพฒั นาชีวิตไปดวยในตวั จงึ จะเปนชวี ติ ทด่ี ี สิกขา ก็คอื การพฒั นาตัวเองของมนษุ ย ใหดําเนินชีวติ ไดด งี ามถกู ตอ ง ทาํ ใหมีวิถีชีวิตทีเ่ ปนมรรค สว น มรรค ก็คือทางดําเนนิ ชวี ิต หรอื วิถีชีวติ ทถี่ กู ตอ งดีงามของมนุษย

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๐๓ซึง่ เปน วถิ ชี วี ติ แหงการเรียนรฝู ก ฝนพฒั นาตนคอื สกิ ขา มรรค กับ สิกขา จึงประสานเปนอันเดียวกนัจึงใหความหมายไดวา สกิ ขา/การศึกษา คอื การเรยี นรทู ี่จะใหส ามารถเปนอยูไดอ ยางดี หรือฝกใหส ามารถมชี ีวิตทด่ี ีเปนอันวา ชีวิตคือการศึกษาน้ี เปนของแนนอน แตปญหาอยูท่ีวาเราจะศึกษาเปนหรือไม ถาคนไมรูจักศึกษา ก็มีชีวิตเปลาๆ หมายความวา พบประสบการณใหมๆ ก็ไมไดอะไร เจอสถานการณใหมๆ ก็ไมรูจะปฏิบัติอยางไรใหถูกตอง ไมมีการเรียนรู ไมมีการพัฒนา ไมมีการแกปญหา เปนชีวิตท่ีเลื่อนลอย เปนชีวิตที่ไมดี ไมมีการศึกษา ทางธรรมเรียกวา “พาล”แปลวา มชี วี ิตอยูเพียงแคด ว ยลมหายใจเขา ออก เพราะมองความจริงอยางน้ี ทางธรรมจึงจัดไวใหการศึกษา กับชวี ิตที่ดี เปน เรื่องเดียวกนั หรอื ตองไปดวยกัน ทานถือวา ชีวิตนี้เหมือนกับการเดินทางกาวไปๆ และในการเดินทางน้ันก็พบอะไรใหมๆ อยูเรื่อย จึงเรียกวา “มรรค” หรือ “ปฏิปทา” แปลวาทางดําเนินชวี ติ หรอื เรยี กวา “จริย/จรยิ ะ” แปลวา การดาํ เนินชีวติ มรรค หรือ ปฏิปทา จะเปนทางดําเนินชีวิต หรือวิถีชีวิตที่ดี จริยะจะเปนการดําเนินชีวิตท่ีดี ก็ตองมีสิกขา คือการศึกษา เรียนรู และพัฒนาตนเองตลอดเวลา ดังกลาวแลว มรรคท่ีถูกตอง เรียกวา “อริยมรรค” (มรรคาอันประเสริฐ หรือทางดําเนนิ ชวี ติ ท่ีประเสรฐิ ) ก็เปน จริยะที่ดี เรียกวา “พรหมจริยะ” (จริยะอยางประเสริฐ หรือการดําเนินชีวิตที่ประเสริฐ) ซึ่งก็คือมรรค และจริยะ ท่ีเกิดจากสกิ ขา หรือประกอบดวยสกิ ขาสิกขา ที่จะใหเกิดมรรค หรือจริยะอันประเสริฐ คือสิกขาที่เปนการ

๑๐๔ ชีวิตทีส่ รางสรรค สดใสและสุขสันตฝกฝนพัฒนาคนครบทั้ง ๓ ดานของชีวิต ซ่ึงเรียกวา ไตรสิกขา แปลวาการศึกษาทง้ั ๓ ที่จะกลา วตอไปชีวติ มี ๓ ดา น การฝกศกึ ษาก็ตอ งประสานกนั ๓ สว นพัฒนาคนแบบองคร วม จงึ เปนเรอ่ื งธรรมดาของการศึกษา ชีวิต และการดําเนนิ ชวี ิตของมนุษยน้ัน แยกไดเปน ๓ ดา น คือ ๑. ดานสัมพันธกับสิ่งแวดลอม การดําเนินชีวิตตองติดตอส่ือสารสมั พันธก ับโลก หรือสงิ่ แวดลอมนอกตัว โดยใช ‫)א‬ทวาร/ชองทางรบั รแู ละเสพความรูสกึ หน่งึ ทีเ่ รียกวา อินทรยี  คือ ตาหู จมูก ลิน้ กาย (รวม ใจ ดว ยเปน ๖) ‫)ב‬ ** คือ กาย วาจา โดย ทํา และพูด (รวม ทวาร/ชองทางทํากรรม สองใจ-คิด ดว ยเปน ๓) ส่ิงแวดลอมท่ีมนุษยติดตอสื่อสารสัมพันธน้ัน แยกไดเปน ๒ประเภท คอื ๑) ส่งิ แวดลอ มทางสงั คม คอื เพือ่ นมนษุ ย ตลอดจนสรรพสัตว ๒) ส่ิงแวดลอมทางวัตถุ หรอื ทางกายภาพ มนุษยควรจะอยูรวมกับเพื่อนมนุษยและเพื่อนรวมโลกดวยดี อยางเก้ือกูลกัน เปนสวนรวมท่ีสรางสรรคของสังคม และปฏิบัติตอส่ิงแวดลอมทางวัตถุ ต้ังตนแตการใชตา หู ดู ฟง ทั้งดานการเรียนรู และการเสพอารมณใหไดผลดี รูจักกินอยู แสวงหา เสพบริโภคปจจัย ๔ เปนตน อยางฉลาด ใหเปนคณุ แกต น แกส ังคม และแกโ ลก อยา งนอ ยไมใหเปน การเบียดเบยี นหนง่ึ เรียกโดยศพั ทว า ผัสสทวาร หรือ สัมผัสสทวาร หรือ ปสาททวาร เรยี กโดยศพั ทว า กรรมทวาร (กาย และ วาจา มคี าํ เรียกเฉพาะอกี วา โจปนทวาร)** สอง

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๑๐๕๒. ดานจิตใจ ในการสัมพันธกับสิ่งแวดลอมหรือแสดงออกทุกครั้งจะมีการทํางานของจิตใจ และมีองคประกอบดานจิตเก่ียวของ เร่ิมแตตองมีเจตนา ความจงใจ ต้ังใจ หรือเจตจํานง และมีแรงจูงใจอยางใดอยางหน่ึงพรอ มท้งั มีความรูสกึ สขุ หรือทกุ ข สบาย หรือไมสบาย และปฏิกิริยาตอจากสุข-ทุกขน้ัน เชน ชอบใจ หรือไมชอบใจ อยากจะได อยากจะเอา หรืออยากจะหนี หรืออยากจะทาํ ลาย ซ่ึงจะมีผลชักนําพฤติกรรมทั้งหลาย ต้ังแตจะใหดูอะไร หรอื ไมด อู ะไร จะพดู อะไร จะพูดกับใคร วาอยา งไร ฯลฯ ๓. ดานปญญา ในการสัมพันธกับสิ่งแวดลอมหรือแสดงออกทุกคร้ังก็ตาม เมื่อมีภาวะอาการทางจิตใจอยางหน่ึงอยางใด ก็ตาม องคประกอบอีกดานหนึ่งของชีวิต คือ ความรูความเขาใจ ความคิด ความเชื่อถือ เปนตน ที่เรยี กรวมๆ วา ดานปญญา ก็เขา มาเกี่ยวขอ ง หรือมีบทบาทดวยเร่ิมต้งั แตวา ถามปี ญ ญา กแ็ สดงออกและมีภาวะอาการทางจิตอยางหน่ึงถาขาดปญญา ก็แสดงออกและมีภาวะอาการทางจิตอีกอยางหนึ่ง เรามีความรูความเขาใจเร่ืองน้ันแคไหน มีความเชื่อ มีทัศนคติ มีความยึดถืออยางไรเราก็แสดงออกหรือมองสิ่งนั้น ไปตามแนวคิด ความเขาใจ หรือแมกระท่ังคานิยมอยางน้ัน ทําใหชอบใจ ไมชอบใจ มีสุขมีทุกขไปตามน้ัน และเม่ือเรามองเห็น เรารู เขาใจอยางไร แคไหน เราก็แสดงออกหรือมีพฤติกรรมของเรา ไปตามความรคู วามเขา ใจ และภายในขอบเขตของความรูของเรานั้นถาปญญา ความรู ความเขาใจเกิดมากขึ้น หรือเราคิดเปน ก็ทําใหเราปรับแกพ ฤตกิ รรมและจติ ใจของเราใหม เชน เจอประสบการณท่ีไมดี เรารูสึกไมชอบใจ พอไมชอบใจ ก็ทุกข แตถาเกิดปญญาคิดไดข้ึนมาวา ส่ิงที่ไมดีหรือไมชอบน้ัน ถาเราเรียนรู เราก็ไดความรู พอมองในแงเรียนรู ก็กลายเปนได ความไมชอบใจหายไป กลายเปนชอบส่ิงท่ีเคยไมชอบ พอไดความรูก็เกดิ ความสขุ จากทุกขก็เปล่ียนเปนสุข ปฏิกิริยาที่แสดงออกมาทางพฤติกรรม

๑๐๖ ชวี ติ ท่ีสรา งสรรค สดใสและสุขสันตกเ็ ปลยี่ นไป ในชีวิตประจําวัน หรือในการประกอบอาชีพการงาน เม่ือเจอคนหนาบ้ึง พูดไมดี ถาเรามองตามความชอบใจ-ไมชอบใจ ไมใชปญญา เราก็โกรธแตพอใชโยนิโสมนสิการ มองตามเหตุปจจัย คิดถึงความเปนไปไดแงตางๆเชนวาเขาอาจจะมีเรื่องทุกข ไมสบายใจอยู เพียงคิดแคนี้ ภาวะจิตก็อาจจะพลิกเปลีย่ นไปเลย จากโกรธกก็ ลายเปนสงสาร อยากจะชวยเขาแกป ญ หา ปญญาเปนตัวช้ีนํา บอกทาง ใหแสงสวาง ขยายขอบเขต ปรับแกจิตใจและพฤติกรรม และปลดปลอ ยใหหลดุ พน หนาที่สําคัญของปญญา คือ ปลดปลอย ทําใหเปนอิสระ ตัวอยางงายๆ เพียงแคไปท่ีไหน เจออะไร ถาไมรูวาคืออะไร ไมรูจะปฏิบัติตอมันอยางไร หรือพบปญหา ไมรูวิธีแกไข จิตใจก็เกิดความอึดอัด รูสึกบีบค้ัน ไมสบายใจ นี่คือทุกข แตพอปญญามา รูวาอะไรเปนอะไร จะทําอยางไร ก็โลงทนั ที พฤติกรรมตดิ ตนั อยู พอปญญามา ก็ไปได จติ ใจอดั อนั้ อยู พอปญญามา ก็โลงไป องคประกอบของชีวิต ๓ ดานน้ี ทํางานไปดวยกัน ประสานกันไปและเปน เหตุปจ จยั แกก ัน ไมแ ยกตา งหากจากกนั การสัมพันธกับโลกดวยอินทรียและพฤติกรรมทางกายวาจา (ดานที่๑) จะเปนไปอยางไร ก็ขึ้นตอเจตนา ภาวะและคุณสมบัติของจิตใจ (ดานท่ี๒)และทําไดภ ายในขอบเขตของปญ ญา (ดานท่ี๓) ความตัง้ ใจและความตองการเปนตน ของจิตใจ (ดานท่ี๒) ตองอาศัยการสื่อทางอินทรียและพฤติกรรมกายวาจาเปนเครื่องสนอง (ดานที่๑) ตองถูกกําหนดและจํากัดขอบเขตตลอดจนปรับเปล่ียนโดยความเช่ือถือ ความคิดเหน็ และความรูค วามเขา ใจทมี่ ีอยแู ละทเี่ พ่ิมหรอื เปล่ียนไป (ดา นที่๓) ปญญาจะทํางานและจะพัฒนาไดดีหรือไม (ดานท่ี ๓) ตองอาศัย

