Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore MNRE_BKN Annual report 64

MNRE_BKN Annual report 64

Published by namkapook, 2021-11-29 04:03:50

Description: สรุปรายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดบึงกาฬ

Keywords: ทสจบึงกาฬ, รายงานประจำปี พ.ศ.64

Search

Read the Text Version

50 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ ลำดบั อำเภอ องค์กรปกครอง ปริมาณขยะมูลฝอย ปริมาณขยะมลู ฝอยชมุ ชน ขยะมลู ฝอยที่ถูกนำไปใช้ สว่ นท้องถน่ิ ชุมชนทเ่ี กิดขนึ้ (ตนั ) ทเ่ี กบ็ ขนไดใ้ นเขต อปท. ประโยชน์ (ตัน) 95.1535 (ตัน) 36.9073 119.4687 38 อบต.ป่าแฝก 164.5099 25.5600 56.6042 0.0000 39 พรเจรญิ อบต.วังชมภู 81.0810 37.4332 185.5491 47.3829 40 อบต.ศรีชมภู 138.6840 0.0000 27.5679 150.3897 41 อบต.หนองหวั ช้าง 112.2225 54.2745 90.5851 84.8336 42 อบจ.บงึ กาฬ 0.0000 0.0000 6.4545 195.6674 43 เทศบาลเมืองบงึ กาฬ 699.9109 514.0382 179.2536 18.7727 44 เทศบาลตำบลโคกกอ่ ง 216.9848 52.6700 104.8930 239.6726 45 เทศบาลตำบลไคสี 168.0248 41.4797 157.6012 121.8858 46 เทศบาลตำบลโนนสวา่ ง 212.0386 52.6112 34.7953 210.4457 47 เมืองบึงกาฬ เทศบาลตำบลหนองเลิง 278.9077 183.7273 4,606.6797 48 เทศบาลตำบลหอคำ 213.8613 61.5249 0.0000 49 อบต.คำนาดี 7.2727 13.3509 228.5282 50 อบต.ชัยพร 51 อบต.นาสวรรค์ 237.6587 31.7273 52 อบต.โนนสมบูรณ์ 135.3773 114.6500 53 อบต.โป่งเปือย 142.3917 30.2473 54 เทศบาลตำบลศรวี ไิ ล 340.4834 84.0000 55 อบต.ชุมภูพร 211.8453 28.6973 56 ศรวี ิไล อบต.นาสะแบง 139.9555 2.7837 57 อบต.นาสงิ ห์ 69.8591 35.0504 58 อบต.นาแสง 225.4432 0.0000 รวม 9,085.7990 3,053.0150 สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจังหวัดบงึ กาฬ

51 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ โครงการพัฒนา เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) จงั หวดั บงึ กาฬ ความเป็นมาของเครือขา่ ย ทสม. เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ และในปี พ.ศ. 2562 ได้มีระเบียบกระทรวง สิ่งแวดล้อมหมู่บ้านหรือเครือข่าย ทสม. เป็นเครือข่ายภาค ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ว่าด้วยอาสาสมัคร ประชาชนท่เี ปน็ กลไกสำคัญในการดำเนินงานด้านการอนุรักษ์ พิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 ฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถ่ิน และจนถึงปจั จบุ ัน เครอื ขา่ ย ทสม. ไดร้ ับการกอ่ ตั้งและเติบโต ซึ่งกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้มุ่งเน้น จนครอบคลุมทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทยทั้ง 76 จังหวัด ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการสงวน บำรุงรักษาและ เป็นสัญญาณที่ดีของการสร้างพลังทรัพยากรมนุษย์ ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลาย ในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ทางชีวภาพอย่างสมดุล รวมทั้งมีส่วนร่วมในการส่งเสริม และสิง่ แวดล้อมของประเทศ บำรุงรักษา และคุ้มครองคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามหลักการ เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ พัฒนาที่ยั่งยืน จึงได้สนับสนุนให้มีอาสาสมัครพิทักษ์ สิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) ตามระเบียบกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อหมู่บ้านขึ้น อาศัยอำนาจ ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมว่าดว้ ยอาสาสมัครพิทักษ์ ความในมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน พ.ศ. 2562 ราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) หมายความว่า การเชื่อมโยงกันของ ทสม. เพื่อการเรียนรู้ พ.ศ. 2545 ประกอบกับแนวนโยบายของรัฐบาลทีแ่ ถลงไว้ต่อ แลกเปลี่ยนข่าวสาร หรือทำกิจกรรมร่วมกัน ในการอนุรักษ์ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้วยความเป็น ในการสร้างความเข้มแข็งของทุกชุมชนท้องถิ่นและประชา อิสระและเท่าเทียมกันของบุคคล ภายใต้พื้นฐานของความ สังคม ให้สามารถจัดการตนเองเกี่ยวกับความเป็นอยู่ท้ัง เคารพสิทธิ เชื่อถือ เอื้ออาทร ซึ่งกันและกัน และใช้หลัก ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม การปกครอง และการจดั การ ธรรมาภิบาลในการทำงานร่วมกันโดยใช้ชือ่ ว่า “เครือข่าย ทสม.” ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนสิทธิชุมชน และเรียกชื่อภาษาอังกฤษว่า “Natural Resources and โดยส่งเสริมบทบาทของครอบครัว ชุมชน องค์กรอาสาสมัคร Environmental Protection Volunteer Network” ใช้ชื่อ ภาคธุรกจิ สถาบนั การศกึ ษาอย่างจรงิ จงั และต่อเน่อื ง ยอ่ วา่ “NEV-Net” สำนักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มจังหวดั บึงกาฬ

52 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ คณุ สมบตัขิ อง ทสม. ตามระเบยี บกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม วา่ ดว้ ยอาสาสมคัรพทิ กัษท์ รพัยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มหมบู่ า้ น พ.ศ. 2562 มดี ังน้ี 1. มสี ญั ชาติไทย 2. มอี ายไุ มต่ ำ่ กว่า 15 ปีบริบรู ณ์ 3. เปน็ ผเู้ ล่อื มใสในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ ทรงเป็นประมขุ ตามรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย 4. มีภมู ิลำเนาหรอื ถ่ินท่อี ยูป่ ระจำในจังหวดั นน้ั 5. มคี วามสมัครใจและมีจติ อาสาเขา้ มาร่วมดำเนนิ กิจกรรมด้านการอนุรักษ์และฟ้ืนฟู ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม 6. เป็นบุคคลที่มคี วามเสียสละและอุทิศตวั ในการทำงานเพอ่ื สว่ นรว่ ม 7. เป็นบคุ คลท่ีตระหนกั ถึงการทำงานโดยใชก้ ระบวนการมีสว่ นรว่ มเป็นสำคัญ 8. เป็นบุคคลที่เปิดโอกาสให้กบั ตวั เองและผ้อู ืน่ ในการแสวงหาความรู้ และเพ่มิ พนู ความรแู้ ละประสบการณ์ บทบาทหน้าท่ี ตามระเบียบกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม ว่าด้วยอาสาสมัครพทิ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมหม่บู า้ น พ.ศ. 2562 มดี ังนี้ 1. ประสานการดำเนินงานในท้องถิ่น เพื่อพัฒนาความร่วมมือในการทำงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานทุกภาคส่วน 2. สือ่ สาร เผยแพร่ และประชาสมั พันธ์ นโยบาย ข้อมูล ขา่ วสารและกจิ กรรมเพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์ และฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มใหป้ ระชาชนในท้องถ่ิน 3. สง่ เสริมให้ประชาชนมสี ่วนรว่ มในการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมของชุมชน 4. เฝา้ ระวงั และรายงานขอ้ มลู สถานการณท์ รัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมในท้องถนิ่ 5. ดำเนนิ กิจกรรมด้านการอนุรกั ษ์ และฟืน้ ฟทู รพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มท่สี อดคล้องกบั ภูมินเิ วศ และบรบิ ทของพน้ื ที่ 6. เสริมสร้างจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เยาวชนและคนรุ่นใหม่ เพื่อสบื สานเจตนารมณ์ แนวคิดและการดำเนินงานอยา่ งยง่ั ยนื 7. สนับสนุนภารกิจด้านการอนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม วตถุประสงค์ 1. เพ่อื สรา้ งความตระหนัก ความรู้ความเข้าใจ และเสริมสร้างแนวรว่ มภาคประชาชนให้เขา้ มามีสว่ นร่วมในการบรหิ าร จดั การทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมอยา่ งยั่งยนื 2. เพื่อยกระดับการมีส่วนร่วมของสมาชิกเครือข่าย ทสม. รวมทั้งพัฒนาเครื่องมือและกลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงาน องค์ความรู้ การรวมกลุ่ม และเชื่อมโยงความร่วมมือเครือข่ายด้านการเฝ้าระวังและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอ้ ม สำนักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ

53 การดำเนนิ งาน รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ โครงการพัฒนาเครอื ขา่ ยอาสาสมคั รพทิ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) จังหวัดบงึ กาฬ ปัจจุบันจังหวัดบึงกาฬ ได้ดำเนินงานด้านเครือข่าย เพื่อดำเนินการพัฒนาศักยภาพ/สร้างความเข้มแข็ง อาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของทสม. ในการรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ เป็นปีที่ 10 แล้ว ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 จังหวัดบึงกาฬได้ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยรวมอย่างต่อเนื่อง ดำเนินการประชาสัมพันธ์เผยแพร่และรับสมัครสมาชิก และเพื่อยกระดับการมีส่วนร่วมของเครือข่าย ทสม. รวมท้ัง เครือข่าย ทสม. ในพื้นที่ 8 อำเภอของจังหวัดบึงกาฬ เมื่อนับ พัฒนากลไกการขับเคลื่อนเครือข่ายด้านทรัพยากรธรรมชาติ จนถงึ ปัจจบุ ัน (30 กนั ยายน พ.ศ. 2564) มผี ู้สมัครเปน็ สมาชิก และสง่ิ แวดลอ้ มให้ครอบคลุมทุกพ้ืนท่แี ละมีความหลากหลาย เครือข่าย ทสม. ทั้งสิ้น 3,483 คน และในปี 2564 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดบึงกาฬ ตามหนังสือกองกลาง ส่วนการคลัง ที่ ทส 0201.2/ว 1793 ได้กำหนดวิธีการดำเนินงานและเป้าหมาย ปีงบประมาณ ลงวันที่ 22 ธันวาคม 2563 เรอ่ื ง แจ้งโอนเงินงบประมาณเบิก 2564 ดงั น้ี แทนกัน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของกรมส่งเสริม คุณภาพส่งิ แวดล้อม ครั้งที่ 1 ใหส้ ำนักงานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมจังหวัดบึงกาฬ เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 225,000 บาท วธิ กี ารดำเนนิ งาน เปา้ หมาย 1. การสนับสนุนการทำงานของคณะกรรมการเครือข่าย ทสม. 1) การประชุมคณะกรรมการอำนวยการ ทสม. จังหวัด 1.1) มีกลุ่มเปา้ หมายร่วมสนับสนนุ การทำงานของคณะกรรมการ และคณะกรรมการเครอื ข่าย ทสม. ในจังหวัด เครอื ขา่ ย ทสม. ในจงั หวัด จำนวนไมน่ อ้ ยกว่า 120 คน 2) การคัดเลอื กคณะกรรมการเครอื ข่าย ทสม. 1.2) มีการคัดเลือกคณะกรรมการเครือข่าย ทสม. ในจงั หวัด เสรจ็ ตามกำหนดเวลา 2. การพัฒนาศักยภาพเครือข่าย ทสม. ผ่านหลักสูตรมาตรฐาน 2) ทสม. ได้รับการพฒั นาศักยภาพผ่านหลักสตู ร “มาตรฐาน ทสม. อาสาสมคั รพทิ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม หมู่บา้ น”จำนวนไม่น้อยกว่า ๑๐๐ คน 3. การสนับสนุนการดำเนินงานของเครือข่ายอาสาสมัครใน 3.1) มีกลมุ่ เปา้ หมาย รว่ มกจิ กรรมด้านทรัพยากรธรรมชาติ การเฝา้ ระวังและฟื้นฟูทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม และส่ิงแวดลอ้ มอำนวยการไม่นอ้ ยกว่า 120 คน 3.2) ระบบฐานข้อมูล ทสม. ของแต่ละจังหวัด มีข้อมูลสมาชิก ทสม. ทเี่ ปน็ ปจั จบุ นั และครบถว้ นสมบรู ณ์ ตามจำนวนทแ่ี ทจ้ ริง 4. กิจกรรมการคัดเลือก ทสม. และคณะกรรมการเครือข่าย 4) มีกิจกรรมการคดั เลือก ทสม. และคณะกรรมการเครือข่าย ทสม. ดเี ด่นในจังหวดั ทสม. ดีเดน่ ในจังหวัด โดยสามารถเสนอช่ือ ทสม. และ เครือข่าย ทสม. ดเี ดน่ ได้ทันตามกำหนดเวลา พ้นื ท่ีดำเนนิ งาน จงั หวัดบงึ กาฬ ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ธนั วาคม 2563 - กนั ยายน 2564 งบประมาณ จำนวน 225,000 บาท (สองแสนสองหมืน่ ห้าพนั บาทถ้วน) หน่วยงานรบั ผิดชอบ ส่วนสงิ่ แวดลอ้ ม สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมจังหวดั บึงกาฬ