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๐๗อินทรีย เชน ดู ฟง อาศัยกายเคล่ือนไหว เชน เดินไป จับ จัด คน ฯลฯ ใชวาจาส่ือสารไถถามไดดีเพียงใด โดยมีทักษะแคไหน (ดานท่ี ๑) ตองอาศัยภาวะและคุณสมบัติของจิตใจ เชน ความสนใจ ใฝใจ ความมีใจเขมแข็งสูปญหา ความขยันอดทน ความรอบคอบ มีสติ ความมีใจสงบแนวแน มีสมาธิ หรอื ไมเ พยี งใด เปน ตน (ดานที่๒) น้ีคือการดําเนินไปของชีวิต ท่ีองคประกอบ ๓ ดานทํางานไปดวยกันอาศัยกัน ประสานกัน เปนปจจัยแกกัน ซ่ึงเปนความจริงของชีวิตน้ันตามธรรมดาของมัน เปนเรื่องของธรรมชาติ และจึงเปนเหตุผลท่ีบอกอยูในตัววาทาํ ไมจะตอ งแยกชีวิตหรือการดําเนนิ ชีวติ เปน ๓ ดา น จะแบงมากหรือนอยกวานีไ้ มไ ด เม่ือชีวติ ท่ดี ําเนนิ ไปมี ๓ ดา นอยา งนี้ การศึกษาท่ฝี กคนใหดําเนนิ ชีวิตไดด ี ก็ตองฝกฝนพฒั นาที่ ๓ ดานของชวี ิตนนั้ ดังนนั้ การฝกหรือศึกษา คือ สิกขา จึงแยกเปน ๓ สว น ดังท่ีเรียกวาไตรสิกขา เพ่ือฝกฝนพัฒนา ๓ ดานของชีวิตนั้น ใหตรงกัน แตเปนการพฒั นาพรอมไปดว ยกันอยางประสานเปน ระบบสัมพันธอนั หนึง่ อันเดยี วไตรสกิ ขา: ระบบการศกึ ษา ซ่ึงพัฒนาชีวิตทดี่ ําเนินไปท้งั ระบบ ในระบบการดาํ เนนิ ชีวติ ๓ ดา น ทกี่ ลาวแลวนั้น เมื่อศึกษาฝกชีวิต ๓ดานนั้นไปแคไหน ก็เปนอยูดําเนินชีวิตท่ีดีไดเทานั้น ฝกอยางไร ก็ไดอยางน้ัน หรอื สิกขาอยางไร กไ็ ดมรรคอยา งนนั้ สกิ ขา คอื การศึกษา ท่ฝี ก อบรมพัฒนาชีวิต ๓ ดานน้นั มีดงั นี้ ๑. สิกขา/การฝกศึกษา ดานสัมพันธกับส่ิงแวดลอม จะเปนส่ิงแวดลอมทางสังคม คือเพื่อนมนุษย ตลอดจนสรรพสัตว หรือสิ่งแวดลอมทางวัตถุ ก็ตาม ดวยอินทรีย (เชน ตา หู) หรือดวยกาย วาจา ก็ตาม เรียกวา

๑๐๘ ชีวิตท่สี รางสรรค สดใสและสขุ สนั ตศีล (เรยี กเตม็ วา อธสิ ีลสกิ ขา) ๒. สิกขา/การฝกศึกษา ดานจิตใจ เรียกวา สมาธิ (เรียกเต็มวาอธิจิตตสิกขา) ๓. สิกขา/การฝกศึกษา ดานปญญา เรียกวา ปญญา (เรียกเต็มวาอธิปญญาสกิ ขา) รวมความวา การฝกศึกษานั้น มี ๓ อยาง เรียกวา สิกขา ๓ หรือไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปญญา ซ่ึงพูดดวยถอยคําของคนยุคปจจุบันวาเปน ระบบการศึกษาท่ที าํ ใหบุคคลพัฒนาอยางมีบูรณาการ และใหมนุษยเปนองครวมทพี่ ฒั นาอยางมีดลุ ยภาพ เมื่อมองจากแงของสิกขา๓ จะเห็นความหมายของสิกขาแตละอยาง ดงั น้ี ๑. ศีล คอื สกิ ขาหรือการศึกษาที่ฝกในดานการสัมพันธติดตอปฏิบัติจัดการกับสิ่งแวดลอม ทั้งทางวัตถุและทางสังคม ทั้งดวยอินทรียตางๆ และดวยพฤติกรรมทางกาย-วาจา พูดอีกอยางหน่ึงวา การมีวิถีชีวิตท่ีปลอดเวรภัยไรก ารเบียดเบียน หรือการดาํ เนินชีวติ ทเี่ กือ้ กลู แกสงั คม และแกโลก ๒. สมาธิ คือ สิกขาหรือการศึกษาที่ฝกในดานจิต หรือระดับจิตใจไดแ กการพฒั นาคณุ สมบตั ติ า งๆ ของจติ ทงั้ – ในดานคุณธรรม เชน เมตตา กรณุ า ความมไี มตรี ความเห็นอกเห็นใจความเอ้ือเฟอเผื่อแผ ความสุภาพออนโยน ความเคารพ ความซ่ือสัตยความกตญั ู ในดานความสามารถของจิต เชน ความเขมแข็งม่ันคง ความเพียรพยายาม ความกลาหาญ ความขยัน ความอดทน ความรับผิดชอบ ความมุงมั่นแนว แน ความมีสติ สมาธิ และ ในดานความสุข เชน ความมีปติอ่ิมใจ ความมีปราโมทยราเริงเบิก

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๐๙บานใจ ความสดช่นื ผองใส ความรสู กึ พอใจ พูดส้ันๆ วา พัฒนาคุณภาพ สมรรถภาพ และสขุ ภาพของจติ ๓. ปญญา คือ สิกขาหรือการศึกษาที่ฝกหรือพัฒนาในดานการรูความจรงิ เร่ิมตั้งแตความเช่ือที่มีเหตุผล ความเห็นที่เขาสูแนวทางของความเปนจริง การรูจักหาความรู การรูจักคิดพิจารณา การรูจักวินิจฉัย ไตรตรองทดลอง ตรวจสอบ ความรูเขาใจ ความหยั่งรูเหตุผล การเขาถึงความจริงการนําความรมู าใชแกไ ขปญ หา และคิดการตา งๆ เฉพาะอยางย่ิง เนน การรตู รงตามความเปน จรงิ หรือรูเ ห็นตามทมี่ นั เปนตลอดจนรูแจงความจริงท่ีเปนสากลของส่ิงทั้งปวง จนถึงขั้นรูเทาทันธรรมดาของโลกและชีวิต ที่ทําใหมีจิตใจเปนอิสระ ปลอดปญหา ไรทุกข เขาถึงอิสรภาพโดยสมบูรณ หลกั ทง้ั ๓ ประการแหง ไตรสิกขา ที่กลาวมาน้ี เปนการศึกษาท่ีฝกคนใหเจริญพัฒนาข้ึนไปในองคประกอบทั้ง ๓ ดานของชีวิตท่ีดีงาม ที่ไดกลาวแลว ขางตน ยาํ้ อกี ครั้งหนง่ึ วา การฝกศกึ ษาทจี่ ะใหมชี วี ิตทีด่ ีงาม เปน สิกขา ชีวิตดีงามทีเ่ กิดจากการฝก ศกึ ษาน้นั เปนมรรคระบบแหงสกิ ขา เรมิ่ ดว ยจัดปรับพ้ืนท่ีใหพ รอมท่จี ะทาํ งานฝกศกึ ษา ไตรสิกขา เปนการศึกษา ๓ ดาน ที่พัฒนาชีวิตไปพรอมกันทั้งระบบแตถามองหยาบๆ เปนภาพใหญ ก็มองเห็นเปนการฝกศึกษาท่ีดําเนินไปใน๓ ดาน/ขน้ั ตอน ตามลําดับ (มองไดท้งั ในแงประสานกันและเปน ปจ จัยตอกนั ) ศีล เปนเหมือนการจัดปรับพ้ืนท่ีและบริเวณแวดลอม ใหสะอาดหมด

๑๑๐ ชวี ติ ทีส่ รางสรรค สดใสและสขุ สันตจดเรยี บรอ ยราบรน่ื แนนหนาม่ันคง มสี ภาพทพ่ี รอ มจะทาํ งานไดค ลองสะดวก สมาธิ เปนเหมือนการเตรยี มตวั ของผทู ํางานใหมีเรี่ยวแรงกําลังความถนดั จัดเจนท่พี รอมจะลงมือทํางาน ปญญา เปน เหมอื นอปุ กรณท จ่ี ะใชท ํางานนน้ั ๆ ใหส าํ เร็จ เชน จะตัดตน ไม: ไดพ นื้ เหยยี บยันท่ีแนนหนามน่ั คง(ศีล) + มกี ําลังแขนแขง็ แรงจบั มีดหรือขวานไดถนัดม่ัน (สมาธิ) + อุปกรณคือมีดหรือขวานท่ีใชตัดน้ันไดขนาดมคี ุณภาพดีและลับไวค มกริบ (ปญญา) Æไดผลคือตัดไมสําเร็จโดยไมยาก อีกอุปมาหนึ่งท่ีอาจจะชวยเสริมความชัดเจน บานเรือนที่อยูที่ทํางาน ฝาผุพื้นขรุขระหลังคารั่ว รอบอาคารถนนหนทางรกรุงรัง ท้ังเปนถ่ินไมปลอดภัย(ขาดศีล) Æการจัดแตง ต้ังวางสิ่งของเครื่องใช จะเตรียมตัวอยูหรือทํางาน อึดอัดขัดของ ไมพรอม ไมสบาย ไมม่ันใจไปหมด (ขาดสมาธิ) Æการเปนอยูและทํางานคิดการทั้งหลาย ไมอาจดําเนนิ ไปไดด ว ยดี(ขาดปญ ญา) Æชีวิตและงานไมสัมฤทธิ์ลจุ ดุ หมาย เน่ืองจากไตรสิกขา เปนหลักใหญท่ีครอบคลุมธรรมภาคปฏิบัติทั้งหมด ในที่น้ีจึงมิใชโอกาสท่ีจะอธิบายหลักธรรมหมวดน้ีไดมาก โดยเฉพาะขั้นสมาธิและปญญาท่ีเปนธรรมละเอียดลึกซึ้ง จะยังไมพูดเพ่ิมเติมจากท่ีไดอธิบายไปแลว แตในข้ันศีลจะพูดเพ่ิมอีกบาง เพราะเก่ียวของกับคนท่ัวไปมาก และจะไดเปนตัวอยางแสดงใหเห็นความสัมพันธระหวางสิกขาทั้ง ๓ดา นน้นั ดวย การฝกศกึ ษาในขัน้ ศีล มีหลักปฏิบตั ทิ ่สี าํ คญั ๔ หมวด คือหน่ึงหน่งึ ศีล ๔ หมวดนี้ ตามปกติทานแสดงไวเปนขอปฏิบัติของพระภิกษุ เรียกวา ปาริสุทธิศีล

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๑๑ ๑. วินัยบัญญัติ เปนเคร่ืองมือสําคัญข้ันแรกที่ใชในการฝกข้ันศีล มีต้ังแตวินัยแมบท** ขหนึ่ง องชุมชนใหญนอย ไปจนถึงวินัยสวนตัวในชวี ติ ประจําวัน วินัยบัญญัติ คือการจัดต้ังวางระบบระเบียบแบบแผนเกี่ยวกับการดําเนินชีวิต และการอยูรวมกันของหมูมนุษย เพื่อจัดปรับเตรียมสภาพชีวิตสังคมและส่ิงแวดลอม รวมท้ังลักษณะแหงความสัมพันธตางๆ ใหอยูในภาวะที่เหมาะและพรอมท่ีจะเปนอยู ปฏิบัติกิจ และดําเนินการตางๆ เพ่ือเก้ือหนุนกันใหกาวหนาไปอยางไดผลดีที่สุด สูจุดหมายของชีวิต ของบุคคลขององคกร ของชุมชน ตลอดจนของสังคมท้ังหมดไมวาในระดับใดๆโดยเฉพาะสําคัญที่สุด เพื่อเอ้ือโอกาสใหแตละบุคคลฝกศึกษาพัฒนาชีวิตของเขาใหประณีตประเสริฐ ที่จะไดประโยชนสูงสุดที่จะพึงไดจากการที่ไดมีชีวิตเปน อยู วินัยพ้ืนฐานหรือขั้นตนสุดของสังคมมนุษย ไดแก ขอปฏิบัติที่จะไมใหมีการเบยี ดเบียนกนั ๕ ประการ คือ ๑. เวน การทาํ รายรางกายทําลายชวี ิต ๒. เวนการละเมิดกรรมสทิ ธใิ์ นทรพั ยส ิน ๓. เวน การประพฤตผิ ิดทางเพศและละเมิดตอ คคู รองของผูอ ืน่ ๔ มีช่ือท่ีเรียงตามลําดับ คือ ๑. ปาติโมกขสังวรสีล ๒. อินทรียสังวรสีล ๓. อาชีวปาริสุทธิสีล และ ๔. ปจจัยสันนิสสิตสีล หรือ ปจจัยปฏิเสวนสีล (เชน วิสุทฺธิ.๑/๑๘–๕๖) ท่ีทานเรียงขอ ๓. ไว กอนขอ ๔. น้ัน เห็นไดวาเปนไปตามลําดับที่เปนจริง คือ ขอ ๓. เปนเร่ืองของปจจัยปริเยสนา คือ การแสวงหาปจจัย ซ่ึงมากอนปจจัยปฏิเสวนา คือการเสพปจจัย แตในที่นี้ มุงใหคฤหัสถนํามา ปฏิบัติใหเหมาะกับตนดวย โดยเริ่มตั้งแตวัยเด็ก จึงเรียกโดยชื่อท่ีคุนแกคนท่ัวไป และเรียงอาชีวะ เปน ขอ สุดทาย** วินัยแมบทของพระภกิ ษุ เรียกวา ภิกขปุ าตโิ มกข (ภิกขปุ าฏโิ มกข ก็ใช) หนึง่

๑๑๒ ชวี ติ ทสี่ รางสรรค สดใสและสุขสันต ๔. เวนการพูดเทจ็ ใหรายหลอกลวง และ ๕. เวนการเสพสุรายาเมาสิ่งเสพติด ที่ทําลายสติสัมปชัญญะ แลวนําไปสูการกอกรรมช่ัวอยางอื่น เริ่มต้ังแตคุกคามตอความรูสึกมั่นคงปลอดภยั ของผรู ว มสังคม ขอปฏิบัติพื้นฐานชุดน้ี ซึ่งเรียกงายๆ วา ศีล ๕ เปนหลักประกันที่รักษาสังคมใหม่ันคงปลอดภัย เพียงพอที่มนุษยจะอยูรวมกันเปนปกติสุขและดําเนินชีวิตทํากิจการตางๆ ใหเปนไปไดดวยดีพอสมควร นับวาเปนวินัยแมบ ทของคฤหสั ถ หรอื ของชาวโลกทง้ั หมด ไมค วรมองวินยั วาเปนการบบี บังคับจํากดั แตพ ึงเขาใจวาวินัยเปนการจัดสรรโอกาส หรือจัดสรรส่ิงแวดลอมหรือสภาวะทางกายภาพใหเอื้อโอกาสแกการที่จะดําเนินชีวิตและกิจการตางๆ ใหไดผลดีท่ีสุด ตั้งแตเร่ืองงายๆเชน การจัดส่ิงของเคร่ืองใชเตียงตั่งโตะเกาอี้ในบานใหเปนท่ีเปนทางทําใหหยบิ งายใชคลอ งนงั่ เดนิ ยืนนอนสะดวกสบาย การจัดเตรียมวางสงเครื่องมือผาตัดของศัลยแพทย การจัดระเบียบจราจรบนทองถนน วินัยของทหารวินยั ของขา ราชการ ตลอดจนจรรยาบรรณของวิชาชีพตา งๆ ในวงกวาง ระบบเศรษฐกิจ ระบบสังคม ระบบการเมืองการปกครองตลอดจนแบบแผนทุกอยางที่อยูตัวกลายเปนวัฒนธรรม รวมอยูในความหมายของคาํ วา “วินยั ” ทั้งส้ิน สาระของวินัย(บัญญัติ) คือ การอาศัย(ความรูใน)ธรรมคือความจริงของส่ิงทั้งหลายตามที่มันเปนอยู มาจัดสรรต้ังวางระเบียบระบบตางๆ ขึ้นเพ่อื ใหมนุษยไ ดป ระโยชนส งู สดุ จากธรรมคือความจรงิ นัน้ พระพุทธเจาทรงมุงจะใหคนจํานวนมาก ไดประโยชนจากธรรมที่พระองคไดตรัสรู จึงทรงตั้งชุมชนเรียกวาสังฆะข้ึน โดยบัญญัติวินัย คือจัดตง้ั วางระเบยี บระบบตางๆ ท่จี ะใหส งั ฆะนั้นเปน แหลงท่ีผสู มัครเขามา ไดมี

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๑๑๓ความเปนอยู มีวิถีชีวิต มีกิจหนาท่ี มีระบบการอยูรวมกัน การดําเนินกิจการงาน การสัมพันธกันเองและสัมพันธกับบุคคลภายนอก มีวิธีแสวงหาจัดสรรแบงปนและบริโภคปจจัย ๔ และการจัดสรรสภาพแวดลอมทุกอยางท่ีเอื้อเกื้อกูลเหมาะกัน พรอมทั้งปดก้ันชองโหวโอกาสท่ีจะกอเกื้อแกการท่ีเสื่อมเสียหาย ทําทุกอยางใหอํานวยโอกาสมากท่ีสุด แกการที่แตละบุคคลจะฝกศึกษาพัฒนาตน ใหเจริญในไตรสิกขากาวหนาไปในมรรค และบรรลุผลท่ีพึงไดจากชีวิตท่ีดีงามประเสริฐ เขาถึงธรรมสูงสุด ท้ังวิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันตินิพพาน กบั ทั้งใหชุมชนแหงสงั ฆะน้ันเปนแหลงแผธรรมเพ่ือขยายประโยชนสขุ ใหกวา งขวางออกไปโดยรอบและทั่วไปในโลก พูดสั้นๆ การจัดตั้งวางระเบียบระบบแกชุมชนหรือสังฆะดังวาน้ี คือวินยั โดยนัยนี้ วินัย(บัญญัติ) จึงเปนจุดเร่ิมตนในกระบวนการฝกศึกษาพัฒนามนุษย เปนกระบวนการพื้นฐานในการฝกพฤติกรรมที่ดี และจัดสรรสภาพแวดลอม ท่ีจะปองกันไมใหมีพฤติกรรมที่ไมดี แตใหเอ้ือตอการมีพฤติกรรมที่ดีที่พึงประสงค พรอมท้ังฝกคนใหคุนกับพฤติกรรมที่ดี จนพฤตกิ รรมเคยชินทีด่ นี น้ั กลายเปน พฤติกรรมเคยชินและเปน วิถชี ีวิตของเขาตลอดจนการจัดระเบียบระบบทั้งหลายท้ังปวงในสังคมมนุษยเพื่อใหเกิดผลเชนนัน้ เม่ือใดการฝกศึกษาไดผล จนพฤติกรรมที่ดีตามวินัย กลายเปนพฤตกิ รรมเคยชิน อยตู ัว หรอื เปนวิถชี วี ติ ของบุคคล เมื่อน้ันกเ็ กิดเปนศลีชีวติ ทัง้ ๓ ดา น การศึกษาทั้ง ๓ ข้ัน ประสานพรอ มไปดวยกนั ๒. อินทรียสังวร แปลตามแบบวา การสํารวมอินทรีย หมายถึง

๑๑๔ ชีวติ ท่ีสรา งสรรค สดใสและสขุ สนั ตการใชอินทรีย เชน ตาดู หูฟง อยางมีสติ มิใหถูกความโลภ ความโกรธความแคนเคือง ความหลง ความริษยา เปนตน เขามาครอบงํา แตใชใหเปนใหไดประโยชน โดยเฉพาะใหเกดิ ปญ ญา รูความจริง และไดขอมูลขาวสารตรงตามสภาวะ ทจ่ี ะนําไปใชในการแกปญ หาและทําการสรางสรรคต า งๆ ตอไป ควรทราบวา เพ่อื ความเขาใจงายสาํ หรับคนท่วั ไป โดยสรปุ อนิ ทรยี คือ ตา หู จมกู ล้ิน กาย ใจ ทาํ หนา ที่ ๒ อยาง คือ ๑) หนา ที่รู คอื รับรูขอ มลู ขาวสาร เชน ตาดู รูวา เปนอะไร วา เปนนาฬิกา เปน กลอ งถา ยรูป เปนดอกไม ใบไมสเี ขียว สีแดง สเี หลือง รปู รางยาวสั้นใหญเ ล็ก หูไดย ินเสยี งวา ดัง เบา เปนถอ ยคาํ สื่อสารวาอยา งไร เปนตน ๒) หนาที่รูสึก หรือรับความรูสึก พรอมกับรับรูขอมูลเราก็มีความรูสกึ ดวย บางทตี วั เดนกลบั เปน ความรสู ึก เชน เห็นแลวรูสึกสบายหรือไมส บาย ถูกตาไมถ กู ตา สวยหรือนาเกลยี ด ถกู หูไมถกู หู เสียงนุมนวลไพเราะหรอื ดงั แสบแกวหูราํ คาญ เปนตน • หนา ทด่ี านรู เรยี กงายๆ วา ดา นเรียนรู หรือศกึ ษา • หนาทีด่ า นรสู ึก เรยี กงา ยๆ วา ดา นเสพ พูดสั้นๆ วา อินทรียทําหนาที่ ๒ อยา ง คือ ศึกษา กับ เสพ ถาจะใหชีวิตของเราพัฒนา จะตองใชอินทรียเพื่อรูหรือศึกษาใหมากมนุษยท่ีไมพัฒนา จะใชอินทรียเพื่อเสพความรูสึกเปนสวนใหญ บางทีแทบไมใชเพื่อการศึกษาเลย เมือ่ มุง แตจะหาเสพความรสู กึ ท่ถี กู หู ถกู ตา สวยงามสนุนสนานบันเทิง เปนตน ชีวิตก็วุนวายอยูกับการว่ิงไลหาส่ิงที่ชอบใจ และดิ้นรนหลีกหนีส่ิงท่ีไมชอบใจ วนเวียนอยูแคความชอบใจ-ไมชอบใจ รัก-ชังติดใจ-เกลียดกลัว หลงใหล-เบ่ือหนาย แลวก็ฝากความสุขความทุกขของตนไวใหข นึ้ กบั ส่งิ เสพบรโิ ภค

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๑๑๕ เม่อื เวลาผา นไป ชีวิตท่ีไมไดฝก ฝนพฒั นา กไ็ มเหน็ ประจักษศักยภาพที่ตนมี และไมมีอะไรที่จะใหแกโลกน้ี หรือแกสังคม การเกิดมาไดเสพกลายเปน ความสญู เปลา ถาไมมัวหลงติดอยกู ับการหาเสพความรสู ึก ทเ่ี ปน ไดแคน ักบริโภค แตรูจักใชอนิ ทรียเ พือ่ ศึกษา สนองความตองการรูหรือความใฝรู กจ็ ะใชตา หูเปนตน ไปในทางการเรยี นรู และจะพฒั นาไปเรื่อยๆ ปญญาจะเจริญงอกงามความใฝรูใ ฝสรางสรรคจ ะเกิดข้ึน กลายเปน นักผลิตนักสรา งสรรค และจะไดพบกบั ความสขุ อยา งใหมๆ ทพี่ ฒั นาขยายขอบเขตและประณีตย่งิ ขนึ้ พรอ มกับความใฝรูใฝส รางสรรคท กี่ าวหนา ไป เปน ผูมชี วี ติ ทด่ี ีงาม และมคี ณุ คาแกสังคม ๓. ปจจัยปฏิเสวนา คือการเสพบริโภคปจจัย ๔ รวมท้ังสิ่งของเครอื่ งใชท ้งั หลาย ตลอดจนเทคโนโลยี ศีลในเรื่องนี้ คือการฝกศึกษาใหรูจักใชสอยเสพบริโภคสิ่งตางๆ ดวยปญญาท่ีรูเขาใจคุณคาหรือประโยชนที่แทจริงของส่ิงน้ันๆ เร่ิมตั้งแตอาหาร ก็พิจารณารูเขาใจความจริงวา รับประทานเพื่อเปนเคร่ืองหลอเลี้ยงชีวิต ใหรางกายมสี ขุ ภาพแข็งแรง ชว ยใหสามารถดาํ เนนิ ชีวติ ทดี่ ีงาม อยางทตี่ รัสไวว า ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยน้ี พิจารณาโดยแยบคาย แลว จึงเสพ(นุงหม)จีวร เทาท่ีวา เพ่ือปองกันความหนาว รอน สัมผัสแหง เหลือบ ยุง ลม แดด และสัตวเล้ือยคลาน เทาที่วา เพ่ือ ปกปด อวัยวะทคี่ วรละอาย พิจารณาโดยแยบคายแลว จึงเสพ(ฉัน)อาหารบิณฑบาต มิใชเพ่ือสนุก มิใชเพ่ือมัวเมา มิใชเพื่อสวยงาม มิใชเพ่ือโออวด แตเสพ(ฉัน) เทาที่วา เพ่ือใหรางกายนี้ดํารงอยูได เพ่ือยังชีวิตให เปนไป เพื่อระงับความหิว เพ่ือเก้ือหนุนชีวิตที่ประเสริฐ ดวยการ ปฏิบัติดังน้ี เราจะกําจัดเวทนาเกา (ความไมสบายเพราะความหิว)