54 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั 1) มีการคัดเลือกคณะกรรมการเครือข่าย ทสม. ประจำจังหวัด และเครือข่ายมีการประชุมหารือเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรม อย่างนอ้ ย 2 ครงั้ 2) เครือข่าย ทสม. สามารถขับเคลื่อนกิจกรรมที่สนับสนุนภารกิจของกระทรวงฯ และเป็นแนวร่วมภาคประชาชน ในการเฝา้ ระวงั ฟน้ื ฟู และอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในพน้ื ท่ีได้ 3) เครือข่าย ทสม. ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพตามหลักสูตรมาตรฐาน ทสม. มีความรู้ความสามารถในการสื่อสาร กับประชาชนในพื้นที่ เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การเฝ้าระวังด้านมลพิษสิ่งแวดล้อมในชุมชน (น้ำ อากาศ ขยะมลู ฝอย และอน่ื ๆ) รวมถงึ การใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาติในพ้ืนทใ่ี ห้เกิดความยัง่ ยนื ได้ 4) มกี ารคัดเลอื ก ทสม. และเครอื ข่าย ทสม.ดเี ดน่ ระดับจังหวดั ได้ทนั ตามห้วงเวลา 5) ระบบฐานขอ้ มลู ทสม. ท่ีเปน็ ปัจจบุ ัน ครบถ้วนสมบรู ณ์ตามจำนวนที่แท้จริง สรปุ กจิ กรรม 1. จัดประชมุ เครอื ขา่ ยคณะกรรมการอาสาสมัครพิทักษท์ รัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มจังหวัดบึงกาฬ กิจกรรมการประชุมคณะกรรมการเครือข่ายอาสาสมัคร 2. เครือขา่ ย ทสม. ได้มีมติ ดังน้ี พทิ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหม่บู ้าน (ทสม.) 2.1 การคัดเลือกเครือข่าย ทสม. ระดับจังหวัด ระดบั จงั หวดั บึงกาฬ ครั้งท่ี 1/2564 แทนคณะกรรมการเครือข่าย ทสม. ระดบั จังหวดั ทจี่ ะหมดวาระ ในวนั ท่ี 10 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ศนู ย์เรยี นรู้เศรษฐกิจ ลงในเดือน มีนาคม ๒๕๖๔ นี้ คณะกรรมการฯ เห็นด้วยกับมติ พอเพียง บ้านนาจาน หมู่ที่ 4 ตำบลบุ่งคล้า อำเภอบุ่งคล้า ที่ประชุมคณะกรรมการเครือข่าย ทสม.ระดับจังหวัด จงั หวดั บงึ กาฬ ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมประชมุ จำนวน 47 คน และการประชุมคณะกรรมการอำนวยการ ทสม. เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2563 ณ ห้องสิรินธารา โรงแรมเดอะ วัน ผลสรุปจากคณะกรรมการทสม.ทั้ง 8 อำเภอ มีความ อำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ ซึ่งมีมติเห็นควรแจ้ง ค ิ ด เ ห ็ น ส น ั บ ส น ุ น ก ิ จ ก ร ร ม ด ้ า น ท ร ั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ประสานคณะกรรมการ ทสม.ระดับอำเภอ เป็นผู้พิจารณา และสิง่ แวดล้อม ตามแผนงานประชมุ คณะกรรมการเครือข่าย คัดเลือกคณะกรรมการในระดับอำเภอเพื่อความต่อเนื่อง ทสม. (ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ) โดยเน้นผลผลิต ของการดำเนนิ งาน ทางดา้ นทรพั ยากรปา่ ไมเ้ ปน็ หลกั 2.2 จดั ให้มีกิจกรรมศึกษาดูงานท่ีสนับสนุนการ ขอ้ เสนออ่ืน ๆ ขับเคลื่อนด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตาม 1. ผู้อำนวยการสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและ แผนงานประชมุ คณะกรรมการเครอื ข่าย ทสม. สิ่งแวดล้อมจังหวัดบึงกาฬ (นายมณเฑียร วิริยะพันธุ์) แจ้งเรื่อง 2.3 คณะกรรมการเครือข่ายทสม. มีมติเห็นชอบ การได้รับมอบหมายนโยบายจากผู้ว่าราชการจังหวัดบึงกาฬ ให้นายอดุลย์ มากะฐิน เป็น ทสม.ดีเด่น ประเภทบุคคล ดังนี้ และ นายคำฟอง คะแก้ว เป็น ทสม.ดีเด่น ประเภทเครอื ข่าย ทสม. 1.1 โครงการ “ชิงเก็บ ลดเผา” เป็นวิธีการลด (ผแู้ ทนกรมอทุ ยานฯ) การเกิดเพลิงไหมจ้ ากเช้ือเพลิงในช่วงฤดรู ้อน หรอื ใชก้ ารแปรรูป 2.4 การจัดกจิ กรรมของเครอื ข่ายในแต่ละพื้นท่ี เศษวชั พืชเปน็ ผลติ ภณั ฑ์ ขอความร่วมมือให้เครือข่ายในพื้นที่และพื้นที่เข้าร่วมกิจกรรม 1.2 โครงการปลูกป่าและป้องกันไฟป่า ดว้ ย โดยเปา้ หมายในพน้ื ทจี่ งั หวดั บงึ กาฬ จำนวน 100 ไร่ 1.3 สำรวจแหล่งน้ำผิวดิน เพื่อนำข้อมูลไปแก้ไข 2.5 จ้างเหมาเจ้าหน้าที่เพื่ออำนวยการและ สนบั สนนุ การดำเนินงานโครงการฯ ตามแผนงาน และจดั การการใชท้ รัพยากรน้ำในช่วงฤดูนำ้ แล้ง สำนักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมจงั หวดั บึงกาฬ

55 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ คณะกรรมการในแต่ละอำเภอ/ วธิ ีการ ประธานกลุม่ เสนอขอจัดกิจกรรมการเพาะกล้าไม้ยางนา ซึ่งเป็นพรรณไม้ประจำถิ่น และเป็นที่ต้องการ ของเครือข่ายในแตล่ ะพนื้ ที่ โดยเสนอให้ทำโรงเรอื นชั่วคราวสำหรบั การเพาะกลา้ ไม้ 1. อำเภอบ่งุ คลา้ ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง บ้านนาจาน หมู่ที่ 4 ตำบลบุ่งคล้า อำเภอบุ่งคล้า จังหวดั บึงกาฬ 2. อำเภอศรวี ิไล เสนอจัดกิจกรรมสนับสนุนการปลูกต้นยางนา โดยใช้วิธีการปลูกยางนา “ตามหัวไร่ 3. อำเภอบงึ โขงหลง ปลายนา” และประเด็นปัญหาการจดั การขยะ ในพื้นทีต่ ำบลนาสะแบงเป็นพื้นทต่ี ้นแบบ 4. อำเภอปากคาด เสนอการเพาะกล้ายางนา โดยนำเสนอวิธีการเพาะจากแกลบดำ และทำเป็นพื้นที่ 5. อำเภอเมอื งบงึ กาฬ ในการเรยี นรเู้ พาะพันธุก์ ลา้ ยางนา 6. อำเภอพรเจรญิ เสนอประเด็นการรักษาที่ดินสาธารณะ รักษาตลิ่งริมหนอง ป้องกันการกัดเซาะของตลิ่ง 7. อำเภอโซ่พสิ ัย ทั้งที่เกิดจากธรรมชาติและการกระทำของมนุษย์ โดยใช้การปลูกหญ้าแฝก รวมทั้ง สนับสนุนการปลกู ต้นกล้าไมย้ างนาด้วยเชน่ กนั 8. อำเภอเซกา เสนอการออกโฉนด/ทำแผนลงพื้นที่แจ้งท้องที่ ท้องถิ่น เพื่อสนับสนุนงบประมาณ เครือข่ายน้ำ เช่น การทำแผนอนุรักษ์พื้นที่หนองคราม สนับสนุนการเพาะกล้าไม้ ทำป่าชุมชน เปน็ ทีเ่ พาะพนั ธ์ุกลา้ ไม้ ปลกู ยางนา และนำ้ เสียในเมือง ควรมแี ผนและทำบอ่ บำบัดน้ำเสีย เสนอกิจกรรมการเพิ่มพื้นที่สีเขียว (Green space) โดยเลือกพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง เป็นพื้นที่นำร่อง เช่น การนำทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรน้ำ ทำเป็นแผนการจัดการ ทรัพยากรในแตล่ ะอำเภอ เสนอกิจกรรมสนับสนุนเรื่องการแจ้งการคัดแยกขยะ การท่องเที่ยวแหล่งใหม่ ในตำบลคำแก้ว เร่อื งการอนรุ กั ษ์พนั ธ์ปุ ลาในแหลง่ น้ำ และสนับสนุนการปลูกยางนา เสนอกิจกรรมสนับสนุนให้มีการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง โดยให้มีการสร้าง การเรียนรู้ และการเรียนรู้เร่ืองการปลูกต้นกล้ายางนาด้วยเช่นกัน เสนอการส่งเสริมปลูกเพาะกล้าไม้ เช่น ยางนาซ่ึงเป็นไม้ท้องถ่ิน และควรประชาสัมพันธ์แจ้งเตือนระวัง เรื่องการทำฝายที่กระทบระบบนิเวศ โดยควรเน้นการออกแบบจากพื้นที่ท้องถิ่น กิจกรรมการคัดเลือกคณะกรรมการเครือข่าย ทสม. 2.3) วันที่ 5 กรกฎาคม 2564 ณ ศูนย์เรียนรู้ ระดับอำเภอ และกจิ กรรมอบรมทบทวน บทบาทหนา้ ที่ ทสม. เศรษฐกิจพอเพียง บ้านนาจาน หมู่ที่ 4 ตำบลบุ่งคล้า อำเภอ ระหว่างวันที่ 30 มิถุนายน – 13 กรกฎาคม 2564 บ่งุ คล้า จังหวดั บึงกาฬ (รวม 8 วัน) ณ อำเภอท้องที่ทั้ง 8 อำเภอ จังหวัดบึงกาฬ 2.4) วันที่ 6 กรกฎาคม 2564 ณ ห้องประชุมทีว่ า่ การ ประกอบดว้ ย อำเภอเซกา ตำบลเซกา อำเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ 2.1) วันที่ 30 มิถุนายน 2564 ณ ห้องประชุม 2.5) วันที่ 7 กรกฎาคม 2564 ณ ศูนย์เรียนรู้ องค์การบริหารส่วนตำบลโนนศิลา ตำบลโนนศิลา อำเภอ เศรษฐกิจพอเพียง บ้านโสกโพธิ์ หมู่ที่ 4 ตำบลบึงโขงหลง ปากคาด จังหวัดบึงกาฬ อำเภอบงึ โขงหลง จังหวดั บึงกาฬ 2.2) วันที่ 2 กรกฎาคม 2564 ณ ศูนย์เรียนรู้ 2.6) วันที่ 6 กรกฎาคม 2564 ณ ศาลาประชาคม เศรษฐกิจพอเพียง บ้านสนั ทรายงาม หมู่ท่ี 8 ตำบลนาสะแบง บ้านโคกอุดม หมู่ที่ 1 ตำบลพรเจริญ อำเภอพรเจริญ อำเภอศรีวไิ ล จงั หวัดบงึ กาฬ จังหวัดบงึ กาฬ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มจังหวดั บึงกาฬ

56 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ 2.7) วันที่ 12 กรกฎาคม 2564 ณ หอประชุม สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ท่ีวา่ การอำเภอโซพ่ สิ ยั อำเภอโซพ่ สิ ัย จังหวัดบงึ กาฬ จังหวัดบึงกาฬ ร่วมกับเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ 2.8) วันที่ 13 กรกฎาคม 2564 ณ หอประชุม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) จังหวัด เทศบาลเมืองบึงกาฬ ตำบลบึงกาฬ อำเภอเมืองบึงกาฬ บึงกาฬ จัดประชุมคัดเลือกคณะกรรมการเครือข่าย จงั หวดั บงึ กาฬ อาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 380 คน ทั้งนี้ได้ประธาน (ทสม.) ระดับจงั หวดั จงั หวดั บงึ กาฬ ประจำปีงบประมาณ 2564 เครอื ขา่ ยคณะกรรมการ ทสม.ระดับอำเภอ ทั้ง 8 อำเภอ ดังนี้ ณ ห้องประชุมเจติยาคีรี (ภูทอก) ชั้น 2 ศาลากลางจังหวัด 1) อำเภอปากคาด: นายนว้ ย สิทธนู บึงกาฬ ในวันพธุ ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2564 2) อำเภอศรวี ไิ ล: นายวาปี แสนบญุ มติที่ประชุม การคัดเลือกคณะกรรมการ ทสม. ระดับ 3) อำเภอบ่งุ คลา้ : นายบญุ รวม พรหมอารักษ์ จังหวัด จังหวัดบึงกาฬ ได้รายชื่อคณะกรรมการเครือข่าย 4) อำเภอเซกา: นายทนงศกั ด์ิ อนิ ทร์บตุ ร ทสม. ระดับจงั หวดั จังหวดั บึงกาฬ ดังนี้ 5) อำเภอบงึ โขงหลง: นายอดุลย์ มากะฐนิ 1. นายทนงศักดิ์ อนิ ทรบ์ ุตร ประธานกรรมการ 6) อำเภอพรเจรญิ : นายบญุ โฮม จนั ทรอ์ ่อน 2. นายนว้ ย สทิ ธนู รองประธานกรรมการ 7) อำเภอโซ่พสิ ยั : นายมงั กร ไทรเอ่ียมมี 3. นายอดลุ ย์ มากะฐนิ กรรมการฝ่ายเหรญั ญกิ 8) อำเภอเมอื งบึงกาฬ: นายปรดี าศกั ด์ิ ภาวงค์ 4. นายคำฟอง คะแกว้ กรรมการ 5. นายมงั กร ไทรเอ่ยี มมี กรรมการ กิจกรรมการประชุมคณะกรรมการอำนวยการอาสาสมัคร 6. นายชุมพล จตเุ รศ กรรมการ พิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) 7.นายบญุ รวม พรหมอารักษ์ กรรมการ ระดับจงั หวดั 8. นายชยั โรจน์ อโคตมี กรรมการ 9. นายวาปี แสนบุญ กรรมการ เพื่อคัดเลือกคณะกรรมการเครือข่ายอาสาสมัคร 10. นายปรดี าศกั ดิ์ ภาวงค์ กรรมการ พิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) 11. นายบุญโฮม จันทร์ออ่ น กรรมการและเลขานุการ ระดับจังหวัด จังหวัดบึงกาฬ ในวันที่ 18 สิงหาคม 2564 ณ ห้องประชุมเจติยาครี ี (ภูทอก) ชั้น 2 ศาลากลางจงั หวัดบงึ กาฬ อำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวดั บงึ กาฬ ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม 45 คน กิจกรรมพฒั นาศักยภาพเครือข่าย ทสม.ระดบั จงั หวัด กิจกรรม “การดแู ล อนุรกั ษแ์ ละฟนื้ ฟูทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ตามโครงการพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัคร พิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) จังหวัดบึงกาฬ วันที่ 9 มิถุนายน 2564 ณ บริเวณวัดป่า โป่งตาว บ้านโนนยางคำ หมู่ที่ 7 ตำบลบ้านต้อง อำเภอเซกา จงั หวัดบงึ กาฬ มผี ู้เขา้ รว่ มกจิ กรรม 60 คน สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มจังหวดั บึงกาฬ