๑๑๖ ชีวิตท่ีสรางสรรค สดใสและสุขสนั ต เสียดวย จะไมใหเวทนาใหม (เชนความอึดอัด แนน จุกเสียด) เกิดข้นึ ดวย เรากจ็ ะมีชีวติ ดาํ เนินไป พรอมทั้งความไมม โี ทษ และ ความอยูผ าสกุ หนึ่ง การบริโภคดวยปญญาอยางนี้ ทานเรียกวาเปนการรูจักประมาณในการบริโภค หรือการบริโภคพอดี หรือกินพอดี เปนการบริโภคท่ีคุมคา ไดประโยชนอ ยางแทจริง ไมสิ้นเปลือง ไมสูญเปลา และไมเกิดโทษ อยางท่ีบางคนกนิ มาก จา ยแพง แตก ลับเปน โทษแกร างกาย เมื่อจะซ้ือหาหรือเสพบริโภคอะไรก็ตาม ควรฝกถามตัวเองวา เราจะใชมันเพ่ืออะไร ประโยชนที่แทจริงของส่ิงนี้คืออะไร แลวซ้ือหามาใชใหไดประโยชนท่ีแทจริงนั้น ไมบริโภคเพียงดวยตัณหาและโมหะ เพียงแคต่ืนเตนเห็นแกความโกเก เหิมเหอไปตามกระแสคานิยมเปนตน โดยไมไดใชปญญาเลย พึงระลึกไววา การเสพบริโภค และเร่ืองเศรษฐกิจท้ังหมด เปนปจจัยคือเปนเคร่ืองเกื้อหนุนการพัฒนาชีวิตที่ดีงาม ไมใชเปนจุดหมายของชีวิตชีวิตมใิ ชจบที่น่ี ชีวติ ไมใชอยูแคน ้ี เมื่อปฏิบัติถูกตองตามหลักนี้ ก็จะเปนคนท่ีกินอยูเปน เปนผูมีศีลอีกขอ หนง่ึ ๔. สัมมาอาชีวะ คือการหาเล้ียงชีพโดยทางชอบธรรม ซ่ึงเปนศีลขอ สาํ คัญอยา งหนงึ่ เม่ือนํามาจัดเขาชดุ ศีล ๔ ขอนี้ และเนนสําหรับพระภิกษุทานเรียกวา “อาชีวปาริสุทธิ” (ความบริสุทธ์ิแหงอาชีวะ) เปนเร่ืองของความสุจริตเกี่ยวกับ ปจจัยปริเยสนา คือการแสวงหาปจจัย (ตอเน่ืองกับขอ ๓ปจ จยั ปฏเิ สวนา คือการใชสอยเสพบรโิ ภคปจ จัย) ศีลขอน้ี ในขั้นพ้ืนฐาน หมายถึงการเวนจากมิจฉาชีพ ไมประกอบหน่งึ ม.มู.๑๒/๑๔/๑๗

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๑๗อาชีพท่ผี ิดกฎหมาย ผดิ ศลี ธรรม แตหาเล้ยี งชีพโดยทางสจุ รติ วาโดยสาระ คือ ไมประกอบอาชีพท่ีเปนการเบียดเบียน กอความเดือดรอนเสียหายแกชีวิตอ่ืน และแกสังคม หรือที่จะทําชีวิต จิตใจ และสังคมใหเสื่อมโทรมตกต่ํา ดังน้ันสําหรับคฤหัสถ จึงมีพุทธพจนแสดงอกรณียวณิชชา คือการคาขายที่อุบาสกไมพึงประกอบ ๕ อยางหนึ่ง ไดแกการคาอาวุธ การคามนุษย การคาสัตวขายเพื่อฆาเอาเน้ือ การคาของเมา(รวมทง้ั สง่ิ เสพตดิ ทง้ั หลาย) และการคา ยาพษิ เม่ือเวนมิจฉาชีพ ก็ประกอบสัมมาชีพ ซึ่งเปนการงานที่เปนไปเพ่ือแกปญหาและชวยสรางสรรคเก้ือกูลแกชีวิตและสังคมอยางใดอยางหนึ่ง อันจะทําใหเกดิ ปติและความสุขไดทุกเวลา ไมวาระลึกนึกขึ้นมาคราวใด ก็อิ่มใจภูมิใจวาเราไดทําชีวิตใหมีคุณคาไมวางเปลา ซ่ึงจะเปนปจจัยหนุนใหเจริญกาวหนา ย่ิงขึน้ ไปในมรรค โดยเฉพาะระดับจิตใจหรอื สมาธิ สัมมาชีพ นอกจากเปนอาชีพการงานที่เปนประโยชนแกชีวิตและสังคมแลว ยังเปนประโยชนในดานการศึกษาพัฒนาชีวิตของตนเองดวย ซ่ึงผูทํางานควรต้ังใจใชเปนโอกาสในการพัฒนาตน เชน เปนแดนฝกฝนพัฒนาทักษะตางๆ ฝกกายวาจากิริยามารยาท พัฒนาความสามารถในการสื่อสารสัมพันธกับเพื่อนมนุษย ฝกความเขมแข็งขยันอดทน ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความมีฉันทะ มีสติ และสมาธิ พัฒนาความสุขในการทํางานและพัฒนาดานปญญา เรียนรูจากทุกสิ่งทุกเรื่องท่ีเกี่ยวของเขามา คิดคนแกไ ขปรับปรงุ การงาน และการแกป ญหาตางๆ ทั้งนี้ ในความหมายท่ีลึกลงไป การเลี้ยงชีวิตดวยสัมมาชีพ ทานรวมถึงความขยันหม่ันเพียร และการปฏิบัติใหไดผลดีในการประกอบอาชีพหน่ึง อง.ฺ ปฺจก.๒๒/๑๗๗/๒๓๓

๑๑๘ ชวี ิตท่สี รา งสรรค สดใสและสขุ สันตท่ีสจุ รติ เชน ทํางานไมใ หค่ังคา งอากลู เปน ตน ดวย อาชีพการงานน้ัน เปนกิจกรรมที่ครองเวลาสวนใหญแหงชีวิตของเราถาผูใดมีโยนิโสมนสิการ คิดถูก ปฏิบัติถูก ตออาชีพการงานของตนนอกจากไดบําเพ็ญประโยชนเปนอันมากแลว ก็จะไดประโยชนจากการงานนั้นๆ มากมาย ทําใหงานน้ันเปนสวนแหงสิกขา เปนเคร่ืองฝกฝนพัฒนาชีวิตของตนใหก าวไปในมรรคไดด วยดี การฝกศึกษาในดานและในขั้นศีล ๔ ประเภท ที่กลาวมานี้ จะตองเอาใจใสใหความสาํ คัญกันใหมาก เพราะเปนท่ีทรงตัวปรากฏตัวของวิถีชีวิตดีงามที่เรียกวามรรค และเปนพื้นฐานของการกาวไปสูสิกขาคือการศึกษาที่สูงข้ึนไปถาขาดพ้ืนฐานน้ีแลว การศึกษาขน้ั ตอ ไปก็จะงอ นแงนรวนเร เอาดีไดย าก สวนสิกขาดานจิตหรือสมาธิ และดานปญญา ท่ีเปนเรื่องลึกละเอียดกวา งขวางมาก จะยังไมก ลา วเพม่ิ จากทีพ่ ูดไปแลว กอนจะผานไป มีขอควรทําความเขาใจที่สําคัญในตอนนี้ ๒ ประการคอื ๑. ในแงไตรสิกขา หรือในแงความประสานกันของสิกขาท้ัง ๓ ไดกลาวแลววา ชีวิตคนทั้ง ๓ ดาน คือ การสัมพันธกับโลก จิตใจ และความรูความคิด ทํางานประสานเปนปจจัยแกกัน ดังนั้น การฝกศึกษาท้ัง ๓ ดานคือ ศีล สมาธิ และปญ ญา ก็จึงดําเนินไปดวยกนั ท่ีพูดวา สิกขา/ฝกศึกษาขั้นศีลน้ี มิใชหมายความวาเปนเรื่องของศีลอยางเดียว แตหมายความวา ศีลเปนแดนหรือดานท่ีเรากําลังเขามาปฏิบัติจัดการหรอื ทําการฝก อยใู นตอนน้ีขณะนี้ แตตัวทาํ งานหรือองคธ รรมท่ที ํางานในการฝก กม็ ีครบทง้ั ศีล สมาธิ และปญญา ถามองดูใหดี จะเห็นชัดวา ตัวทํางานสําคัญๆ ในการฝกศีลนี้ ก็คือ

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๑๑๙องคธรรมฝายจิตหรอื สมาธิ และองคธ รรมฝา ยปญ ญา ดูงายๆ ท่ีศีลขออินทรียสังวรน้ัน ตัวทํางานหลักก็คือสติ ซ่ึงเปนองคธรรมฝายจิตหรือหมวดสมาธิ และถาการฝกศึกษาตรงนี้ถูกตอง ก็ปญญานน่ั แหละท่ที าํ งานมาก มาใชประโยชนแ ละเดินหนา พูดดวยภาษางายๆ วา ในข้ันศีลน้ี ธรรมฝายจิต/สมาธิ และปญญามาทํางานกบั เร่อื งรูปธรรม ในแดนของศีล เพ่ือชวยกันฝกฝนพัฒนาศีล และในการทาํ งานนี้ ทั้งสมาธิและปญ ญาก็ฝก ศึกษาพัฒนาตัวมนั เองไปดวย ในขั้นหรือดานอ่ืนๆ ก็เชนเดียวกัน ท้ังศีล สมาธิ และปญญา ตางก็ชวยกันรว มกนั ทํางานประสานกันตามบทบาทของตนๆ ๒. ในแงมรรค หรือในแงคุณสมบัติภายในของชีวิต ขณะท่ีมีการฝกศึกษาดวยไตรสิกขานั้น ถามองเขาไปในชีวิตที่ดําเนินอยู คือมรรคท่ีรับผลจากการฝกศกึ ษาของสกิ ขา ก็จะเหน็ วา กระบวนธรรมของการดําเนินชีวิตก็กาวไปตามปกติของมัน โดยมีปญญาในช่ือวาสัมมาทิฏฐิเปนผูนํากระบวนของชีวิตน้ันทั้ง ๓ ดาน สัมมาทิฏฐินี้มองเห็นรูเขาใจอยางไรเทาไร ก็คิดพูดทําดาํ เนินชีวติ ไปในแนวทางนน้ั อยา งน้ัน และไดแคน้นั แตเม่ือการฝกศึกษาของไตรสิกขาดําเนินไป ปญญาชื่อสัมมาทิฏฐินั้นก็พัฒนาตัวมันเองดวยประสบการณท้ังหลายจากการฝกศึกษาน้ัน เฉพาะอยางย่ิงดวยการทํางานคิดวิจัยสืบคนไตรตรองของสัมมาสังกัปปะ ทําใหมองเห็นรูเขาใจกวางลึกชัดเจนทั่วตลอดถึงความจริงยิ่งขึ้นๆ แลวก็จัดปรับนํากระบวนธรรมกา วหนา ใหเปน มรรคท่ีสมบรู ณใ กลจดุ หมายย่งิ ข้ึนๆ ไปการศกึ ษาจะดําเนนิ ไป มีปจ จยั ชวยเกอื้ หนนุ ขอยอนย้ําวา มรรค คือการดําเนินชีวิตหรือวิถีชีวิตที่ดี แตจะดําเนินชีวิตดีไดก็ตองมีการฝกฝนพัฒนา ดังน้ันจึงตองมีการฝกศึกษาท่ีเรียกวา

๑๒๐ ชวี ิตที่สรา งสรรค สดใสและสขุ สนั ตสิกขา มรรค เปนจุดหมายของ สิกขา การที่ใหมีไตรสิกขา ก็เพื่อใหคนมีชีวติ ท่ีเปนมรรค และกาวไปในมรรคนั้น ดวยการฝกตามระบบแหงไตรสิกขา องค ๘ ของมรรคจะเกิดขึ้นเปนคุณสมบัติของคน และเจริญพัฒนา ทําใหมีชีวิตดี ที่เปนมรรค และกาวไปในมรรคนัน้ อยา งไรกด็ ี กระบวนการแหงสิกขา มิใชวาจะเร่ิมขึ้นมาและคืบหนาไปเองลอยๆ แตต องอาศยั ปจจยั เก้ือหนนุ หรือชว ยกระตนุ เนื่องจากปจจัยท่ีวานี้เปนตัวนําเขาสูสิกขา จึงจัดวาอยูในขั้นกอนมรรค และการนําเขาสูสิกขานี้เปนเรื่องสําคัญมาก ดวยเหตุน้ีจึงทําใหแบงกระบวนการแหงการศึกษาออกเปน ๒ ข้ันตอนใหญ คือ ข้ันนําเขาสูสิกขาและ ขนั้ ไตรสิกขา ๑. ข้ันนาํ สสู ิกขา หรือ การศกึ ษาจัดต้ัง ข้ันกอนท่ีจะเขาสูไตรสิกขา เรียกอีกอยางหนึ่งวา ข้ันกอนมรรคเพราะมรรค หรือเรียกใหเต็มวามรรคมีองค ๘ น้ัน ก็คือ วิถีแหงการดําเนินชีวิต ที่เกดิ จากการฝก ศึกษาตามหลักไตรสิกขาน่ันเอง เมื่อมองในแงของมรรค ก็เริ่มจากสัมมาทิฏฐิ คือความเห็นชอบ ซ่ึงเปนปญ ญาในระดบั หน่ึง ปญญาในข้ันนี้ เปนความเช่ือและความเขาใจในหลักการทั่วๆ ไปโดยเฉพาะความเชือ่ วาสง่ิ ทง้ั หลายเปน ไปตามเหตปุ จจัย หรือการถือหลักการแหงเหตุปจจัย ซึ่งเปนความเช่ือท่ีเปนฐานสําคัญของการศึกษา ท่ีจะทําใหมีการพัฒนาตอไปได เพราะเม่ือเช่ือวาสิ่งทั้งหลายเปนไปตามเหตุปจจัย พอมีอะไรเกิดขึ้น ก็ตองคิดคนสืบสาวหาเหตุปจจัย และตองปฏิบัติใหสอดคลอง