57 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ 2. กจิ กรรมปลกู ตน้ ไม้ และเฉลมิ พระเกยี รติพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว เนอื่ งในโอกาสมหามงคลวนัเฉลมิ พระชนมพรรษา 69 พรรษา 28 กรกฎาคม กิจกรรมปลูกต้นไม้ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระ เจา้ อยู่หัว ณ หนองปลาหมดั เนื่องในโอกาสมหามงคลวันเฉลิมพระชนมพรรษา 69 พรรษา 28 กรกฎาคม ตามโครงการพัฒนาเครือข่าย อาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หมู่บ้าน (ทสม.) จังหวัดบึงกาฬ ประจำปีงบประมาณ 2564 ในวันที่ 16 กรกฎาคม 2564 ณ หนองปลาหมัด ตำบลบุ่งคล้า อำเภอบงุ่ คล้า จังหวัดบงึ กาฬ มีผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม 60 คน กิจกรรมปลูกต้นไม้และปล่อยพันธ์ปลา เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว ณ หนองแห่ เนื่องในโอกาสมหามงคลวันเฉลิมพระชนมพรรษา 96 พรรษา 28 กรกฎาคม ตามโครงการพัฒนาเครือข่าย อาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หมู่บ้าน (ทสม.) จังหวัดบึงกาฬ ประจำปีงบประมาณ 2564 ในวันที่ 23 กรกฎาคม 2564 ณ หนองแห่ บ้านอาฮง ตำบล ไคสี อำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 180 คน กิจกรรมปลูกและบำรุงต้นไม้ ณ แหล่งเรียนรู้ป่าชุมชน บ้านนาเจรญิ ตามโครงการพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) จังหวัด บึงกาฬ ประจำปีงบประมาณ 2564 ในวันที่ 27 สิงหาคม 2564 ณ แหล่งเรียนรู้ป่าชุมชนบ้านนาเจริญ ตำบลคำนาดี บ้านนาเจริญ อำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ มีผู้เข้าร่วม กิจกรรม 50 คน สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมจงั หวดั บึงกาฬ

58 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ 3. กจิ กรรมส่งเสรมิ การเพาะชำกล้าไม้ ชอื่ อำเภอ จำนวน ทสม. ชอ่ื ตำบล จำนวน ทสม. กิจกรรมเตรยี มและเพาะกล้าไมย้ างนา ตามโครงการ รายอำเภอ ซาง รายตำบล 73 พัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ เซกา 119 สิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) จังหวัดบึงกาฬ ประจำปี ทา่ กกแดง 130 ท่าสะอาด 68 งบประมาณ 2564 ในวันที่ 8 เมษายน 2564 ณ ศูนย์เรียนรู้ เซกา 964 น้ำจ้นั 106 เศรษฐกิจพอเพียง บ้านนาจาน หมู่ที่ 4 ตำบลบุ่งคล้า บา้ นต้อง 130 อำเภอบงุ่ คล้า จงั หวัดบึงกาฬ มีผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น 27 คน ป่งไฮ 170 โสกก่าม 75 หนองทมุ่ 93 คำแกว้ 113 โซ่ 175 ถำ้ เจริญ 24 โซ่พิสัย 602 บวั ตมู 121 ศรีชมภู 5 หนองพนั ทา 93 เหล่าทอง 71 ดงบัง 4 ทา่ ดอกคำ 8 บงึ โขงหลง 238 บึงโขงหลง 149 โพธห์ิ มากแข้ง 77 โคกกวา้ ง 64 บงุ่ คลา้ 135 บุ่งคลา้ 11 หนองเดนิ่ 60 นากง้ั 27 นาดง 5 โนนศลิ า 71 ปากคาด 232 ปากคาด 126 สมสนกุ 1 หนองยอง 2 ดอนหญา้ นาง 49 ปา่ แฝก 12 พรเจรญิ 94 พรเจรญิ 303 วงั ชมภู 63 ศรชี มภู 1 4. การคัดเลือก ทสม. และเครือข่าย ทสม. ดีเด่น หศนรอสี งำหรัวาชญ้าง 759 ประเภทบคุ คลและประเภทเครอื ขา่ ย ชุมภพู ร 78 ศรวี ไิ ล นาสะแบง 97 392 นาสิงห์ 52 การคดั เลือกทสม.ดเี ด่น ประเภทบุคคล คอื นายคำฟอง นาแสง 54 คะแก้ว ด้านการพิทักษ์และฟื้นฟูป่าไม้ ตำแหน่ง เครือข่าย ศรีวิไล 111 ทสม. (กรมอุทยาน) คำนาดี 64 โคกกอ่ ง 23 การคัดเลือก ทสม.ดีเด่น ประเภทเครือข่าย คือ นายอดุลย์ ไคสี 68 มากะฐิน ด้านการพิทักษ์และฟื้นฟูป่าไม้ ตำแหน่ง ประธาน ทสม. ชยั พร 49 นาสวรรค์ 48 อำเภอบงึ โขงหลง โนนสมบรู ณ์ 20 เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เมืองบึงกาฬ 617 โนนสวา่ ง 52 บึงกาฬ 23 และสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) จังหวัดบึงกาฬ มีสมาชิก โปง่ เปอื ย 41 ทั้งสิ้น 3,483 ราย (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2564) วิศษิ ฐ์ 24 หนองเลิง 108 โดยมีสมาชิกเพมิ่ ขน้ึ ในปี พ.ศ. 2564 ท้งั สน้ิ 87 ราย ดังตาราง รวมจำนวน ทสม. 8 อำเภอ หอคำ 97 3,483 สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มจังหวดั บงึ กาฬ

59 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ โครงการประสานความร่วมมือ ในการกำกับตดิ ตามการดำเนนิ งานตามแผนจดั การ ขยะมลู ฝอยและของเสียอันตรายในพืน้ ทจ่ี งั หวดั จงหวดบงึ กาฬ หลกั การและเหตผุ ล ทั้งนี้ ในส่วนของจังหวัดบึงกาฬ จากการสำรวจ ในปี 2563 ปี 2561 ประเทศไทยมีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้น พบว่า มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้น 402.66 ตัน/วัน มกี ารนำกลบั ไปใชป้ ระโยชน์ 310.30 ตนั /วัน (รอ้ ยละ 77.06) ประมาณ 27.8 ล้านตัน เมื่อเปรียบเทียบกับปี พ.ศ. 2560 มีการกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ 43.52 ตัน/วัน มีปริมาณเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.64 เนื่องจากการขยายตัวของ (ร้อยละ 10.81) และที่เหลืออีก 48.84 ตัน/วัน ชุมชนเมือง และการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตจากสังคม (ร้อยละ 12.13) ได้รับการกำจัดอย่างไม่ถูกต้องตามหลัก เกษตรกรรมสู่สังคมเมือง การเพิ่มขึ้นของประชากร วิชาการ มีสถานที่กำจัดขยะมูลฝอย จำนวน 14 แห่ง การส่งเสริมการท่องเที่ยว การบริโภคที่เพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ (มสี ถานท่กี ำจัดขยะมูลฝอยแบบถูกต้องตามหลักวชิ าการเพียง ปริมาณขยะมูลฝอยในหลายพื้นที่เพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย 2 แห่ง คือ สถานทกี่ ำจดั ขยะมูลฝอยของเทศบาลตำบลศรีพนา สำหรับการจัดการขยะมูลฝอยในปี 2561 ขยะมูลฝอยชุมชน และสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยของเทศบาลตำบลบึงกาฬ) ได้ถูกคัดแยกที่ต้นทางและนำกลับไปใช้ประโยชน์ 9.58 ล้านตัน การจัดการของเสียอันตรายชุมชนได้รับการสนับสนุน (ร้อยละ 34) เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 13 ส่วนใหญ่ งบประมาณจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดบึงกาฬ เป็นการใช้ประโยชน์จากขยะรีไซเคิลและการหมักทำปุ๋ย ในการนำสง่ ไปกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวชิ าการ ซ่ึงสามารถ จากอินทรีย์ ขยะมูลฝอยชุมชนอีกจำนวน 10.88 ล้านตัน เก็บรวบรวมและนำสง่ ไปกำจดั จำนวน 3.4 ตนั มีการแบง่ กลุ่ม (ร้อยละ 39) ถูกนำไปกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ การจัดการขยะมูลฝอยเชิงพื้นที่ (Cluster) ออกเป็น 4 แห่ง ส่วนทเ่ี หลือ ประมาณ 7.36 ล้านตัน (ร้อยละ 27) เปน็ ขยะมลู ประกอบด้วย เทศบาลตำบลศรีพนา เทศบาลตำบลบึงกาฬ ฝอยที่ถูกนำไปกำจัดอย่างไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ และ เทศบาลตำบลพรเจริญ และเทศบาลตำบลปากคาด 2,786 จากการสำรวจสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยทั่วประเทศ พบว่า แห่ง และปิดดำเนินการ 419 แห่ง เนื่องจากมีขยะมูลฝอย ประเทศไทยมีสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยชุมชนและสถานี เตม็ พื้นทีแ่ ละดำเนนิ การปดิ ตามนโยบายของจงั หวัด ขนถา่ ยขยะมลู ฝอยชมุ ชนจำนวน 3,205 แห่ง เปดิ ดำเนินการ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มจงั หวดั บึงกาฬ