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๒๑กับเหตปุ จจยั เชนทําเหตปุ จจยั ท่ีจะใหเ กดิ ผลท่ตี อ งการ การศึกษาก็เดินหนา ในทางตรงขาม ถามีทิฏฐิความคิดเห็นเช่ือถือท่ีผิด ก็จะตัดหนทางที่จะพัฒนาตอไป เชน ถาเช่ือวาส่ิงทั้งหลายจะเปนอยางไรก็เปนไปเองแลวแตโชค หรือเปนเพราะการดลบันดาล คนก็ไมตองศึกษาพัฒนาตน เพราะไมรูจะพัฒนาไปทาํ ไม ดังน้ัน ในกระบวนการฝกศึกษาพัฒนาคน เมื่อเริ่มตนจึงตองมีปญญาอยูบาง น่ันคือปญญาในระดับของความเชื่อในหลักการที่ถูกตอง ซึ่งเม่อื เชอ่ื แลว ก็จะนําไปสกู ารศึกษา คราวนี้ ส่ิงที่ตองพิจารณาตอไป ก็คือ สัมมาทิฏฐิ ซ่ึงเปนฐานหรือเปนจุดเร่ิมใหคนมีการศึกษาพัฒนาตอไปไดนี้ จะเกิดขึ้นในตัวบุคคลไดอยา งไร หรือทําอยา งไรจะใหบ คุ คลเกดิ มีสมั มาทฏิ ฐิ ในเรื่องน้ี พระพุทธเจาไดตรัสแสดง ปจจัยแหงสัมมาทิฏฐิ ๒ อยางหนงึ่คือ ๑. ปจจยั ภายนอก ไดแ ก ปรโตโฆสะ ๒. ปจจยั ภายใน ไดแ ก โยนโิ สมนสกิ าร ตามหลักการน้ี การมีสัมมาทิฏฐิอาจเริ่มจากปจจัยภายนอก เชน พอแม ครูอาจารย ผูใหญ หรือวัฒนธรรม ซ่ึงทําใหบุคคลไดรับอิทธิพลจากความเช่ือ แนวคดิ ความเขาใจ และภมู ธิ รรมภมู ปิ ญ ญา ท่ถี ายทอดตอกนั มา ถาสิ่งที่ไดรับจากการแนะนําส่ังสอนถายทอดมานั้นเปนส่ิงที่ดีงามถูกตอง อยูในแนวทางของเหตุผล ก็เปนจุดเร่ิมของสัมมาทิฏฐิ ที่จะนําเขาสูกระแสการพัฒนาหรือกระบวนการฝกศึกษา ในกรณีอยางน้ี สัมมาทิฏฐิเกิดจากปจ จยั ภายนอกท่เี รียกวา ปรโตโฆสะ ถาไมเชนนั้น บุคคลอาจเขาสูกระแสการศึกษาพัฒนาโดยเกิดปญญาหน่งึ อง.ฺ ทุก.๒๐/๓๗๑/๑๑๐

๑๒๒ ชีวิตท่ีสรา งสรรค สดใสและสขุ สนั ตท่ีเรียกวาสัมมาทิฏฐินั้น ดวยการใชโยนิโสมนสิการ คือการรูจักคิด รูจักพิจารณาดว ยตนเอง แตคนสวนใหญจะเขาสูกระแสการศึกษาพัฒนาดวยปรโตโฆสะเพราะคนท่ีมีโยนโิ สมนสกิ ารแตแ รกเรม่ิ นน้ั หาไดยาก “ปรโตโฆสะ” แปลวา เสยี งจากผอู ่นื คอื อทิ ธิพลจากภายนอก เปนคําท่ีมีความหมายกลางๆ คืออาจจะดีหรือช่ัว ถูกหรือผิดก็ได ถาปรโตโฆสะ นั้นเปนบุคคลท่ีดี เราเรียกวา กัลยาณมิตร ซ่ึงเปนปรโตโฆสะชนิดท่ีมีคุณภาพโดยเฉพาะที่ไดเลือกสรรกลนั่ กรองแลว เพ่อื ใหม าทํางานในดานการศกึ ษา ถาบุคคลและสถาบันท่ีมีบทบาทสําคัญมากในสังคม เชน พอแม ครูอาจารย ส่ือมวลชน และองคกรทางวัฒนธรรม เปนปรโตโฆสะที่ดี คือเปนกัลยาณมติ ร ก็จะนาํ เดก็ ไปสสู มั มาทฏิ ฐิ ซง่ึ เปนฐานของการพัฒนาตอไป อยางไรกต็ าม คนทีพ่ ัฒนาดีแลวจะมคี ณุ สมบตั ทิ ่ีสาํ คัญ คือ พ่ึงตนไดโดยมีอิสรภาพ แตคุณสมบัติน้ีจะเกิดข้ึนตอเมื่อเขารูจักใชปจจัยภายในเพราะถา เขายังตองอาศยั ปจจยั ภายนอก ก็คือ การที่ยังตองพ่ึงพา ยังไมเปนอิสระ จึงยงั ไมส ามารถพ่งึ ตนเองได ดังนน้ั จุดเนนจงึ อยูท่ปี จ จยั ภายใน แตเราอาศัยปจจัยภายนอกมาเปนสื่อในเบ้ืองตน เพื่อชวยจัดสรรสิ่งแวดลอมที่เอ้ือและปจจัยเก้ือหนุนทั้งหลาย โดยเฉพาะการที่จะชักนําใหผูเรยี นสามารถใชโ ยนิโสมนสกิ าร ทีเ่ ปน ปจจยั ภายในของตวั เขาเอง เม่ือรูหลกั น้ีแลว เราก็ดําเนินการพัฒนากัลยาณมิตรขึ้นมาชวยชักนําคนใหรจู ักใชโ ยนิโสมนสิการ นอกจากปรโตโฆสะท่ีเปนกัลยาณมิตร และโยนิโสมนสิการ ซึ่งเปนองคประกอบหลัก ๒ อยางน้ีแลว ยังมีองคประกอบเสริมที่ชวยเก้ือหนุนในข้นั กอนเขา สูมรรคอีก ๕ อยาง จึงรวมท้งั หมดมี ๗ ประการ

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๑๒๓ องคธรรมเก้ือหนุนทั้ง ๗ ท่ีกลาวมาน้ัน มีช่ือเรียกวาบุพนิมิตของมรรคหนง่ึ เพราะเปนเคร่ืองหมายบงบอกลวงหนาถึงการท่ีมรรคจะเกิดขึ้นหรือเปนจุดเร่ิมท่ีจะนําเขาสูมรรค อาจเรียกเปนภาษางายๆ วา แสงเงินแสงทองของ(วิถี)ชีวิตท่ีดีงาม หรือเรียกในแงสิกขาวา รุงอรุณของการศึกษา ดังน้ี ๑. กัลยาณมิตตตา (มีกัลยาณมิตร=แสวงแหลงปญญาและแบบอยา งทีด่ ี) ไดแก ปรโตโฆสะท่ีดี ซง่ึ เปนปจจยั ภายนอก ทีไ่ ดก ลาวแลว ๒. ศีลสัมปทา (ทําศีลใหถึงพรอม=มีวินัยเปนฐานของการพัฒนาชีวิต) คือ ประพฤติดี มีวินัย มีระเบียบในการดําเนินชีวิต ตั้งอยูในความสจุ รติ และมีความสมั พันธท างสงั คมทดี่ ที เี่ กือ้ กลู ๓. ฉันทสัมปทา (ทําฉันทะใหถึงพรอม=มีจิตใจใฝรูใฝสรางสรรค)คือ พอใจใฝรักในความรู อยากรูใหจริง และปรารถนาจะทําสิ่งท้ังหลายใหดี *งาม สอง ๔. อัตตสัมปทา (ทําตนใหถึงพรอม=มุงม่ันฝกตนจนเต็มสุดภาวะที่ความเปนคนจะใหถ ึงได) คอื การทําตนใหถ งึ ความสมบูรณแหงศักยภาพของความเปน มนษุ ย โดยมจี ติ สํานกึ ในการทีจ่ ะฝก ฝนพัฒนาตนอยเู สมอหนงึ่ ข.ุ ม.๑๙/๑๒๙-๑๓๗/๓๖–๓๗ (คําแปลแบบชวยจาํ นํามาจากหนงั สอื ธรรมนูญชีวิต พ.ศ.๒๕๔๒)ฉันทะ* เปนธรรมท่ีสําคัญยิ่งอยางหนึ่ง มีความหมายเปนภาษาบาลีวา “กตฺตุกมฺยตา” สองแปลวา ความเปนผใู ครเพอ่ื จะทํา คอื ตองการทํา หรืออยากทํา ไดแกการมีความปรารถนาดีตอทุกสิ่งทุกอยางท่ีพบเห็นเก่ียวของ และอยากจะทําใหสิ่งนั้นๆ ดีงามสมบูรณเต็มตามภาวะท่ีดที สี่ ุดของมันฉันทะ เปนธรรมท่ีพัฒนาโดยอาศัยปญญา และพึงพัฒนาข้ึนมาแทนท่ี หรืออยางนอยใหดุลกับ ตัณหา (ความอยากเกี่ยวกับตัวตน เชน อยากได อยากเสพ อยากเปน อยากคงอยตู ลอดไป อยากสญู สลายหรืออยากทาํ ลาย)

๑๒๔ ชวี ติ ทสี่ รางสรรค สดใสและสขุ สันต ๕. ทิฏฐิสัมปทา (ทําทิฏฐิใหถึงพรอม=ถือหลักเหตุปจจัยมองอะไรๆตามเหตุและผล) คือ มีความเช่ือท่ีมีเหตุผล ถือหลักความเปนไปตามเหตุปจจัย ๖. อัปปมาทสัมปทา (ทําความไมประมาทใหถึงพรอม=ตั้งตนอยูในความไมประมาท) คือ มีสติครองตัว เปนคนกระตือรือรน ไมเฉื่อยชา ไมปลอยปละละเลย โดยเฉพาะมีจิตสํานึกตระหนักในความเปล่ียนแปลง ซ่ึงทาํ ใหเ ห็นคุณคาของกาลเวลา และรูจ กั ใชเวลาใหเ ปน ประโยชน ๗.โยนิโสมนสิการสัมปทา (ทําโยนิโสมนสิการใหถึงพรอม=ฉลาดคิดแยบคายใหไดประโยชนและความจริง) รูจักคิด รูจักพิจารณา มองเปน คิดเปน เห็นส่ิงท้ังหลายตามที่มันเปนไป ในระบบความสัมพันธแหงเหตุปจจัยรูจักสอบสวนสืบคนวิเคราะหวิจัย ใหเห็นความจริง หรือใหเห็นแงดานที่จะทําใหเปนประโยชน สามารถแกไขปญหาและจัดทําดําเนินการตางๆ ใหสําเร็จไดดวยวิธีการแหงปญญา ที่จะทําใหพ่ึงตนเองและเปนท่ีพึ่งของคนอ่ืนได ในการศึกษานั้น ปจจัยตัวแรก คือกัลยาณมิตร อาจชวยชักนํา หรือกระตนุ ใหเ กิดปจ จยั ตัวอ่ืน ตง้ั แตต ัวที่ ๒ จนถึงตวั ที่ ๗ การที่จะมกี ลั ยาณมิตรนน้ั จดั แยกไดเ ปนการพัฒนา ๒ ขัน้ ตอน ขั้นแรก กัลยาณมิตรนั้นเกิดจากผูอ่ืนหรือสังคมจัดให ซ่ึงจะทําใหเดก็ อยูในภาวะท่ีเปนผรู ับ และยังมีการพ่งึ พามาก ข้ันท่ีสอง เมื่อเด็กพัฒนามากขึ้น คือรูจักใชโยนิโสมนสิการแลว เด็กจะมองเห็นคุณคาของแหลงความรู และนิยมแบบอยางที่ดี แลวเลือกหากัลยาณมิตรเอง โดยรูจักปรึกษาไตถาม เลือกอานหนังสือ เลือกชมรายการโทรทัศนท ดี่ มี ีประโยชน เปนตน