60 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ โดย 2 แห่ง คือ เทศบาลตำบลพรเจริญและเทศบาล วธิ ีการดำเนนิ งาน ตำบลปากคาด อยู่ในระหว่างการดำเนินงานเพื่อผลักดันและ 1. ลงพื้นที่เพื่อสำรวจและจัดทำข้อมูลแผนจัดการ ขอรับการสนับสนุนงบประมาณในการก่อสร้าง เพื่อให้จังหวัด บึงกาฬมีระบบการจัดการขยะมูลฝอยเชิงพื้นที่อย่างถูกต้อง ขยะมูลฝอยของจังหวดั ตามหลักวิชาการและเกิดประสทิ ธิภาพ 2. การเข้าร่วมประชุม/การจัดประชุม/อบรมเพื่อสร้าง การดำเนินงานในปี 2564 กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ องค์ความรู้การจัดการขยะมูลฝอยแบบเชิงพื้นที่ และการลงพื้นที่ และสิ่งแวดล้อมได้สนับสนุนงบประมาณโครงการประสาน ประสานการสร้างเครือข่ายภาคประชาชนในการสนับสนุน ความร่วมมือในการกำกับติดตามการดำเนินงานตามแผน การดำเนินงานตามแผนแมบ่ ทการจัดการขยะมูลฝอย จัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายในพื้นที่จังหวัด จงั หวัดบงึ กาฬ ประจำปงี บประมาณ 2564 โดยมีวตั ถุประสงค์ 3. ประสานงานขับเคลื่อนการจัดทำแผนงานโครงการ เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานกิจกรรมติดตามการดำเนินงาน จ ั ด ก า ร ข ย ะ ม ู ล ฝ อ ย ข อ ง อ ง ค ์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส ่ ว น ท ้ อ ง ถิ่ น ตามแผนจดั การขยะมูลฝอยของจังหวัด กิจกรรมการประสาน และจัดกิจกรรมขับเคลื่อนโครงการทำความดีด้วยหัวใจ กับจังหวัดในการประชุมกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง องค์กร ลดภัยสง่ิ แวดลอ้ ม พื้นท่ีดำเนินงาน จงั หวัดบงึ กาฬ ปกครองส่วนท้องถิ่น ประชาชน และผู้นำชุมชนในการสร้าง เป้าหมาย เครือข่ายภาคประชาชนเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตาม แผนแม่บทการจัดการขยะมูลฝอย และกิจกรรมประสาน 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดบึงกาฬ ขับเคลื่อนการจัดทำแผนงานโครงการจัดการขยะมูลฝอย มีการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายชุมชน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และขับเคลื่อนโครงการ อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ และดำเนินการปิดสถานท่ี “ทำความดดี ้วยหัวใจ ลดภยั สิ่งแวดล้อม” ซ่ึงเป็นการส่งเสริม กำจัดขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการอย่างน้อย 5 สนับสนุนและขับเคลื่อนการดำเนินงานต่อเนื่องจากปี 2563 แห่ง ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพและเกิดเป็นรปู ธรรมอยา่ งยงั่ ยืน 2. มีเครือข่ายภาคประชาชนในการสนับสนุนการดำเนินงาน วตั ถุประสงค์ ตามแผนแม่บทการจัดการขยะมูลฝอยครบทุกองค์กร ปกครองสว่ นท้องถิน่ 1. เพื่อติดตามการดำเนินงานตามแผนจัดการขยะมูลฝอย 3. มีการจัดกิจกรรมขับเคลื่อนโครงการทำความดี ของจงั หวัด ด้วยหวั ใจ ลดภัยสงิ่ แวดลอ้ มในพนื้ ทีจ่ ังหวัดอย่างน้อย 5 คร้งั 2. เพื่อประสานการสร้างเครือข่ายภาคประชาชน กลุม่ เปา้ หมาย ในการสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนแม่บทการจัดการ ขยะมูลฝอย หน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ภาคเอกชน และประชาชนในพืน้ ทีจ่ ังหวัดบงึ กาฬ 3. เพอ่ื ประสานงานขับเคลื่อนการจัดทำแผนงานโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน เมษายน 2564 – กันยายน 2564 จัดการขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ ขับเคล่ือนโครงการทำความดดี ้วยหวั ใจ ลดภยั สิง่ แวดลอ้ ม งบประมาณ จำนวน 150,630.- บาท หน่วยงานรับผดิ ชอบ สำนกั งานทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มจังหวัดบึงกาฬ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มจังหวัดบงึ กาฬ

61 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ แผนการดำเนนิ งาน ที่ แผนการดำเนนิ งาน ระยะเวลาการดำเนินงาน ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1 เขียนแผนงาน โครงการ/วางแผน การดำเนนิ งาน 2 สำรวจและจดั ทำข้อมลู แผนจดั การขยะมลู ฝอย ของจังหวดั 3 การเขา้ รว่ มประชุม/ จัดประชุม/อบรม สร้างองค์ความรู้ การจัดการขยะมลู ฝอย การสร้างเครือขา่ ย ภาคประชาชน 4 ประสานขบั เคลื่อนการ จดั ทำแผนงานโครงการ จดั การขยะมลู ฝอยของ องค์กรปกครองสว่ น ท้องถน่ิ 5 จัดกจิ กรรมขับเคลื่อน โครงการทำความดี ด้วยหัวใจ ลดภยั สง่ิ แวดลอ้ ม 6 รวบรวมขอ้ มูลและ จดั ทำรายงานสรุปผล การดำเนินงาน หมายเหตุ : แผนงานสามารถปรับเปล่ยี นได้ตามความเหมาะสม สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มจังหวดั บึงกาฬ

62 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ แผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณ ท่ี กจิ กรรม งบประมาณ แผนการเบกิ จ่าย (บาท) ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส 4 1 5,000 1 การสำรวจและจัดทำข้อมูลแผนจัดการ 10,000 - 23 10,000 ขยะมูลฝอยของจังหวัด 35,000 - - 5,000 - 25,000 10,000 2 การเข้าร่วมประชุม/จัดประชุม/อบรม 20,000 - เพื่อสร้างองค์ความรู้การจัดการขยะมูล 10,000 30,730 ฝอยแบบเชิงพื้นที่ ประสานการสร้าง 35,630 - - 50,000 เครือข่ายภาคประชาชนฯ 50,000 - 105,730 150,630 - - 4,900 3 ประสานงานขับเคลอ่ื นการจดั ทำแผนงาน -- โครงการจัดการขยะมูลฝอยขององค์กร - 44,900 ปกครองส่วนท้องถิ่นและจัดกิจกรรม ขับเคลื่อนโครงการทำความดีด้วยหัวใจ ลดภยั สงิ่ แวดล้อม 4 กิจกรรมงานอำนวยการโครงการฯ และอน่ื ๆ 5 กิจกรรมส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการ บรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน รวมท้ังสนิ้ หมายเหตุ : ค่าใชจ้ า่ ยสามารถถวั เฉล่ยี ไดท้ ุกรายการ ผลท่ีคาดวา่ จะได้รบั 1. มกี ารติดตามการดำเนินงานตามแผนจัดการขยะมลู ฝอยของจังหวัด 2. มีการประสานการสร้างเครือข่ายภาคประชาชนในการสนับสนนุ การดำเนินงาน ตามแผนแม่บทการจดั การขยะมูลฝอย 3. มีการประสานงานขับเคลื่อนการจัดทำแผนงานโครงการจัดการขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และขบั เคลือ่ นโครงการทำความดีดว้ ยหัวใจ ลดภัยสิง่ แวดลอ้ ม สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ

63 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ สรปุ กิจกรรม 1. การเขยี นแผนงานโครงการ/วางแผน การดำเนินงาน กจิ กรรม ผลลพั ธ์ วันที่ 8 ธันวาคม 2563 มีแผนงานปฏิบัติการโครงการประสาน สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความร่วมมือในการกำกับติดตาม จังหวัดบึงกาฬ จัดกิจกรรมการประชุมจัดทำ การดำเนินงานตามแผนจัดการขยะมูล แผนการดำเนินงานขบั เคลื่อนโครงการประสาน ฝอยและของเสียอันตรายในพื้นท่ี ความร่วมมือในการกำกับติดตามการดำเนินงาน จงั หวัด จังหวดั บงึ กาฬ ตามแผนจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย ในพื้นที่จังหวัด จังหวัดบึงกาฬ ปีงบประมาณ 2564 2. การสำรวจและจดั ทำขอ้ มูลแผนจดั การขยะมูลฝอยของจังหวัด ลำดับ วัน เดอื น ปี กิจกรรม ผลลพั ธ์ 1. 22 ก.พ. 64 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ลงพื้นที่ ผู้บรหิ าร , เจ้าหนา้ ทีอ่ งคก์ รปกครอง ร่วมกับเจ้าหน้าที่สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาค ที่ 9 ส่วนท้องถิ่นได้รับความรู้และ อุดรธานี, สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด แนวทางปฏิบัติงานในการบริหาร บึงกาฬ และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบึงกาฬ จัดการขยะมูลฝอยชุมชนและ ร่วมหารือแนวทาง ให้คำแนะนำการจดั การขยะมลู ฝอย การดำเนินงานบริหารจัดการบ่อ ในพื้นที่ ทต.ปากคาด, ทต.หอคำ, ทม.บึงกาฬ, อบต.บุ่งคล้า ขยะให้เกดิ ประสิทธภิ าพมากข้ึน และ อบต.บ้านต้อง โดยเน้นกระบวนการมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วน และชูประเด็นเนื้อหาการจัดการ ขยะตน้ ทางในพนื้ ที่จังหวัด จำนวน 45 คน 2. 23 ก.พ. 64 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติละสิ่งแวดล้อมจังหวัด ผู้บรหิ าร , เจ้าหนา้ ที่องคก์ รปกครอง บึงกาฬ ลงพื้นที่ร่วมกับเจ้าหน้าที่สำนักงานสิ่งแวดล้อม ส่วนท้องถิ่นได้รับความรู้แ ละ ภาคที่ 9 อุดรธานี, สำนักงานส่งเสริมการปกครอง แนวทางปฏิบัติงานในการบริหาร ท้องถิ่นจังหวัดบึงกาฬ และสำนักงานสาธารณสุข จัดการขยะมูลฝอยชุมชนและ จังหวัดบึงกาฬ ร่วมหารือแนวทาง ให้คำแนะนำ การดำเนินงานบริหารจัดการบ่อ การจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ อบต.ถ้ำเจริญ อบต.บัวตูม ขยะใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพมากข้ึน ทต.โซ่พิสยั และอบต.หนองหวั ชา้ ง โดยเนน้ กระบวนการ มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และชูประเด็นเนื้อหา การจดั การขยะตน้ ทางในพน้ื ทจี่ งั หวดั จำนวน 65 คน สำนักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมจงั หวดั บึงกาฬ

64 ลำดบั วนั เดือน ปี รายงานประจำปี 2564 ผลลพั ธ์ สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ กจิ กรรม 3. 27 พ.ค. 64 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ผู้บริหาร, เจ้าหน้าที่องค์กรปกครอง บึงกาฬ ลงพื้นที่ติดตาม การบริหารจัดการบ่อขยะ ส่วนท้องถิ่นได้รับความรู้และ เทศบาลตำบลหอคำ อำเภอเมืองบึงกาฬ และเทศบาล แนวทางปฏิบัติงานในการบริหาร ตำบลปากคาด อำเภอปากคาด จังหวัดบึงกาฬ จัดการขยะมูลฝอยชุมชนและ ตามโครงการประสานความร่วมมือในการกำกับติดตาม การดำเนินงานบริหารจัดการบ่อ การดำเนินงานตามแผนจัดการขยะมูลฝอย และของเสีย ขยะให้เกดิ ประสิทธิภาพมากขน้ึ อันตรายในพน้ื ที่จงั หวดั บงึ กาฬ จำนวน 25 คน 4. 28 พ.ค. 64 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ผู้บริหาร, เจ้าหน้าที่องค์กรปกครอง บึงกาฬ ลงพื้นที่ติดตาม การบริหารจัดการบ่อขยะ ส่วนท้องถิ่นได้รับความรู้และ เทศบาลตำบลศรีพนา อำเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ แนวทางปฏิบัติงานในการบริหาร ตามโครงการประสานความร่วมมือในการกำกับติดตาม จัดการขยะมูลฝอยชุมชนและ การดำเนินงานตามแผนจัดการขยะมูลฝอย และของ การดำเนินงานบริหารจัดการบ่อ เสยี อนั ตรายในพืน้ ท่จี ังหวัดบึงกาฬ จำนวน 10 คน ขยะใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพมากข้นึ 5. 15 ม.ิ ย.64 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับ บึงกาฬ ลงพื้นที่ร่วมกับสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 9 การตรวจประเมินคุณภาพน้ำ (อุดรธานี) และเทศบาลตำบลพรเจริญ เพอื่ เก็บตัวอย่าง ชะขยะ น้ำผิวดิน และน้ำใต้ดิน น้ำชะขยะ น้ำผิวดิน และน้ำใต้ดิน ภายในและบริเวณ เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันการเกิด ใกล้เคียงสถานที่กำจัดขยะมูลฝอย เทศบาลตำบล ปัญหาดา้ นสิง่ แวดลอ้ มท่ีบอ่ ขยะ พรเจริญ อำเภอพรเจริญ จังหวดั บึงกาฬ จำนวน 12 คน 6. 28 มิ.ย.64 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับ บึงกาฬ ลงพื้นที่วิเคราะห์องค์ประกอบขยะที่เป็น การตรวจวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบขยะ ตัวแทนของศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยหลักของจังหวัด จากสถานที่กำจัดขยะ เพื่อจัดทำ ร่วมกับสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 9 (อุดรธานี) ข้อมูลด้านการบริหารจัดการขยะ ณ ศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยรวมของเทศบาลเมืองบึงกาฬ ในพื้นที่ของ อง ค์ กร ป ก คร อง อำเภอเมืองบงึ กาฬ จงั หวดั บึงกาฬ จำนวน 10 คน ส่วนท้องถ่นิ รวม 6 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมจงั หวดั บึงกาฬ

65 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ 3. การเข้าร่วมประชุม/จดั ประชุม/อบรมสรา้ งองคค์ วามร้กู ารจดั การขยะมูลฝอย การสรา้ งเครือขา่ ยภาคประชาชน ลำดบั วนั เดือน ปี กิจกรรม ผลลพั ธ์ 1. 5 ก.พ.64 กิจกรรมการกำจัดของเสียอันตรายชุมชนจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สามารถกำจัด บึงกาฬ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ขยะอันตรายที่เกิดในพื้นที่จังหวัดบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ ร่วมกับสำนักงานส่งเสริมการปกครอง เพื่อนำไปกำจัดอย่างถูกต้องตามหลัก ท้องถิ่นจังหวัดบึงกาฬ ได้ดำเนินงานสนับสนุนให้องค์กร วิชาการ ปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดบึงกาฬ มีการรวบรวม ของเสียอันตรายชุมชนเพื่อนำส่งไปกำจัดอย่างถูกต้อง ตามหลักวิชาการ โดยการสนับสนุนงบประมาณจาก องค์การบริหารส่วนจังหวัดบึงกาฬ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2564 ณ บริเวณหน้าหอประชุมศาลากลางจังหวัดบึงกาฬ ผ้เู ข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 106 คน 2. 3 ม.ี ค.64 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สนง.ทสจ.บึงกาฬ สามารถนำเสนอและ จังหวัดบึงกาฬ เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการสิ่งปฏิกูล แนะนำแนวทางการดำเนินงาน ด้านการ และมลู ฝอย จังหวัดบึงกาฬ คร้ังที่ 1 บริหารจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ให้คณะกรรมการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย จังหวัดบึงกาฬท่ีถกู หลักวชิ าการ 3. 8 มิ.ย. 64 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สนง.ทสจ.บึงกาฬ สามารถนำเสนอและ จังหวัดบึงกาฬ เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการสิ่งปฏิกูล แนะนำแนวทางการดำเนินงาน ด้านการ และมลู ฝอยจงั หวดั บงึ กาฬ ครั้งที่ 2 บริหารจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ให้คณะกรรมการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย จงั หวดั บงึ กาฬที่ถูกหลกั วิชาการ 4. 24 ส.ค.64 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สนง.ทสจ.บึงกาฬ สามารถนำเสนอและ จังหวัดบึงกาฬ เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการสิ่งปฏิกูล แนะนำแนวทางการดำเนินงาน ด้านการ และมลู ฝอยจังหวัดบึงกาฬ ครั้งท่ี 3 บริหารจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ให้คณะกรรมการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย จังหวัดบึงกาฬท่ีถกู หลักวชิ าการ รวม 4 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมจังหวดั บงึ กาฬ

66 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ 4. ประสานขบั เคลอื่ นการจัดทำแผนงานโครงการจัดการขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ลำดบั วนั เดือน ปี กจิ กรรม ผลลพั ธ์ 1. 5 ม.ิ ย. 64 สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมจังหวัดบึงกาฬ ประชาชนและองค์กรปกครอง ร่วมประชุมเพ่ือสร้างองค์ความรู้การจัดการขยะมูลฝอยแบบ ส่วนท้องถิ่นได้รับความรู้ เชิงพื้นทแี่ ละประสานการสรา้ งเครือข่ายภาคประชาชน และ ความเข้าใจในการบริหาร กิจกรรม ทส.พบชุมชน และประสานงานกิจกรรมฟน้ื ฟู ทสม. จัดการขยะมูลฝอยชุมชนและ ด้านสิ่งแวดล้อม ณ ศาลาประชาคมบ้านดอนเสียด การปฏิบัติงานด้านการจัดการ ตำบลบา้ นต้อง อำเภอเซกา จำนวน 65 คน สิ่งแวดลอ้ มในชุมชน 2. 12 มิ.ย. 64 สำนักงานทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมจังหวัดบึงกาฬ ประชาชนและองค์กรปกครอง ร่วมประชุมเพื่อสร้างองค์ความรู้การจัดการขยะมูลฝอย ส่วนท้องถิ่นได้รับความรู้ แบบเชิงพื้นที่และประสานการสร้างเครือข่ายภาคประชาชน ความเข้าใจในการบริหาร และ กิจกรรม ทส.พบชุมชน และประสานงานกิจกรรมฟื้นฟู จัดการขยะมูลฝอยชุมชนและ ทสม. ด้านสิ่งแวดล้อม ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลป่งไฮ การปฏิบัติงานด้านการจัดการ ตำบลปง่ ไฮ อำเภอเซกา จำนวน 65 คน สิ่งแวดลอ้ มในชมุ ชน 3. 24 ม.ิ ย. 64 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมจงั หวัดบึงกาฬ ประชาชนและองค์กรปกครอง ร่วมประชุมเพื่อสร้างองค์ความรู้การจัดการขยะมูลฝอย ส่วนท้องถิ่นได้รับความรู้ แบบเชิงพื้นที่และประสานการสร้างเครือข่ายภาคประชาชน ความเข้าใจในการบริหาร และกิจกรรม ทส.พบชุมชน และประสานงานกิจกรรมฟื้นฟู จัดการขยะมูลฝอยชุมชนและ ทสม. ด้านสิ่งแวดล้อม ณ ศาลาประชาคมบ้านโคกกว้าง การปฏิบัติงานด้านการจัดการ ตำบลโคกกวา้ ง อำเภอบุ่งคล้า จำนวน 65 คน สิ่งแวดล้อมในชมุ ชน 4. 25 ม.ิ ย. 64 สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมจังหวัดบึงกาฬ ประชาชนและองค์กรปกครอง ร่วมประชุมเพื่อสร้างองค์ความรู้การจัดการขยะมูลฝอย ส่วนท้องถิ่นได้รับความรู้ แบบเชิงพื้นที่และประสานการสร้างเครือข่ายภาคประชาชน ความเข้าใจในการบริหาร และกิจกรรม ทส.พบชุมชน และประสานงานกิจกรรมฟื้นฟู จัดการขยะมูลฝอยชุมชนและ ทสม. ด้านสิ่งแวดล้อม ณ ศาลาประชาคมบ้านห้วยเล็บมือ การปฏิบัติงานด้านการจัดการ ตำบลหนองเดิ่น อำเภอบุ่งคล้า จำนวน 65 คน สิ่งแวดล้อมในชุมชน รวม 4 สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมจังหวัดบงึ กาฬ

67 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ 5. จดั กจิ กรรมขับเคล่อื นโครงการทำความดีดว้ ยหัวใจ ลดภยั ส่ิงแวดล้อม ลำดบั วนั เดือน ปี กจิ กรรม ผลลพั ธ์ 1. 5 ก.พ. 64 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดบึงกาฬ เกิดภาคีเครือข่าย ประชาชน ร่วมกับสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดบึงกาฬ จิตอาสาในการดำเนินการ ได้ดำเนินงานสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ บริหารจัดการขยะมูลฝอย จังหวัดบึงกาฬ กิจกรรม โครงการทำความดีด้วยหัวใจ และการดำเนินงาน ลดภัยสิ่งแวดล้อม และมีการรวบรวมของเสียอันตรายชุมชน ด้านส่งิ แวดลอ้ มเชงิ พนื้ ที่ เพื่อนำส่งไปกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ โดยการสนับสนุน เกิดภาคีเครือข่าย ประชาชน งบประมาณจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดบึงกาฬ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ จิตอาสาในการดำเนินการ 2564 ณ บริเวณหน้าหอประชุมศาลากลางจังหวดั บงึ กาฬ ผู้เข้าร่วม บริหารจัดการขยะมูลฝอย กิจกรรมจำนวน 106 คน และการดำเนนิ งาน 2. 5 มิ.ย. 64 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดบึงกาฬ ด้านสิ่งแวดล้อมเชงิ พื้นท่ี เข้าร่วมประชุมเพื่อสร้างองค์ความรู้การจัดการขยะมูลฝอย แบบเชิงพื้นที่และประสานการสร้างเครือข่ายภาคประชาชน ดำเนินกิจกรรม โครงการทำความดีด้วยหัวใจ ลดภัยสิ่งแวดล้อม และกิจกรรม ทส.พบชุมชน และประสานงานกิจกรรมฟื้นฟู ทสม. ด้านสิ่งแวดล้อม ณ ศาลาประชาคมบ้านดอนเสียด ตำบลบ้านต้อง อำเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ จำนวน ๖๕ คน สำนักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมจังหวัดบงึ กาฬ

68 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ ลำดับ วนั เดือน ปี กจิ กรรม ผลลพั ธ์ 3. 12 ม.ิ ย. 64 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดบึงกาฬ เกิดภาคีเครือข่าย ประชาชน เข้าร่วมประชุมเพื่อสร้างองค์ความรู้การจัดการขยะมูลฝอย จิตอาสาในการดำเนินการ แบบเชิงพื้นที่และประสานการสร้างเครือข่ายภาคประชาชน บริหารจัดการขยะมูลฝอย ดำเนินกิจกรรม โครงการทำความดีด้วยหัวใจ ลดภัยสิ่งแวดล้อม และการดำเนินงาน และกิจกรรม ทส.พบชุมชน และประสานงานกิจกรรมฟื้นฟู ทสม. ด้านสง่ิ แวดลอ้ มเชิงพนื้ ท่ี ด้านสิ่งแวดล้อม ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลป่งไฮ ตำบลป่งไฮ อำเภอเซกา จังหวดั บงึ กาฬ จำนวน 65 คน 4. 24 มิ.ย. 64 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดบึงกาฬ เกิดภาคีเครือข่าย ประชาชน เข้าร่วมประชุมเพื่อสร้างองค์ความรู้การจัดการขยะมูลฝอย จิตอาสาในการดำเนินการ แบบเชิงพื้นที่และประสานการสร้างเครือข่ายภาคประชาชน บริหารจัดการขยะมูลฝอย ดำเนินกิจกรรม โครงการทำความดีด้วยหัวใจ ลดภัยสิ่งแวดล้อม และการดำเนินงาน และกิจกรรม ทส.พบชุมชน และประสานงานกิจกรรมฟื้นฟู ทสม. ด้านส่ิงแวดลอ้ มเชิงพน้ื ที่ ด้านสิ่งแวดล้อม ณ ศาลาประชาคมบ้านโคกกว้าง ตำบลโคกกว้าง อำเภอบุ่งคล้า จงั หวดั บึงกาฬ จำนวน 65 คน 5. 25 ม.ิ ย.64 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดบึงกาฬ เกิดภาคีเครือข่าย ประชาชน เข้าร่วมประชุมเพือ่ สรา้ งองค์ความรู้การจัดการขยะมูลฝอยแบบเชงิ จิตอาสาในการดำเนินการ พ้นื ที่และประสานการสร้างเครือขา่ ยภาคประชาชน ดำเนินกจิ กรรม บริหารจัดการขยะมูลฝอย โครงการทำความดีด้วยหัวใจ ลดภัยสิ่งแวดล้อม และกิจกรรม และการดำเนนิ งาน ทส.พบชมุ ชน และประสานงานกิจกรรมฟื้นฟู ทสม.ดา้ นสง่ิ แวดล้อม ดา้ นส่ิงแวดลอ้ มเชิงพน้ื ที่ ณ ศาลาประชาคมบ้านห้วยเล็บมือ ตำบลหนองเดิ่น อำเภอบุ่งคล้า จังหวัดบงึ กาฬ จำนวน 65 คน 6. 14 ก.ย. 64 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดบึงกาฬ เกิดภาคีเครือข่าย ประชาชน จัดประชุมอบรมเชิงปฏิบัติการกิจกรรมส่งเสริมการมีส่วนร่วม จิตอาสาในการดำเนินการ ในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน ภายใต้โครงการประสาน บริหารจัดการขยะมูลฝอย ความร่วมมือในการกำกับติดตาม การดำเนินงานตามแผนจัดการ และการดำเนินงาน ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายในพื้นที่จังหวัดบึงกาฬ รุ่นที่ 1 ดา้ นสิ่งแวดลอ้ มเชิงพน้ื ท่ี และกิจกรรม โครงการ ทำความดีด้วยหัวใจ ลดภัยสิ่งแวดล้อม ห้องประชุมโรงเรียนบ้านนาสะแบง ตำบลนาสะแบง อำเภอศรีวิไล จงั หวัดบงึ กาฬ จำนวน 95 คน สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ

69 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ ลำดับ วัน เดือน ปี กจิ กรรม ผลลัพธ์ 7. 15 ก.ย. 64 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดบึงกาฬ เกิดภาคีเครือข่าย ประชาชน จัดประชุมอบรมเชิงปฏิบัติการกิจกรรมส่งเสริมการมีส่วนร่วม จิตอาสาในการดำเนินการ ในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน ภายใต้โครงการประสาน บริหารจัดการขยะมูลฝอย ความร่วมมือในการกำกับติดตามการดำเนินงาน ตามแผนจัดการ และการดำเนนิ งาน ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายในพื้นที่จังหวัดบึงกาฬ รุ่นที่ 2 ดา้ นสิง่ แวดล้อมเชงิ พืน้ ที่ และกิจกรรม โครงการ ทำความดีด้วยหัวใจ ลดภัยสิ่งแวดล้อม ห้องประชุมโรงเรียนบ้านนาสะแบง ตำบลนาสะแบง อำเภอศรีวิไล 7 จงั หวดั บึงกาฬ จำนวน 95 คน รวม 6. กจิ กรรมส่งเสริมการมสี ่วนรว่ มในการบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยชมุ ชน ลำดับ วัน เดอื น ปี กจิ กรรม ผลลัพธ์ 1. 14 ก.ย. 64 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดบึงกาฬ ประชาชนในพื้นที่ได้รับความรู้ จัดประชุมอบรมเชิงปฏิบัติการกิจกรรมส่งเสริมการมีส่วนร่วม และแผนการดำเนินงาน ในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน ภายใต้โครงการประสาน ด ้ า น ข ย ะ ม ู ล ฝ อ ย ช ุ ม ช น ความร่วมมือในการกำกับติดตามการดำเนินงานตามแผนจัดการ เพื่อสร้างกลุ่มอาสาสมัคร ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายในพื้นที่จังหวัดบึงกาฬ รุ่นที่ 1 พิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ห้องประชุมโรงเรียนบ้านนาสะแบง ตำบลนาสะแบง อำเภอศรีวิไล และสิ่งแวดล้อมหมู่บ้ าน จังหวัดบงึ กาฬ จำนวน 95 คน ในด้านการจัดการขยะ และอนุรักษ์สง่ิ แวดล้อมชุมชน 2. 15 ก.ย. 64 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดบึงกาฬ ประชาชนในพื้นที่ได้รับความรู้ จัดประชุมอบรมเชิงปฏิบัติการกิจกรรมส่งเสริมการมีส่วนร่วม และแผนการดำเนินงาน ในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน ภายใต้โครงการประสาน ด ้ า น ข ย ะ ม ู ล ฝ อ ย ช ุ ม ช น ความร่วมมือในการกำกับติดตามการดำเนินงานตามแผนจัดการ เพื่อสร้างกลุ่มอาสาสมัคร ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายในพื้นที่จังหวัดบึงกาฬ รุ่นที่ 2 พิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ห้องประชุมโรงเรียนบ้านนาสะแบง ตำบลนาสะแบง อำเภอศรีวิไล และสิ่งแวดล้อมหมู่บ้ าน จังหวัดบึงกาฬ จำนวน 95 คน ในด้านการจัดการขยะ และอนุรกั ษ์ส่งิ แวดลอ้ มชุมชน รวม 2 สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมจงั หวัดบงึ กาฬ