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๑๒๕ พัฒนาการในข้ันที่เด็กเปนฝายเลือกคบหากัลยาณมิตรเองน้ี เปนความหมายของความมีกัลยาณมิตรที่ตองการในท่ีน้ี และเมื่อถึงข้ันนี้แลวเด็กจะทําหนาที่เปนกัลยาณมิตรของผูอ่ืนไดดวย อันนับเปนจุดสําคัญของการทจี่ ะเปนผูมีสว นรว มในการสรางสรรคแ ละพัฒนาสงั คม ถาบุคคลมปี จ จยั ๗ ขอนแ้ี ลว ก็เช่อื ม่ันไดวา เขาจะมีชีวิตที่ดีงาม และกระบวนการศึกษาจะเกิดข้นึ อยางแนนอน เพราะปจจัยเหลาน้ีเปนสวนขยายของมรรค หรือของไตรสิกขานั้นเอง ท่ียื่นออกมาเช่ือมตอเพ่ือรับหรือดึงคนเขาสูกระบวนการฝกศึกษาพัฒนา โดยเปนทั้งตัวชักนําเขาสูไตรสิกขา และเปน ตวั เรง และคอยเสริมใหก ารฝกศึกษาของไตรสิกขาเดนิ หนาไปดว ยดีการศกึ ษา[ทส่ี งั คม]จดั ต้งั ตองไมบดบงั การศึกษาท่ีแทข องชวี ิต การศึกษาที่จัดทํากันอยางเปนงานเปนการ เปนกิจการของรัฐของสังคม ก็คือการยอมรับความสําคัญและดําเนินการในขั้นของ ปจจัยขอที่ ๑คอื ความมีกลั ยาณมติ ร ทีเ่ ปน ปจจยั ภายนอก น่นั เอง ปจจัยขอที่ ๑ น้ีเปนเรื่องใหญ มีความสําคัญมาก รัฐหรือสังคมน่ันเองทําหนาที่เปนกัลยาณมิตร ดวยการจัดสรรและจัดเตรียมบุคลากรท่ีจะดําเนินบทบาทของกัลยาณมิตร เชน ครูอาจารย ผูบริหาร พรอมท้ังอุปกรณและปจจัยเกอื้ หนุนตา งๆ ถงึ กบั ตองจัดเปนองคกรใหญโต ใชจายงบประมาณมากมาย ถา ไดกัลยาณมติ รที่ดี มีคุณสมบัติที่เหมาะ และมีความรูเขาใจชัดเจนในกระบวนการของการศกึ ษา สาํ นกึ ตระหนกั ตอหนาที่และบทบาทของตนในกระบวนการแหงสิกขาน้ัน มีเมตตา ปรารถนาดีตอชีวิตของผูเรียนดวยใจจริง และพรอมที่จะทําหนาท่ีของกัลยาณมิตร กิจการการศึกษาของสังคมก็จะประสบความสาํ เรจ็ ดว ยดี

๑๒๖ ชวี ติ ท่ีสรา งสรรค สดใสและสุขสันต ดังนั้น การสรางสรรจัดเตรียมกัลยาณมิตร จึงเปนงานใหญท่ีสําคัญยิง่ ซ่ึงควรดาํ เนินการใหถูกตอ ง อยางจริงจัง ดวยความไมป ระมาท อยางไรก็ดี จะตองระลึกตระหนักไวตลอดเวลาวา การพยายามจัดใหมีปรโตโฆสะที่ดี ดวยการวางระบบองคกรและบุคลากรกัลยาณมิตรข้ึนทั้งหมดนี้ แมจะเปนกิจการทางสังคมที่จําเปนและสําคัญอยางย่ิง และแมจะทําอยางดีเลิศเพียงใด ก็อยูในขั้นของการนําเขาสูการศึกษา เปนข้ันตอนกอนมรรคและเปน เรอื่ งของปจจัยภายนอกทัง้ น้ัน พดู ส้นั ๆ วา เปน การศึกษาจดั ต้ัง การศึกษาจดั ตัง้ กค็ อื กระบวนการชว ยชกั นําคนเขาสูการศึกษา โดยการดาํ เนนิ งานของกลั ยาณมิตร ในกระบวนการศึกษาจัดต้ังนี้ ผูทําหนาที่เปนกัลยาณมิตร และผูทํางานในระบบจัดสรรปรโตโฆสะ ทั้งหมด พึงระลึกตระหนักตอหลักการสําคัญบางอยาง เพ่ือความมั่นใจในการที่จะปฏิบัติใหถูกตอง และปองกันความผดิ พลาด ดังตอไปนี้ • โดยหลักการ กระบวนการแหงการศึกษาดําเนินไปในตัวบุคคลโดยสัมพันธกับโลก/สิ่งแวดลอม/ปจจัยภายนอก ทั้งในแงรับเขา แสดงออกและปฏสิ มั พันธ สําหรับคนสวนใหญ กระบวนการแหงการศึกษาอาศัยการโนมนําและเกื้อหนุนของปจจัยภายนอกเปนอยางมาก ถามีแตปจจัยภายนอกที่ไมเอื้อคนอาจจะหมกจมติดอยูในกระบวนการเสพความรูสึก และไมเขาสูการศึกษาเราจึงจัดสรรปจจัยภายนอก ที่จะโนมนําและเก้ือหนุนปจจัยภายในที่ดีใหพฒั นาขึ้นมา ซึง่ จะนาํ เขาเขา สกู ารศึกษา และกา วไปในทางชีวติ ที่เปน มรรค • โดยความมุงหมาย เราจัดสรรและเปนปจจัยภายนอกในฐานะกัลยาณมิตร ท่ีจะโนมนําใหปจจัยภายในท่ีดีพัฒนาข้ึนมาในตัวเขาเอง และเกอื้ หนนุ ใหกระบวนการแหงการศกึ ษาในตวั ของเขา พาเขากา วไปในมรรค

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๑๒๗ พูดสั้นๆ วา ตวั เราที่เปนปจจัยภายนอกน้ี จะตองตอหรือจุดไฟปจจัยภายในของเขาขึ้นมาใหได ความสําเร็จอยูท่ีเขาเกิดมีปจจัยภายใน (โยนิโส-มนสิการ และบุพนิมิตแหงมรรคขออื่นๆ อีก ๕) ซ่ึงจะนําเขาเขาสูกระบวนการแหงการศกึ ษา (ศีล สมาธิ ปญ ญา) ทีท่ ําใหเ ขากาวไปในมรรค ดว ยตวั เขาเอง • โดยขอบเขตบทบาท ระลึกตระหนักชัดตอตําแหนงหนาที่ของตนในฐานะกัลยาณมิตร/ปจจัยภายนอก ที่จะชวย(โนมนําเกื้อหนุน)ใหเขาศึกษาสิกขาอยูท่ีตัวเขา มรรคอยูในชีวิตของเขา เราตองจัดสรรและเปนปจจัยภายนอกท่ดี ที ีส่ ุด แตป จจยั ภายนอกทว่ี า “ดีท่สี ุด” นั้น อยูที่หนุนเสริมปจจัยภายในของเขาใหพ ัฒนาอยางไดผลท่ีสุด และใหเขาเดินไปไดเอง ไมใชวาดีจนกลายเปนทําใหเขาไมต อ งฝก ไมตองศึกษา ไดแตพึ่งพาปจจัยภายนอกเรื่อยไป คิดวาดีแตที่แทเปน การกา วกา ยกดี ขวางลว งลํ้าและครอบงําโดยไมรูต ัว • โดยการระวงั จดุ พลาด ระบบและกระบวนการแหงการศึกษา ที่รัฐหรือสังคมจัดข้ึนมาทั้งหมด เปนการศึกษาจัดตั้ง ความสําเร็จของการศึกษาจัดตั้งนี้ อยูท่ีการเช่ือมประสานหรือตอโยง ใหเกิดมีและพัฒนาการศึกษาแทข้นึ ในตวั บคุ คล อยางที่กลา วแลวขางตน เร่ืองน้ี ถาไมระวัง จะหลงเพลินวาได“จัด”การศึกษาอยางดีที่สุด แตการศึกษาก็จบอยูแคการจัดตั้ง การศึกษาท่ีแทไมพัฒนาขึ้นไปในเนื้อตัวของคน แมแตการเรียนอยางมีความสุข ก็อาจจะเปนความสุขแบบจัดตั้ง ท่ีเกิดจากการจัดสรรปจจัยภายนอก ในกระบวนการของการศึกษาจัดต้ัง ในชัน้ เรียนหรอื ในโรงเรียน เปน ตน ถึงแมนักเรยี นจะมคี วามสขุ จรงิ ๆ ในบรรยากาศและสภาพแวดลอมที่จดั ต้งั นั้น แตถ า เดก็ ยงั ไมเ กดิ มีปจจยั ภายในที่จะทาํ ใหเ ขาสามารถมีและสราง

๑๒๘ ชวี ติ ทีส่ รางสรรค สดใสและสุขสันตความสุขได เม่ือเขาออกไปอยูกับชีวิตจริง ในโลกแหงความเปนจริง ที่ไมเขาใครออกใคร ไมมีใครตามไปเอาอกเอาใจ หรือไปจัดสรรความสุขแบบจัดต้ังให เขาก็จะกลายเปนคนท่ีไมมคี วามสุข ซํา้ รา ยความสขุ ทเี่ กดิ จากการจัดตงั้ น้ัน อาจทําใหเ ขาเปน คนมคี วามสุขแบบพ่ึงพา ท่ีพึ่งตนเองไมไดในการที่จะมีความสุข ตองอาศัยการจัดตั้งอยูเร่ือยไป และกลายเปนคนที่มีความสุขไดยาก หรือไมสามารถมีความสุขไดในโลกแหงความปน จริง อาจกลาวถึงความสัมพันธระหวางการศึกษาจัดตั้งของสังคม กับการศึกษาท่ีแทของชีวิต ท่ีดูเหมือนยอนแยงกัน แตตองทําใหเปนอยางนั้นจรงิ ๆ ซึ่งเปน ตวั อยา งของขอ เตือนใจไวป อ งกนั ความผดิ พลาด ดงั นี้ ๑) (ปจจัยภายนอก) จัดสรรใหเด็กไดรับส่ิงแวดลอมและปจจัยเอ้ือทุกอยางท่ดี ที ่สี ดุ ๒) (ปจจัยภายใน) ฝกสอนใหเด็กสามารถเรียนรูอยูดีเฟนหาคุณคาประโยชนไดจ ากสิ่งแวดลอ มและสภาพทกุ อยา ง แมแ ตท่ีเลวรา ยท่ีสุด ๒. ขั้นไตรสกิ ขา หรือ กระบวนการศึกษาทแ่ี ทข องธรรมชาติ ข้นั ตอนน้ี เปน การเขาสูก ระบวนการฝกศึกษา ทีเ่ ปน กจิ กรรมแหงชีวติของแตละบุคคล ในระบบแหงไตรสิกขา คือ การฝกศึกษาพัฒนาความสมั พันธกับสิ่งแวดลอม พัฒนาจิตใจ และพัฒนาปญญา ตามหลักแหงศลี สมาธิ และปญญา ทีไ่ ดพ ูดไปกอ นนี้แลวระบบไตรสกิ ขาเพ่อื การพัฒนาอยางองคร วมในทุกกจิ กรรม ไดกลาวแลววา ในกระบวนการพัฒนาของไตรสิกขานั้น องคทั้ง ๓คือ ศีล สมาธิ ปญญา จะทํางานประสานโยงสงผลตอกัน เปนระบบและ

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๒๙กระบวนการอนั หน่งึ อันเดยี ว แตเม่ือมองไตรสิกขาน้ี โดยภาพรวม ท่ีเปนระบบใหญของการฝก ก็จะเห็นองค ๓ นั้นเดนข้ึนมาทีละอยาง จากหยาบแลวละเอียดประณีตข้ึนไปเปน ชวงๆ หรือเปนข้นั ๆ ตามลาํ ดับ คือ ชวงแรก เดนออกมาขางนอก ทอ่ี ินทรยี และกายวาจา กเ็ ปน ขั้น ศลี ชว งท่สี อง เดน ดานภายใน ท่ีจติ ใจ ก็เปน ขัน้ สมาธิ ชวงท่ีสาม เดนท่คี วามรูค วามคดิ เขา ใจ กเ็ ปน ขนั้ ปญ ญา แตในทกุ ขัน้ นั้นเอง องคอ ีก ๒ อยา งกท็ าํ งานรวมอยูด ว ยโดยตลอด หลักการทั้งหมดนี้ ไดอธิบายขางตนแลว แตมีเร่ืองที่ขอพูดแทรกไวอยางหนึ่ง เพ่ือเสริมประโยชนในชีวิตประจําวัน คือ การทํางานของกระบวนการฝกศึกษาพัฒนา ท่ีองคทั้งสาม ทั้ง ศีล สมาธิ ปญญา ทํางานอยูด ว ยกัน โดยประสานสมั พันธเปน เหตปุ จ จยั แกกัน การปฏิบัติแบบท่ีวานี้ ก็คือ การนําไตรสิกขาเขาสูการพิจารณาของโยนิโสมนสิการ หรือการโยนิโสมนสิการในไตรสิกขา ซึ่งควรปฏิบัติใหไดเปน ประจาํ และเปนส่งิ ทป่ี ฏบิ ตั ิไดจริงโดยไมย ากเลย ดังน้ี ในการกระทําทุกครั้งทุกอยาง ไมวาจะแสดงพฤติกรรมอะไร หรือมีกิจกรรมใดๆ ก็ตาม เราสามารถฝกฝนพัฒนาตน และสํารวจตรวจสอบตนเอง ตามหลักไตรสิกขาน้ี ใหมีการศึกษาครบท้ัง ๓ อยาง ท้ัง ศีล สมาธิและปญญา พรอมกนั ไปทุกครงั้ ทกุ คราว คือ เมือ่ ทาํ อะไรก็พิจารณาดวู า พฤติกรรม กิจกรรม หรือการกระทําของเราครั้งน้ี จะเปนการเบียดเบียน ทําใหเกิดความเดอื ดรอนแกใครหรอื ไม จะกอ ใหเ กิดความเส่ือมโทรมเสียหายอะไรๆ บางไหม หรือวาเปนไปเพ่ือความเก้ือกูล ชวยเหลือสง เสรมิ และสรา งสรรค (ศีล) ในเวลาท่ีจะทํานี้ จิตใจของเราเปนอยางไร เราทําดวยจิตใจท่ีเห็นแกตัว

๑๓๐ ชีวิตที่สรา งสรรค สดใสและสุขสนั ตมุงรายตอใคร ทําดวยความโลภ โกรธ หลง หรือไม หรือทําดวยเมตตา มีความปรารถนาดี ทําดวยศรัทธา ทําดวยสติ มีความเพียร มีความรับผิดชอบเปนตน และในขณะท่ีทํา สภาพจิตใจของเราเปนอยางไร เรารอน กระวนกระวาย ขุนมัว เศราหมอง หรือวามีจิตใจที่สงบ ราเริง เบิกบาน เปนสุข เอิบอ่ิม ผอ งใส (สมาธ)ิ เรื่องท่ีทาํ ครงั้ นี้ เราทําดวยความรูความเขาใจชัดเจนดีแลวหรือไม เรามองเห็นเหตุผล รูเขาใจหลักเกณฑและความมุงหมาย มองเห็นผลดีผลเสียท่อี าจจะเกดิ ขน้ึ และหนทางแกไขปรบั ปรุงพรอมดีหรือไม (ปญญา) ดวยวิธีปฏิบัติอยางน้ี คนท่ีฉลาดจึงสามารถฝกศึกษาพัฒนาตน และสํารวจตรวจสอบวดั ผลการพัฒนาตนไดเสมอตลอดทุกครั้งทุกเวลา เปนการบําเพ็ญไตรสิกขาในระดับรอบเล็ก (คือครบสิกขาท้ังสาม ในพฤติกรรมเดียวหรือกิจกรรมเดียว) พรอมกันนั้น การศึกษาของไตรสิกขาในระดับขั้นตอนใหญ ก็คอยๆพัฒนาขึ้นไปทีละสวนดวย ซ่ึงเมื่อมองดูภายนอก ก็เหมือนศึกษาไปตามลาํ ดบั ทีละอยางทีละข้นั ยง่ิ กวา นน้ั ไตรสิกขาในระดับรอบเล็กนี้ ก็จะชวยใหก ารฝก ศกึ ษาไตรสกิ ขาในระดับข้ันตอนใหญย ่ิงกา วหนา ไปดวยดีมากข้ึน ในทางยอนกลับ การฝกศึกษาไตรสิกขาในระดับขั้นตอนใหญ ก็จะสงผลใหการฝกศึกษาไตรสกิ ขาในระดับรอบเล็ก มีความชัดเจนและสมบูรณย่งิ ขนึ้ ดวยเชน กนั ตามที่กลาวมาน้ี ตองการใหมองเห็นความสัมพันธอยางอิงอาศัยซ่ึงกันและกันขององคประกอบที่เรียกวาสิกขา ๓ ในกระบวนการศึกษาและพฒั นาพฤติกรรม เปนการมองรวมๆ อยา งสมั พนั ธถึงกนั หมด

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๓๑ระบบการฝกของไตรสกิ ขา ออกผลมาคอื วถิ ีชีวติ แหง มรรคหนง่ึ สรุปวา ในระบบการฝกศึกษา ท่ีจัดเปนชวงกวางๆ โดยมุงเอาส่ิงท่ีจะตองปฏิบัติเดนชัดเปนตอนๆ ซ่ึงเรียงลําดับในรูปที่เรียกวา ไตรสิกขา(the Threefold Training) คือ การศึกษา ท้ัง ๓ น้ัน มีหัวขอชอ่ื เต็มตามหลกั ดงั น้ี ๑. อธิศีลสิกขา การฝกศึกษาดานอินทรีย พฤติกรรมทางกายวาจาและอาชีพ ใหมีชีวิตสุจริตดีงามเก้ือกูล (Training in HigherMorality) ๒. อธิจิตตสิกขา การฝกศึกษาดานสมาธิ หรือพัฒนาจิตใจ ใหมีคุณธรรม ความสามารถ และความสุขย่ิงข้ึนไป (Training inHigher Mentality) ๓. อธิปญญาสิกขา การฝกศึกษาดานปญญา ใหรูคิดเขาใจมองเห็นตามเปนจริง มีจิตเปนอิสระ เปนอยูดวยปญญา (Training inHigherWisdom) ไตรสกิ ขาน้ี เม่ือนํามาแสดงเปนคําสอนในภาคปฏิบัติทั่วๆไป ไดปรากฏในหลักที่เรียกวา โอวาทปาติโมกข (พุทธโอวาทท่ีเปนหลักใหญ ๓ อยาง) *คอื สอง ๑. สพฺพปาปสสฺ อกรณํ การไมทาํ ความชัว่ ทัง้ ปวง (ศลี ) ๒. กสุ ลสสฺ ปู สมฺปทา ก า ร บํ า เ พ็ ญ ค ว า ม ดี ใ หเพยี บพรอ ม (สมาธ)ิหน่งึ เฉพาะหัวขอน้ี (๓ หนา) เปนสวนแทรกจาก พุทธธรรม ฉบับเดิม น้ันเอง หนา ๒๒๗–๒๒๘* ท.ี ม.๑๐/๕๔/๕๗; ขุ.ธ.๒๕/๒๔/๓๙; การจัดเขา ในไตรสิกขาอยา งน้ี ถือตาม วสิ ทุ ฺธ.ิ ๑/๖ สอง

๑๓๒ ชวี ิตท่ีสรางสรรค สดใสและสขุ สนั ต ๓. สจติ ตฺ ปรโิ ยทปนํ การทาํ จติ ของตนใหผองใส (ปญ ญา) ไตรสกิ ขาที่เอามรรคมาจดั ระบบขึ้นน้ี แสดงขอปฏบิ ัติพรอ มบรบิ ูรณทุกอยาง ที่จะใหเ กดิ ผลสาํ เร็จ ตามกระบวนการพัฒนาคน จนถึงจุดหมายที่ไรทกุ ข พูดใหเขาใจงายๆวา เอาองคประกอบท้ัง๘ ของมรรค จัดปรับใสเขาไปในระบบการศกึ ษาทค่ี รบองค ๓ ของไตรสกิ ขา เม่ือฝกคนใหศึกษา หรือคนศึกษาโดยฝกตน ตามหลักไตรสิกขา ก็ทาํ ใหชวี ติ ของเขาเจริญงอกงามกาวไปในทางถูกตอง ทเี่ รียกวามรรค พูดอยางภาพพจนวา เอาการศึกษาท้ัง ๓ ของไตรสิกขา ใสเขาไปในตัวคน (หรือเอาคนใสเขาไปในกระบวนการของไตรสิกขา) ผลออกมา คือการเดนิ หนาไปในทางหรือวิถีชีวิตดีงามแหงมรรค หรือในการดําเนินชีวิตอันประเสรฐิ คอื พรหมจริยะ พดู ใหง ายวา เอาคนใสก ารศึกษา ผลออกมาคือ ชวี ิตทเี่ ปน อยูดี พูดส้นั ท่สี ุดวา ฝกดว ยไตรสิกขา ชวี ิตกเ็ ดนิ หนาไปในมรรค ไตรสิกขาน้ี เรียกวาเปน“พหุลธัมมีกถา” คือคําสอนธรรมที่พระพุทธ-เจาทรงแสดงบอย และมีพุทธพจนแสดงความตอเนื่องกันของกระบวนการศกึ ษาฝก อบรมทีเ่ รียกวาไตรสกิ ขา ดงั น้ี ศีลเปนอยางนี้ สมาธิเปนอยางน้ี ปญญาเปนอยางน้ี; สมาธิ ที่ศีลบมแลว ยอมมีผลมาก มีอานิสงสมาก, ปญญาท่ีสมาธิบม แลว ยอมมีผลมาก มีอานิสงสมาก, จิตที่ปญญาบมแลว ยอม หลุดพนจากอาสวะโดยส้ินเชิง คือ จากกามาสวะ ภวาสวะ และ อวชิ ชาสวะหนึง่ความสัมพันธแบบตอเนื่องกันของไตรสิกขาน้ี มองเห็นไดงายแมในหนึ่ง ท.ี ม.๑๐/๑๑๑/๑๔๓

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๓๓ชีวิตประจาํ วนั กลาวคอื (ศีลÆสมาธิ) เม่ือประพฤติดี มีความสัมพันธงดงาม ไดทําประโยชน อยางนอ ยดําเนินชีวิตโดยสุจริต ม่ันใจในความบริสุทธิ์ของตน ไมตองกลัวตอการลงโทษ ไมสะดุงระแวงตอการประทุษรายของคูเวร ไมหว่ันหวาดเสียวใจตอเสียงตําหนิหรือความรูสึกไมยอมรับของสังคม และไมมีความฟุงซานวุนวายใจเพราะความรูสึกเดือดรอนรังเกียจในความผิดของตนเอง จิตใจก็เอิบอิ่ม ชื่นบานเปนสุข ปลอดโปรง สงบ และแนวแน มุงไปกบั สิ่งทคี่ ิด คําทพี่ ดู และการท่ีทาํ (สมาธÆิ ปญญา) ย่ิงจิตไมฟุงซาน สงบ อยูตัว ไรสิ่งขุนมัว สดใส มุงไปอยา งแนว แนเทาใด การรับรูการคดิ พนิ ิจพิจารณามองเหน็ และเขาใจสงิ่ ตา งๆกย็ ่ิงชดั เจน ตรงตามจรงิ แลน คลอง เปน ผลดใี นทางปญญามากขึน้ เทา น้นั อปุ มาในเรอื่ งนี้เหมือนวา- ตงั้ ภาชนะน้าํ ไวดวยดใี นทเ่ี รียบรอ ย ไมไปแกลง ส่ันหรอื เขยา มัน (ศีล)- เม่ือน้ําไมถูกกวน คน พดั หรอื เขยา สงบน่งิ ผงฝุนตางๆก็นอนกนหายขุน นํ้ากใ็ ส (สมาธ)ิ- เมื่อนา้ํ ใส ก็มองเห็นส่ิงตา งๆ ไดชัดเจน (ปญ ญา) ในการปฏิบัติธรรมสูงข้ึนไป ท่ีถึงข้ันจะใหเกิดญาณ อันรูแจงเห็นจริงจนกําจัดอาสวกิเลสได ก็ยิ่งตองการจิตที่สงบน่ิง ผองใส มีสมาธิแนวแนยิ่งข้ึนไปอีก ถึงขนาดระงับการรับรูทางอายตนะตางๆ ไดหมด เหลืออารมณหรือส่ิงที่กําหนดไวใชงานแตเพียงอยางเดียว เพื่อทําการอยางไดผล จนสามารถกําจัดกวาดลางตะกอนท่ีนอนกนไดหมดสิ้น ไมใหมีโอกาสขุนอีกตอ ไป การท่ีจัดวางระบบการศึกษาใหคนพัฒนาอยางน้ี ก็เปนไปตามธรรมชาติแหงชีวิตของมนุษย และการท่ีธรรมดาแหงความเปนมนุษยเอื้อท่ี

๑๓๔ ชวี ิตทส่ี รางสรรค สดใสและสขุ สนั ตจะใหเปนอยางนั้น ดังนั้น จึงจะตองเขาใจระบบการศึกษาดังกลาว บนฐานแหงการรูเขาใจความจริงแหง ธรรมชาติของมนษุ ย อยา งท่วี า มาปฏิบตั ิการฝก ศึกษาดว ยสิกขา แลว วัดผลดวยภาวนา ไดอธิบายแลวขางตนวา สิกขา ท่ีทานจัดเปน ๓ อยาง ดังที่เรียกวา“ไตรสกิ ขา” น้ัน ก็เพราะเปนไปตามความเปนจริงในการปฏิบัติ ซึ่งเปนเร่ืองธรรมดาแหงธรรมชาติของชีวิตน้ีเอง กลาวคือ ในเวลาฝกศึกษา สิกขา ๓ดาน จะทาํ งานประสานสัมพันธกนั ซ่งึ ในขณะหนึง่ ๆ (ในกรณีท่ีครบเต็มท่ีถึงขั้นออกมาสมั พันธก ับภายนอก) กม็ ี ๓ ดา น ดังเชน ในขณะท่ีสัมพันธกับสิ่งแวดลอม ไมวาจะเปนวัตถุหรือบุคคลไมวาจะดวยอนิ ทรีย เชน ตา หู หรือดว ยกาย-วาจา (ดา นศีล) ก็ตองมีเจตนาแรงจูงใจ และสภาพจิตอยางใดอยางหนึ่ง (ดานจิตหรือสมาธิ) และตองมีความคดิ เห็นเชอื่ ถอื รเู ขา ใจในระดบั ใดระดบั หนง่ึ (ปญ ญา) นี้เปนเรื่องของธรรมภาคปฏิบัติ ซ่ึงตองทําใหสอดลองตรงกันกับระบบความเปนไปของสภาวะในธรรมชาติ แตยังมีธรรมประเภทอ่ืน ซ่ึงแสดงไวดวยความมุงหมายที่ตางออกไปโดยเฉพาะที่โยงกับเรอื่ งสิกขา ๓ นี้ กค็ ือหลกั ภาวนา ๔ เมื่อปฏิบัติแลว ก็ควรจะมีการวัดหรือแสดงผลดวย เร่ืองการศึกษานี้ก็ทํานองน้ัน เมื่อฝกศึกษาดวยสิกขา ๓ แลว ก็ตามมาดวยหลักที่จะใชวดั ผล คอื ภาวนา ๔ ตอนปฏิบัติการฝก สิกขามี ๓ แตทําไมตอนวัดผล ภาวนามี ๔ ไมเทากัน ทําไม (ในเวลาทําการฝก) จึงจัดเปน สิกขา ๓ และ (ในเวลาวัดผลของคนทีไ่ ดร ับการฝก ) จึงจดั เปน ภาวนา ๔?