70 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ สรปุ แผนการดำเนินงาน สรุปผลการดำเนินงานโครงการประสานความรว่ มมือในการกำกับตดิ ตาม การดำเนนิ งานตามแผนจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอนั ตรายในพ้นื ทจ่ี งั หวัดบึงกาฬ 1. การเขียนแผนงานโครงการ/วางแผน การดำเนินงาน จำนวน 1 ครัง้ 2. การสำรวจและจัดทำข้อมูลแผนจัดการขยะมูลฝอย ของจังหวดั จำนวน 7 ครง้ั 3. การเข้าร่วมประชุม/จัดประชุม/อบรมสร้างองค์ความรู้ การจัดการขยะมูลฝอยการสร้างเครือข่ายภาคประชาชน จำนวน 5 คร้ัง 4. ประสานขับเคลื่อนการจัดทำแผนงานโครงการจัดการ ขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 4 ครัง้ 5. จัดกิจกรรมขับเคลื่อนโครงการทำความดีด้วยหัวใจ ลดภยั ส่ิงแวดลอ้ ม จำนวน 7 คร้งั 6. กิจกรรมส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ขยะมลู ฝอยชมุ ชน จำนวน 2 คร้ัง สรุปรวมการดำเนนิ งานกิจกรรมโครงการประสานความร่วมมือในการกำกบั ติดตามการดำเนินงานตามแผนจดั การ ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายในพื้นที่จังหวัด จังหวัดบึงกาฬ ประจำปีงบประมาณ 2564 ทั้งหมด 26 ครั้ง กจิ กรรมท้ังหมด 13 กจิ กรรม สำนักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ

71 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ สว่ นทรพั ยากรธรรมชาติ อำนาจหน้าท่ี 1 การอนุญาต ตรวจสอบ ควบคุม กำกับดูแล โรงงานแปรรูปไม้ โรงค้าไม้แปรรูป โรงค้าสิ่งประดิษฐ์ และการอนุญาตอืน่ ๆ ตามกฎหมายวา่ ด้วยการปา่ ไม้ และกฎหมายอ่ืน ๆ ท่ีเก่ยี วขอ้ ง 2 การอนุญาต ตรวจสอบ ควบคุม การมีและใช้เลื่อยโซ่ยนต์ ตามกฎหมายว่าด้วยเลื่อยโซ่ยนต์ และกฎหมายอน่ื ๆ ท่ีเกีย่ วข้อง 3 การอนุญาต ตรวจสอบ ควบคุม การทำไม้สวนป่า ตามกฎหมายว่าด้วยสวนป่า และกฎหมายอ่ืน ๆ ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง 4 รับคำขออนุญาตตรวจสอบพื้นที่ การขออนุญาตเข้าทำประโยชน์ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ รับคำขอ ตรวจสอบพื้นที่และพิจารณาอนุญาตการขอผ่านทางหรือปล่อยสัตว์เลื้ยง ตามกฎหมายว่าด้วย ปา่ สงวนแหง่ ชาติ และกฎหมายอน่ื ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 5 จัดทำแผนและบูรณาการ การบริหารจดั การทรพั ยากรปา่ ไม้และที่ดินในระดบั จงั หวดั 6 ส่งเสริม เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการอนุรักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติ 7 ดำเนินการเรื่องร้องเรียนด้านทรัพยากรธรรมชาติและดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วย การอำนวยความสะดวก 8 ปฏิบตั ิงานรว่ มกบั หรือสนับสนนุ การปฏบิ ตั ิงานของหนว่ ยงานอ่นื ทเ่ี กยี่ วข้องหรอื ท่ีไดร้ บั มอบหมาย สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมจังหวดั บึงกาฬ

72 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ 1. ฝา่ ยอนุญาต มหี น้าทค่ี วามรบั ผิดชอบ ดงั น้ี - การอนุญาต ควบคมุ กำกับ ดูแล โรงงานแปรรูปไม้ โรงค้าไม้แปรรูป โรงคา้ ส่งิ ประดษิ ฐ์ - การอนุญาต ควบคุม กำกับ ดูแล การมแี ละใชเ้ ลอื่ ยโซย่ นต์ - การอนุญาตการขน้ึ ทะเบียนและการตัดฟนั ไม้สวนปา่ เอกชน - การอนญุ าตการนำไมแ้ ละของป่าเคล่ือนที่ - การอนุญาตอื่นๆ ตามกฎหมายที่ผู้ว่าราชการจังหวัดบึงกาฬได้มอบหมาย (ยกเว้นการดำเนินการตาม กฎหมาย วา่ ดว้ ยการสงวนและคุ้มครองสตั วป์ า่ ) - ประสานการขออนุญาตเข้าทำประโยชน์ในเขตปา่ สงวนแหง่ ชาติ - ปฏบิ ัติงานร่วมกนั หรอื สนบั สนนุ การฏิบัตงิ านของหน่วยงานอืน่ ท่ีเกีย่ วขอ้ งหรอื ไดร้ บั มอบหมาย 1.1 การอนุญาตอุตสาหกรรมไม้ ดำเนินการออกใบอนุญาต ควบคุม กำกับ ดูแล โรงงานแปรรูปไม้ โรงค้าไม้แปรรูป โรงคา้ สงิ่ ประดิษฐ์ สรปุ ผลการดำเนนิ งานไดด้ งั นี้ ตารางที่ 14 แสดงผลการดำเนินงานออกใบอนญุ าตอุตสาหกรรมไม้ ตั้งโรงงานแปรรปู ไม้โดยใช้ ตง้ั โรงงานแปรรปู ไม้ ตง้ั โรงคา้ หรอื มีไวใ้ นครอบครอง เครอ่ื งจกั ร โดยใชแ้ รงคน เพ่อื การค้าซึ่งส่งิ ประดิษฐ์เครอื่ งไม้ ลำดับ อำเภอ เพื่อประดิษฐกรรม เพ่อื ประดษิ ฐกรรม ต้งั โรงค้าไม้แปรรปู หรอื สงิ่ อืน่ ใดบรรดาท่ีทำด้วยไม้ (โรง) (โรง) (โรง) หวงหา้ ม 1 เมอื งบงึ กาฬ 13 (โรง) 9 5 2 พรเจรญิ 1 -1 - 3 โซ่พิสัย 1 1- - 4 เซกา - - 5 ปากคาด 1 1 6 บึงโขงหลง - -- - 7 ศรีวิไล 1 -- 8 บุง่ คลา้ - -- - รวม 25 โรง 13 3 4 5 1.2 การดำเนนิ การตามพระราชบญั ญัติเลอ่ื ยโซ่ยนต์ พ.ศ.2545 ดำเนนิ การอนุญาต ควบคุม กำกบั ดูแล การมีและใช้เลอ่ื ยโซย่ นต์ ตามพระราชบญั ญัตเิ ล่อื ยโซย่ นต์ พ.ศ.2545 สรปุ ไดด้ ังน้ี ตารางที่ 15 ตารางแสดงผลการดำเนนิ งานออกใบอนญุ าตเลือ่ ยโซ่ยนต์ จำนวน ราย ฉบับ ลำดับท่ี รายการ 14 23 1 การออกใบอนญุ าตให้มีเลอ่ื ยโซ่ยนต์ (ลซ.3) -- 2 การออกใบอนุญาตใหซ้ ่อมแซมเลอ่ื ยโซ่ยนต์ (ลซ.17) 3 การออกใบอนญุ าตให้นำเลือ่ ยโซย่ นต์ออกไปใชน้ อกพน้ื ทเี่ ปน็ การชว่ั คราว (ลซ.13) 13 29 4 ดำเนินการตรวจสอบเลอื่ ยโซ่ยนตข์ องกลางที่ถกู จบั กมุ 5 ออกประชาสัมพันธ์งานเกี่ยวกบั พ.ร.บ.เลอ่ื ยโซย่ นต์ 201 รายการ - 10 ครง้ั - สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมจังหวดั บงึ กาฬ

73 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ 1.3 การดำเนินการตามพระราชบัญญัติสวนป่า พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ดำเนินการขึ้นทะเบียนที่ดิน เปน็ สวนป่า ขน้ึ ทะเบียนตรา และออกหนงั สือรบั รองการแจ้ง ตดั หรือ โค่นไม้ ท่ไี ดม้ าจากการทำสวนป่า ตามพระราชบัญญัติ สวนปา่ พ.ศ. 2535 และแกไ้ ขเพ่มิ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ไมม่ ีผมู้ าขอรบั บริการ ตารางท่ี 16 สรปุ ผลการดำเนนิ งานอนุญาตการขน้ึ ทะเบยี นทดี่ นิ เป็นสวนปา่ และการตดั ฟนั ไม้สวนป่าเอกชน (พ.ศ.2554 - ปจั จบุ นั ) การข้นึ ทะเบยี นท่ดี นิ เปน็ สวนป่า การขน้ึ ทะเบยี นตรา หนังสอื รบั รองการแจ้ง สป.8 สป.9 ตดั หรอื โคน่ ลำดบั ท่ี อำเภอ สป.3 เนือ้ ที่ ไม้สัก(ตน้ ) (ฉบับ) (ฉบับ) ไม้ที่ไดม้ าจากการทำสวน (ฉบับ) (ไร)่ ปา่ (สป.13) (ฉบบั ) 1 เมืองบึงกาฬ 7 70-3-43 3,974 7 7 7 2 พรเจรญิ 3 55-0-31 11,450 3 3 0 3 โซพ่ สิ ัย 4 75-2-57 1,886 4 4 2 4 เซกา 6 93-3-91 8,492 5 5 1 5 ปากคาด 8 145-1-49 14,300 7 7 8 6 บึงโขงหลง 3 65-1-07 153 3 3 3 7 ศรีวไิ ล 1 44-0-69 7,000 1 1 0 8 บุ่งคลา้ 4 41-2-26 2,685 4 4 4 รวม 36 627-3-73 49,940 34 34 26 1.4 การอนุญาตทำประโยชน์ในเขตป่า ขออนุญาตเข้าทำประโยชน์ในเขตป่า ตามมาตรา 54,4 (1) แห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 เพื่อทำการ ดูด ตัก เก็บหิน กรวด ทราย ตามกฎกระทรวง การขออนุญาต และการอนุญาตทำประโยชน์ในเขตป่า พ.ศ. 2558 หมวด 3 การอนุญาต ข้อ 15 การอนุญาตให้ใช้พื้นที่เพื่อทำการ ขุด เกบ็ ซ่งึ ทราย ลกู รัง หรือดนิ ทีม่ ใิ ช่การทำเหมืองแร่ หรอื การขดุ หาแร่รายย่อย และการร่อนแร่ตามกฎหมายว่าด้วยแร่ พื้นที่ที่จะพิจารณาอนุญาตได้ต้องไม่เป็นเขตพระราชฐาน ศาสนสถาน และกึ่งกลางของเขตทาง โดยให้พิจารณาอนุญาต ในจำนวนพ้นื ที่ตามความจำเปน็ และเหมาะสมไดไ้ ม่เกนิ สิบไร่ และมีกำหนดระยะเวลาคราวละไม่เกนิ 5 ปี สรปุ ผลได้ดังนี้ ตารางที่ 17 สรุปขออนุญาตทำประโยชนใ์ นเขตปา่ (เพอื่ ดดู ทราย) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ลำดบั ที่ อำเภอ ขออนญุ าตทำประโยชน์ในเขตป่า (เพือ่ ดดู ทราย) ราย ไร่ 1 เมืองบงึ กาฬ 5 15-3-22 2 พรเจริญ -- 3 โซพ่ สิ ัย -- 4 เซกา -- 5 ปากคาด -- 6 บึงโขงหลง 2 7-0-00 7 ศรวี ิไล -- 8 บุ่งคล้า 6 9-3-17 13 32-2-39 รวม สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มจังหวดั บึงกาฬ

74 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ ตารางที่ 18 สรุปขออนญุ าตทำประโยชนใ์ นเขตปา่ (เพอ่ื ใช้ทำเปน็ ทางลาดลงดูดทรายเปน็ ท่ีกองทราย และวางวสั ดุอปุ กรณ)์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ลำดบั ที่ อำเภอ ขออนญุ าตทำประโยชนใ์ นเขตปา่ (เพ่อื เปน็ ทางลาด) 1 เมอื งบงึ กาฬ ราย ไร่ 2 พรเจรญิ 10 62-0-48 3 โซพ่ สิ ัย -- 4 เซกา -- 5 ปากคาด -- 6 บงึ โขงหลง -- 7 ศรีวไิ ล 4 23-3-00 8 บุ่งคล้า -- 7 37-2-32 รวม 21 123-1-80 1.5 การยืน่ คำขอใช้ประโยชน์ในพนื้ ทีป่ า่ สงวนแหง่ ชาติ ตามมติคณะรฐั มนตรี 23 มิถนุ ายน 2564 จังหวัดบึงกาฬได้รับคำขออนุญาตการใชป้ ระโยชน์ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ที่ก่อสร้างไปก่อนได้รับการอนุญาต ตามมติคณะรฐั มนตรี เมือ่ วนั ที่ 23 มถิ นุ ายน 2563 ท้งั ส้นิ 106 คำขอ ตามมาตรา 13/1 คำขอใช้พื้นที่ของส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐภายในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ตามมาตรา 13/1 แห่งพระราชบัญญตั ิป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 และที่แก้ไขเพิ่มเตมิ จำนวน 46 คำขออยู่ในขั้นตอน ดำเนินการดังน้ี - เอกสารไม่ครบถว้ นและแจง้ ใหส้ ่งเอกสารเพ่ิมเติมจำนวน 40 คำขอ - เอกสารครบถว้ นและแตง่ ตัง้ เจ้าหน้าทีอ่ อกไปตรวจสภาพป่าแล้ว จำนวน 6 คำขอ ตามมาตรา 16 คำขออนุญาตเข้าทำประโยชน์หรืออยู่อาศัยในเขตป่าสงวนแห่งชาติตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ.2507 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (สำหรับส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ) จำนวน 54 คำขอ อยู่ในขั้นตอนการดำเนนิ การดงั น้ี - เอกสารครบถว้ นและแตง่ ตั้งเจา้ หนา้ ที่ออกไปตรวจสภาพป่าแล้ว จำนวน 43 คำขอ - เอกสารไมค่ รบถ้วนและทำหนังสอื แจง้ ให้ส่งเอกสารเพมิ่ เติม จำนวน 11 คำขอ ตามมาตรา 20 คำขออนุญาตทำการปลูกสร้างสวนป่าหรือปลูกไมย้ นื ตน้ ภายในเขตปา่ สงวนแห่งชาติ ตามมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ.2507 และที่แก้ไขเพิ่มเติม จำนวน 6 คำขอ เอกสารครบถ้วน และแตง่ ตั้งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสภาพป่าทั้งหมดแล้ว สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มจงั หวัดบึงกาฬ

75 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ ตามมตคิ ณะรัฐมนตรี 11 พฤษภาคม 2564 เห็นชอบขยายระยะเวลาในการยื่นคำขออนุญาตเข้าทำประโยชน์ในพื้นที่ป่าไม้ โดยให้ส่วนราชการหรือหน่วยงาน ของรฐั ยน่ื คำขออนุญาตเข้าทำประโยชนใ์ นพนื้ ท่ปี า่ ไมภ้ ายใน 120 วนั นบั ตั้งแต่วนั ที่ (สิ้นสุดการรบั คำขอวนั ท่ี 7 กนั ยายน 2564) และจังหวดั บงึ กาฬไดร้ ับคำขอเพิ่มเติมจำนวน 10 คำขอ ไดแ้ ก่ ตามมาตรา 13/1 คำขอใช้พ้นื ท่ีของส่วนราชการหรือหนว่ ยงานของรัฐภายในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ตามมาตรา 13/1 แหง่ พระราชบัญญตั ิปา่ สงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 และทแี่ ก้ไขเพิ่มเติม จำนวน 8 คำขอ ได้แก่ รายกรมทางหลวงชนบท และกรมทรัพยากรนำ้ ตามมาตรา 16 คำขออนุญาตเข้าทำประโยชน์หรืออยู่อาศัยในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ.2507 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (สำหรับส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ) จำนวน 2 คำขอ ไดแ้ ก่ รายสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ตารางท่ี 19 สรุปการยนื่ คำขอเขา้ ทำประโยชน์ในพ้นื ที่ป่าสงวนแห่งชาติ ตามมติคณะรัฐมนตรี จำนวนคำขออนุญาตการใช้ประโยชน์ในเขตปา่ สงวนแห่งชาติ รวมจำนวน ทก่ี ่อสร้างไปก่อนไดร้ ับการอนุญาต คำขอ ม.13/1 ม. 16 ม. 20 106 มติ ครม. 23 มถิ ุนายน 2564 46 54 6 10 มติ ครม. 11 พฤษภาคม 2564 8 2 0 116 รวมท้ังสนิ้ 56 56 6 สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ

76 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ 2. ฝา่ ยอนรุ กั ษ์และส่งเสริม มีหน้าทค่ี วามรบั ผิดชอบ ดังน้ี - จัดทำแผนจัดการทรพั ยากรธรรมชาตขิ องจงั หวดั - ประสานการแกไ้ ขปัญหาการบุกรุกพ้ืนทป่ี า่ และการทำลายทรัพยากรปา่ ไม้ในระดับจงั หวดั - ประสานการสำรวจการใช้ประโยชนท์ รพั ยากรธรนีในระดบั จังหวดั - ส่งเสริมเผยแพร่และสร้างเครอื ขา่ ยการมีสว่ นรว่ มในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ - ปฏบิ ัตงิ านร่วมกันหรอื สนับสนุนการปฏิบัติงานของหนว่ ยงานอนื่ ทีเ่ ก่ียวขอ้ งหรือที่ได้รบั มอบหมาย 2.1 ขอ้ มูลพนื้ ฐานดา้ นทรัพยากรปา่ ไม้ 1) แนวเขตปา่ ไม้ตามกฎหมาย จังหวดั บึงกาฬมีพืน้ ทีป่ ระมาณ 4,002.92 ตารางกิโลเมตร หรอื 2,501,825.82 ไร่ (ตามขอ้ มูล GIS กรมการปกครอง) โดยจำแนกประเภทป่าไม้ออกเป็น 2 พ้ืนท่ี ดังน้ี 1.1) พื้นที่อนุรักษ์ตามกฎหมาย โดยประกาศพระราชกฤษฎีกา กำหนดพื้นที่ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ จำนวน 1 แห่ง (บางส่วน), เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่า จำนวน 1 แห่ง และเขตห้ามล่าสัตว์ป่า จำนวน 2 แห่ง รวมเนื้อที่ประมาณ 154,652 ไร่ ซึ่งอยู่ในความควบคุมดูแลของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช โดยมอบให้สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ ท่ี 10 (อดุ รธานี) เปน็ ผคู้ วบคมุ ดแู ล พื้นทป่ี า่ อนรุ กั ษ์ 4 แหง่ ประกอบดว้ ย (1) เขตรักษาพันธุสัตว์ป่าภูวัว มีเนื้อที่ตามประกาศกฎหมายเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2518 เน้ือที่ 116,562 ไร่ (2) เขตห้ามล่าสัตว์ป่าบึงโขงหลง มีเนื้อที่ตามประกาศกฎหมายเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2525 เน้ือที่ 6,840 ไร่ (3) อุทยานแหง่ ชาตภิ ูลงั กา (บางสว่ น) มเี น้อื ทตี่ ามประกาศกฎหมายเม่ือวันที่ 23 ธันวาคม 2552 เนอ้ื ท่ี 31,250 ไร่ (มีพืน้ ท่คี าบเกีย่ วจงั หวัดนครพนม) (4) เขตห้ามล่าสัตว์ป่ากุดทิง มีเนื้อที่ตามประกาศกฎหมายเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2562 เนอ้ื ที่ 9,078.25 ไร่ 1.2) พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ โดยการออกกฎกระทรวงประกาศเป็นป่าสงวนแห่งชาติ จำนวน 6 ป่า พื้นที่ตามกฎหมาย 1,704,978 ไร่ (คำนวณจากโปรแกรม GIS มีเนื้อที่ 1,405,834.41) แต่พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาตินั้น บางส่วนได้นำไปออกพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า รวมทั้งส่งมอบให้สำนักงานปฏิรูปที่ดิน นำไปปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทำให้เหลือพื้นที่ที่ยังคงสภาพเป็นป่าสงวนแห่งชาติในความรับผิดชอบของกรมป่าไม้ จำนวนเนอื้ ทปี่ ระมาณ 188,261.17 ไร่ โดยสำนกั จัดการทรัพยากรปา่ ไม้ท่ี 6 (อดุ รธาน)ี เป็นผ้คู วบคุมดูแล พ้ืนทีป่ า่ สงวนแหง่ ชาติ 6 แห่ง ประกอบด้วย (1) ป่าดงภูวัว เน้ือท่ตี ามประกาศกฎกระทรวง ฉบับที่ 205 พ.ศ. 2510 มเี น้ือที่ประมาณ 89,375 ไร่ (2) ป่าดงหนองตอและปา่ ดงสชี มพู เนื้อทต่ี ามประกาศกฎกระทรวง ฉบับที่ 206 พ.ศ. 2510 มีเนอื้ ที่ประมาณ 194,375 ไร่ (3) ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสงิ ห์ และปา่ ดงสชี มพู เนือ้ ที่ตามประกาศกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 209 พ.ศ. 2510 มีเนื้อท่ีประมาณ 258,235 ไร่ (4) ป่าดงเซกา ป่าดงสีชมพู ป่าภูทอกใหญ่ภูวัว และป่าดงซำบอนเซกา เนื้อที่ตามประกาศ กฎกระทรวง ฉบับท่ี 217 พ.ศ. 2510 มเี น้ือท่ีประมาณ 366,250 ไร่ (5) ปา่ ดงสีชมพโู พนพสิ ัย (บางส่วน) เนอ้ื ทีต่ ามประกาศกฎกระทรวง ฉบับท่ี 711 พ.ศ. 2517 มเี นื้อที่ ประมาณ 735,625 ไร่ (มพี น้ื ทปี่ า่ คาบเกีย่ วจังหวดั หนองคาย) (6) ป่าดงชมภพู ร เนือ้ ทต่ี ามประกาศกฎกระทรวง ฉบับท่ี 891 พ.ศ. 2523 มีเนอ้ื ท่ปี ระมาณ 61,118 ไร่ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ

77 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ ตารางท่ี 20 สรปุ ขอ้ มูลพ้ืนท่ีป่าอนรุ กั ษ์ และพนื้ ท่ปี า่ สงวนแห่งชาติ ลำดบั ประเภท รายช่ือ ตามกฎหมาย พนื้ ที่ (ไร)่ พื้นที่ที่ไม่มีการทบั ซ้อน คำนวณด้วยโปรแกรม GIS รอ้ ยละของพืน้ ที่ ไร่ จังหวัด 1 จงั หวัดบงึ กาฬ แนวเขตการปกครอง 2556 2,501,825.82 100.00 2 พื้นท่ีอนุรกั ษ์ 2.1 อทุ ยานแห่งชาตภิ ลู งั กา (เฉพาะ จ.บก) 31,250 9,228.71 0.37 2.2 เขตรกั ษาพันธ์สุ ัตว์ปา่ ภูววั 116,562 117,511.32 4.70 2.3 เขตหา้ มลา่ สตั ว์ปา่ บึงโขงหลง 6,840 11,503.39 0.46 2.4 เขตห้ามลา่ สัตว์ป่ากดุ ทิง 9,078.25 9,078.25 0.36 รวมพื้นทอ่ี นรุ กั ษ์ 163,730 147,321.67 5.89 3 ป่าสงวนแหง่ ชาติ 3.1 ป่าดงภวู ัว 89,375 13,029.19 0.52 3.2 ป่าดงหนองตอ และป่าดงสชี มพู 194,375 55,932.60 2.24 3.3 ป่าดงดบิ กะลา ปา่ ภสู ิงห์ 258,235 52,224.16 2.09 และปา่ ดงสีชมพู 366,250 735,625 43,987.92 1.78 3.4 ป่าดงเซกา ป่าดงสชี มพู ป่าภูทอกใหญภ่ ูววั 20,233.44 0.80 และป่าดงซำบอนเซกา 2,853.86 0.11 188,261.17 7.52 3.5 ป่าดงสชี มพโู พนพิสยั (เฉพาะ จ.บก) 1,251,012.90 50.00 3.6 ปา่ ดงชมภพู ร 61,118 รวมพ้ืนทปี่ ่าสงวนแหง่ ชาติ 1,704,978 4 เขตปฏริ ปู เพ่อื เกษตรกรรม (ส.ป.ก.) - หมายเหตุ : เนื้อทไ่ี ดจ้ ากการคำนวณดว้ ยโปรแกรมทางด้านสารสนเทศภูมศิ าสตร์ 2) พืน้ ทีป่ ่าไม้ของจงั หวัดบึงกาฬ สภาพพื้นที่ป่าไม้ทุกอำเภอ พื้นที่ป่าไม้ที่พบอยู่ในพื้นท่ี ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงภูวัว, ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าดงหนองตอและป่าดงสชี มพู, ป่าสงวนแหง่ ชาตปิ ่าดงสชี มภโู พนพสิ ยั , ป่าสงวนแห่งชาติปา่ ดงชมภูพร, ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์และป่าดงสีชมพู, ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงเซกา ป่าดงสีชมพู ป่าภูทอกใหญ่ภูวัว และป่าดงซำบอนเซกา เขตห้ามล่าสตั วป์ ่าบงึ โขงหลง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ปา่ ภวู ัว และอุทยานแหง่ ชาตภิ ูลงั กา นิยามพื้นที่ป่าไม้ พื้นที่ปกคลุมของพืชพรรณที่สามารถจำแนกได้ว่าเป็นไม้ยืนต้นปกคลุมเป็นผลต่อเนื่อง ขนาดไม่น้อยกว่า 3.125 ไร่ และหมายรวมถึงทุ่งหญ้าและลานหินที่มีอยู่ตามธรรมชาติ ที่ปรากฏล้อมรอบด้วยพื้นที่ ที่จำแนกได้ว่าเป็นพื้นที่ป่าไม้ โดยไม่รวมถึงสวนยูคาลิปตัส หรือพื้นที่ที่มีต้ นไม้ แต่ประเมินได้ว่าผลผลิตหลัก ของการดำเนินการไม่ใช้เนื้อไม้ ไดแ้ ก่ พนื้ ท่วี นเกษตร สวนผลไม้ สวนยางพารา และสวนปาลม์ สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มจังหวัดบงึ กาฬ

78 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ ตารางที่ 21 แสดงสถติ ขิ ้อมูลสภาพพน้ื ทปี่ ่าไม้ของจงั หวดั บงึ กาฬ ย้อนหลงั 7 ปี รายละเอยี ด 2555-2556 2556-2557 2557-2558 2558-2559 2559-2560 2561-2562 2562-2563 พนื้ ที่ป่าไม้ (ไร)่ 179,813.74 172,610.83 171,971.93 174,225.01 175,485.96 174,812.63 173,930.27 ร้อยละพนื้ ท่ปี ่าไม้ 7.19 6.90 6.87 6.96 7.01 6.99 6.95 หมายเหตุ : ขอ้ มูลพื้นทป่ี า่ จากโครงการจัดทำข้อมลู สภาพพ้นื ทป่ี ่าไม้ ปี พ.ศ. 2555-2563 จากสำนกั จัดการทด่ี ินปา่ ไม้ กรมปา่ ไม้ ตารางท่ี 22 ข้อมลู ชนดิ ป่าของจงั หวดั บึงกาฬจากผลการแปลปา่ จากภาพถา่ ยดาวเทยี ม พ.ศ. 2559 – 2560 ชนดิ ป่า พ้นื ท่ี (ไร)่ 34,246.53 รอ้ ยละ ปา่ ดิบแล้ง 311.12 1.37 ป่าบงึ น้ำจืด 0.01 ป่าเบญจพรรณ 35,575.70 1.42 ปา่ เตง็ รงั 16,760.55 0.67 ปา่ ไผ่ 13,429.74 0.54 สวนปา่ สัก 0.01 สว่ นปา่ อืน่ 144.27 <0.01 ปา่ ทฟ่ี ืน้ ฟูตามธรรมชาติ 114.31 0.35 ปา่ ทงุ่ 8,759.56 0.74 สังคมพืชลานหนิ 18,534.58 1.90 47,609.60 ข้อมูลสภาพพื้นที่ป่าไม้ ปี พ.ศ. 2563 จัดทำขึ้นจากข้อมูลภาพดาวเทียม Sentinel-2 ที่มีความละเอียดจุดภาพ 10 เมตร และข้อมูลดาวเทียม Landsat 8 ความละเอียดจุดภาพ 30 เมตร มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อใช้สำหรับการศึกษา ทรัพยากรป่าไม้ในระดับประเทศ ดังนั้นหากต้องการนำข้อมูลนี้ไปใช้สำหรับภารกิจตรวจสภาพพื้นที่ป่าไม้รายแปลง ขนาดเล็ก อาทิ พื้นที่ถือครองภาครัฐหรือที่ในรูปแบบอื่น ๆ ควรใช้ข้อมูลนี้เป็นข้อมูลสนับสนุนร่วมกับข้อมูลการรับรู้ ระยะไกลรูปแบบอื่นๆ ที่มีรายละเอียดจุดภาพสูง จะทำให้การนำข้อมูลสภาพื้นที่ป่าไม้ไปใช้ประโยชน์ได้ อย่างมีประสิทธภิ าพและถกู ตอ้ งมากย่ิงขึ้น 3) จดุ ความรอ้ น (Hotspot) จุดความร้อน (Hotspot) ในพื้นที่ป่า จุดความร้อนที่คาดว่ามีสาเหตุจากการเกิดไฟป่าในพื้นที่ป่าที่ทำการ ตรวจวัดด้วยเทคโนโลยีการสำรวจ ระยะไกลโดยใช้ดาวเทียม Suomi NPP Sensor VIIRS ที่ตรวจพบ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ใช้ข้อมูลสถานการณ์ไฟป่ารายวันของ GISTDA ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (เดือนตุลาคม 2563 - เดือนกันยายน 2564) ไมน่ ับรวมจดุ ความร้อน (Hotspots) ท่เี กดิ จากการจดั การเช้ือเพลงิ ตามหลกั วชิ าการ (การชงิ เผา) ตารางที่ 23 แสดงสถติ ิ Hotspot ยอ้ นหลงั 4 ปี ปีงบประมาณ 2561 ปงี บประมาณ 2562 ปีงบประมาณ 2563 ปีงบประมาณ 2564 ป่าอนุรกั ษ์ ปา่ สงวน ปา่ อนรุ กั ษ์ ปา่ สงวน ป่าอนรุ ักษ์ ป่าสงวน ป่าอนุรกั ษ์ ปา่ สงวน 31 - 151 - 8 10 2 24 สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มจังหวดั บึงกาฬ

79 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ 2.2 งานดา้ นการปอ้ งกนั และปราบปรามการตดั ไม้ทำลายปา่ จังหวัดบึงกาฬโดยคณะอนุกรรมการป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าจังหวัดบึงกาฬ (คปป.จ.บก) มีหน้าที่บูรณาการ ควบคุม กำกับดูแล และดำเนินการป้องกันและปราบปรามการกระทำผิดกฏหมาย เกี่ยวกับการป่าไม้ในท้องที่จังหวัดบึงกาฬ ผลการดำเนินงานในการปฎิบัติการป้องกันและปราบ ปรามการกระทำผิด กฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่จังหวัดบึงกาฬ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สรุปผลได้ดังน้ี ตารางท่ี 24 สรุปผลคดีเป็นรายอำเภอในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 อำเภอ ตรวจพบการกระทำผดิ ผู้ต้องหา (คน) ไม้ (คดี) (ท่อน/ปริมาตร ม3) เมืองบึงกาฬ 1 - 35/ 2.447 ม3 บุ่งคล้า - - - เซกา 3 3 โซพ่ ิสัย - - 34 / 5.13 ม3 พรเจริญ 1 - - ปากคาด - - ศรวี ไิ ล - - 3/0.211 ม3 2 - - บึงโขงหลง - 7 3 รวม 75 / 2.08 ม3 132 / 9.59 ม3 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มจังหวดั บึงกาฬ

80 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ สรปุ ผลกิจกรรม กิจกรรม 1 มอบนโยบายด้านการป้องกันไฟป่า หมอกควัน และฝุ่นละอองขนาดเล็ก ( PM2.5) จังหวัดบึงกาฬ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 จัดกิจกรรมมอบนโยบายด้านการป้องกันไฟป่า หมอกควัน และฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) จังหวดั บงึ กาฬ จากผู้ว่าราชการจังหวัดบึงกาฬ และรองผวู้ ่าราชการจังหวดั บึงกาฬ ณ หอประชมุ โรงเรียนบุ่งคล้านคร อำเภอบุ่งคล้า จงั หวดั บึงกาฬ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมจังหวัดบึงกาฬ

81 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ ตาราง 25 สรปุ ข้อสัง่ การ/มอบนโยบาย ผ้วู ่าราชการจงั หวดั บึงกาฬและรองผูว้ า่ ราชการจังหวัดบงึ กาฬ ลำดบั ประเดน็ ข้อส่งั การ หน่วยงานท่ีเก่ยี วขอ้ ง 1. ขอ้ ส่งั การ/มอบนโยบาย ของ นายสนทิ ขาวสอาด ผู้ว่าราชการจังหวัดบงึ กาฬ การสร้างการรับรู้ และสร้างความเข้าใจ ประชาสัมพันธ์การดำเนินการต่างๆให้กับชุมชน -ทุกหนว่ ยงาน 1.1 โดยอาจปรับเปลี่ยนรูปแบบใหม่ๆ ถ้าหากการดำเนินการในลักษณะที่เคยปฏิบัติมาไม่ได้ผล รวมทงั้ การสร้างจติ สำนึกรักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม ปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) ปัญหาขยะและการกำจัดปัญหากลิ่นเหม็นของโรงงาน - ส่วนสง่ิ แวดล้อม ให้ดำเนินการของความร่วมมือ สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาค ร่วมกับหน่วยงานในจังหวัด อาทิเช่น สนง.ทสจ.บึงกาฬ เกษตรจังหวัดบึงกาฬ อุตสาหกรรมจังหวัดบึงกาฬ ทรัพยากรรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด 1.2 บึงกาฬ ขนสง่ บึงกาฬ ทอ้ งถนิ่ จังหวดั บงึ กาฬ และองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ บูรณาการทำงาน/ ตรวจสอบ การลดการเผาในพื้นที่เกษรตกรรมหรือที่โล่งแจ้ง การปล่อยมลพิษ/กลิ่นจากโรงงาน รถยนต์ หรอื ปัญหาจากฝุน่ ละอองอื่น ๆ ภัยพิบัติจากความแห้งแล้ง ให้จัดทำฐานข้อมูลบ่อน้ำบาดาล รวมทั้งการอนุมัติ อนุญาต -ส่วนทรัพยากรน้ำ 1.3 ให้ขดุ เจาะน้ำบาดาล ต้องดำเนินการอยา่ งรอบคอบ รวดเร็ว และโปรง่ ใส สนง.ทสจ.บึงกาฬ ปัญหาช้างป่าออกนอกพื้นที่ ให้ค้นหา/แก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ ต้องมีการบริหารจัดการ -ส่วนทรัพยากรธรรมชาติ มีกิจกรรมจัดหาทุน อาทิเช่น การทอดผ้าป่าเพื่อช้างป่า กองทุนเพื่อเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ สนง.ทสจ.บึงกาฬ 1.4 รวมท้งั มีการจัดทำโครงการทม่ี ีกรอบและแนวทางท่ีชัดเจนในทิศทางเดยี วกัน -เขตรกั ษาพันธ์ุสัตว์ป่าภู ววั 1.5 ตอ้ งมกี ารทำงานเชิงรกุ โดยการมสี ว่ นร่วมกบั ชมุ ชนใหม้ ีการบริหารจดั การท่ดี ี -ทุกหนว่ ยงาน การปลกู ต้นไม้ ควรปลกู ไม้ยืนต้น ประเภทไม้ดอก เพ่อื ใหเ้ กิดความสวยงาม และเปน็ การส่งเสริม -ทุกหนว่ ยงาน 1.6 การท่องเทีย่ วในชุมชนโดยความต้องการของชุมชน 1.7 แหลง่ ทอ่ งเท่ียว ควรมีการปรบั ปรุงเชิงท่องเทยี่ ว โดยไมก่ ระทบต่อระบบนิเวศโดยรวม - สบอ.10(อุดรธานี) เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความสะดวก สะอาด ปลอดภยั - สจป.6 (อุดรธานี) 1.8 การบริการประชาชน ควรปฏบิ ัติงานเชงิ รกุ ใช้ระบบสารสนเทศมาชว่ ยในการทำงาน -ทุกหน่วยงาน ปัญหา อปุ สรรคในการทำงานควรมีการถอดบทเรียนแล้วนำมาปรบั ปรุงในการปฏิบัติ -ทกุ หน่วยงาน 1.9 เพอ่ื ให้เกิดผลสมั ฤทธ์ิทีด่ ี มปี ระสทิ ธภิ าพในการทำงาน สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มจังหวดั บึงกาฬ

82 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ ลำดบั ประเดน็ ขอ้ สัง่ การ หน่วยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง 2. ข้อสั่งการ/มอบนโยบาย ของ นายนฤชา โฆษาศิวิไลซ์ รองผู้ว่าราชการจังหวดั บึงกาฬ ให้จัดตั้งชุดปฏิบัติการมวลชน ในระดับพื้นที่ หมู่บ้าน ตำบล ประกอบด้วย ข้าราชการ -ทุกหน่วยงาน 2.1 พนกั งานราชการ ลูกจา้ ง อาสาสมัครต่างๆ และจติ อาสาพระราชทาน จัดทำแผนปฏิบัติการในระดบั หมบู่ า้ น ตำบล มอบหมายหนา้ ทีเ่ ฝา้ ระวงั การเผา เชน่ เผาไร่ - ส่วนส่ิงแวดล้อม เผาวัชพชื ทางการเกษตร เผาป่า เป็นต้น อนั เปน็ ตน้ เหตุของการเกิดฝุ่นควัน มลพษิ สนง.ทสจ.บงึ กาฬ 2.2 ใหป้ ระสานงานกับชุดปฏบิ ตั ิการเดมิ ที่มอี ยู่ตามพื้นท่ี (ซ่งึ จัดต้ังโดยมหาดไทย ปภ.) ในการสร้างเครอื ข่ายในระดบั พ้นื ท่ี ทั้งกำนนั ผู้ใหญบ่ ้าน อสม ฯลฯ การสร้างการรบั รู้ รณรงค์การงดเผาในเขตพื้นที่ป่าไม้ ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าอนุรักษ์ รวมไปถึง -ส่วนทรัพยากรธรรมชาติ 2.3 ในเขตชุมชน และเขตที่ทำกิน โดยใช้องค