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๓๕ อยางท่ีช้ีแจงแลววา ธรรมภาคปฏิบัติการ ตองจัดใหตรงสอดคลองกับระบบความเปนไปของธรรมชาติ แตตอนวัดผลไมตองจัดใหตรงกันก็ไดเพราะวัตถุประสงคอยูที่จะมองดูผลท่ีเกิดข้ึนแลว ซ่ึงมุงจะใหเห็นชัดเจนในแตละสวนแตละตอนทด่ี ู ตอนนถี้ า แยกละเอยี ดออกไป ก็จะยิ่งดี นี่แหละคือเหตุผลทวี่ า หลกั วัดผลคอื ภาวนา เพ่ิมเปน ๔ ขอใหดคู วามหมายและหัวขอของภาวนา ๔ นนั้ กอน “ภาวนา” แปลวา ทําใหเจริญ ทําใหเปนทําใหมีขึ้น หรือฝกอบรม ในภาษาบาลี ทานใหความหมายวา ภาวนา = “วฑฺฒนา” คือวัฒนา หรือพัฒนานนั่ เอง ภาวนานเ้ี ปนคําหนง่ึ ท่ีมีความหมายใชแ ทนกันไดกับ “สิกขา” ภาวนา จัดเปน ๔ อยา ง คือ ๑. กายภาวนา การพัฒนากาย คือ การมีความสัมพันธที่เกื้อกูลกับสิง่ แวดลอมทางกายภาพ หรือทางวตั ถุ ๒. ศีลภาวนา การพัฒนาศีล คือ การมีความสัมพันธที่เก้ือกูลกับส่งิ แวดลอมทางสงั คม คือเพ่ือนมนษุ ย ๓. จติ ภาวนา การพัฒนาจติ คือ การทําจิตใจใหเจริญงอกงามขึ้นในคณุ ธรรม ความดงี าม ความเขมแข็งม่ันคง และความเบิกบานผองใสสงบสุข ๔. ปญญาภาวนา การพัฒนาปญญา คือ การเสริมสรางความรูความคดิ ความเขา ใจ และการหยงั่ รคู วามจรงิ อยางที่กลาวแลววา ภาวนา ๔ นี้ ใชในการวัดผล เพ่ือดูวาดานตางๆของการพฒั นาชวี ติ ของคนน้ัน ไดรับการพัฒนาครบถวนหรือไม ดังนั้น เพ่ือจะดใู หชดั ทานไดแ ยกบางสว นละเอยี ดออกไปอีก สวนที่แยกออกไปอีกน้ี คือ สิกขาขอที่ ๑ (ศีล) ซ่ึงในภาวนา แบงออกไปเปนภาวนา ๒ ขอ คือ กายภาวนา และ ศีลภาวนา ทําไมจึงแบง สกิ ขาขอ ศลี เปนภาวนา ๒ ขอ ?

๑๓๖ ชีวิตทส่ี รางสรรค สดใสและสขุ สนั ต ท่จี ริง สกิ ขาดานที่ ๑ คอื ศีล นัน้ มี ๒ สวนอยแู ลวในตวั เม่อื จัดเปนภาวนา จึงแยกเปน ๒ ไดทันที คอื ๑. ศีล ในสวนที่สัมพันธกับส่ิงแวดลอมทางกาย (ท่ีเรียกวาส่ิงแวดลอมทางกายภาพ) ไดแกความสัมพันธกับวัตถุหรือโลกของวัตถุและธรรมชาติสวนอื่น ท่ีไมใชมนุษย เชน เรื่องปจจัย ๔ สิ่งที่เราบริโภคใชสอยทกุ อยา ง และธรรมชาติแวดลอ มทวั่ ๆ ไป สวนน้แี หละ ทแี่ ยกออกไปจัดเปน กายภาวนา ๒. ศีล ในสว นทส่ี มั พันธกับส่ิงแวดลอมทางสังคม คือบุคคลอ่ืนในสังคมมนุษยดวยกัน ไดแกความเก่ียวของสัมพันธอยูรวมกันดวยดีในหมูมนษุ ย ทจ่ี ะไมเบยี ดเบยี นกนั แตช ว ยเหลือเกอ้ื กลู กนั สว นน้ี แยกออกไปจัดเปน ศลี ภาวนา ในไตรสิกขา ศีลครอบคลุมความสัมพันธกับส่ิงแวดลอม ทั้งทางวตั ถุหรอื ทางกายภาพ และทางสงั คม รวมไวใ นขอ เดยี วกัน แตเมื่อจัดเปนภาวนา ทานแยกกันชัดออกเปน ๒ ขอ โดยยกเรื่องความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมในโลกวัตถุ แยกออกไปเปนกายภาวนา สวนเรือ่ งความสมั พนั ธก ับเพือ่ นมนุษยใ นสังคม จัดไวในขอศีลภาวนา ทําไมตอนที่เปน สกิ ขาไมแ ยก แตต อนเปน ภาวนาจึงแยก? อยางที่กลาวแลววา ในเวลาฝกหรือในกระบวนการฝกศึกษา องคท้ัง๓ อยางของไตรสิกขา จะทาํ งานประสานไปดวยกัน ในศีลท่ีมี ๒ สวน คือ ความสัมพันธกับส่ิงแวดลอมดานกายภาพในโลกวัตถุ และความสัมพันธกับมนุษยในสังคมน้ัน สวนที่สัมพันธแตละคร้ังจะเปน อันใดอันหน่ึงอยา งเดยี ว ในกรณีหน่ึงๆ ศีลอาจจะเปนความสัมพันธดานที่ ๑ (กายภาพ)หรอื ดานท่ี ๒ (สงั คม) กไ็ ด แตต องอยา งใดอยางหนงึ่

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๑๓๗ ดังน้ัน ในกระบวนการฝกศึกษาของไตรสิกขา ท่ีมีองคประกอบท้ังสามอยางทํางานประสานเปนอันเดียวกันนั้น จึงตองรวมศีลท้ัง ๒ สวนเปนขอ เดยี ว ทําใหส กิ ขามีเพยี ง ๓ คือ ศลี สมาธิ ปญญา แตในภาวนาไมมีเหตุบังคับอยางนั้น จึงแยกศีล ๒ สวนออกจากกันเปนคนละขออยางชัดเจน เพ่ือประโยชนในการตรวจสอบ จะไดวัดผลดูจําเพาะใหชัดไปทีละอยางวา ในดานกาย ความสัมพันธกับสภาพแวดลอมทางวัตถุ เชนการบริโภคปจจัย ๔ เปนอยางไร ในดานศีล ความสัมพันธกับเพอ่ื นมนษุ ยเ ปนอยา งไร เปน อันวา หลกั ภาวนา นิยมใชในเวลาวัดหรือแสดงผล แตในการฝกศึกษาหรอื ตวั กระบวนการฝก ฝนพัฒนา จะใชเ ปน ไตรสกิ ขา เน่ืองจากภาวนาทานนิยมใชในการวัดผลของการศึกษาหรือการพัฒนาบุคคล รูปศัพทท่ีพบจึงมักเปนคําแสดงคุณสมบัติของบุคคล คือแทนท่ีจะเปน ภาวนา ๔ (กายภาวนา ศีลภาวนา จิตภาวนา และ ปญญาภาวนา) กเ็ ปลยี่ นเปน ภาวติ ๔ คือ ๑. ภาวิตกาย มีกายท่ีพัฒนาแลว (=มีกายภาวนา) คือ มีความสัมพันธกับส่ิงแวดลอมทางกายภาพในทางที่เก้ือกูลและไดผลดี เริ่มแตร จู กั ใชอ นิ ทรยี  เชน ตา หู ดู ฟง เปนตน อยางมีสติ ดูเปน ฟงเปน ใหไดปญญา บริโภคปจจัย ๔ และสิ่งของเคร่ืองใช ตลอดจนเทคโนโลยี อยางฉลาด ไดผลตรงเต็มตามคุณคา ๒. ภาวิตศีล มีศีลท่ีพัฒนาแลว (=มีศีลภาวนา) คือ มีพฤติกรรมทางสังคมที่พัฒนาแลว ไมเบียดเบียนกอความเดือดรอนเวรภัย ตั้งอยูในวินัย และมีอาชีวะท่ีสุจริต มีความสัมพันธทางสังคมในลักษณะที่เก้ือกูลสรางสรรคและสงเสรมิ สนั ตสิ ุข ๓. ภาวิตจิต มีจิตที่พัฒนาแลว (=มีจิตภาวนา) คือ มีจิตใจที่

๑๓๘ ชีวติ ที่สรา งสรรค สดใสและสขุ สนั ตฝก อบรมดีแลว สมบูรณดวยคุณภาพจิต คือ ประกอบดวยคุณธรรม เชน มีเมตตากรุณา เออื้ อารี มมี ทุ ติ า มคี วามเคารพ ออ นโยน ซื่อสัตย กตัญู เปนตน สมบูรณดวยสมรรถภาพจิต คือ มีจิตใจเขมแข็งม่ันคง มีความเพียรพยายาม กลาหาญ อดทน รับผดิ ชอบ มีสติ มีสมาธิ เปน ตน และ สมบูรณดวยสุขภาพจิต คือ มีจิตใจท่ีราเริง เบิกบาน สดช่ืน เอิบอ่ิมผองใส และสงบ เปน สขุ ๔. ภาวิตปญญา มีปญญาที่พัฒนาแลว (=มีปญญาภาวนา) คือรูจักคิด รูจักพิจารณา รูจักวินิจฉัย รูจักแกปญหา และรูจักจัดทําดําเนินการตางๆ ดวยปญญาท่ีบริสุทธิ์ ซ่ึงมองดูรูเขาใจเหตุปจจัย มองเห็นส่ิงทั้งหลายตามเปนจริงหรือตามที่มันเปน ปราศจากอคติและแรงจูงใจแอบแฝง เปนผูท่ีกิเลสครอบงําบัญชาไมได เปนอยูดวยปญญารูเทาทันโลกและชีวิต เปนอิสระไรทกุ ขผูมภี าวนา ครบทัง้ ๔ อยา ง เปนภาวิต ท้ัง ๔ ดานนี้แลวโดยสมบูรณเรียกวา \"ภาวิตัตตะ\" แปลวาผูไดพัฒนาตนแลว ไดแกพระอรหันต เปนอเสขะ คอื ผจู บการศกึ ษาแลว ไมต องศกึ ษาอกี ตอ ไปกถํ ภควา ภาวิตตฺโต ฯ ภควา ภาวิตกาโย ภาวิตสีโลภาวติ จติ โฺ ต ภาวติ ปโฺ … [ข.ุ จ.ู ๓๐/๑๔๘/๗๑] “พระผูมีพระภาค ทรงเปนภาวิตัตต (มีพระองคที่ทรงเจริญหรือพัฒนาแลว) อยางไร? พระผูมีพระภาคทรงเปน ภาวิตกายภาวิตสีล ภาวิตจิต ภาวิตปญญา … (มีพระวรกาย มีศีล มีจิตมีปญ ญา … ที่เจรญิ พัฒนาแลว)”หนงึ่หนงึ่ ขยายความตอ ไปอกี วา ทรงเจริญโพธิปก ขยิ ธรรม ๓๗ ประการแลว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook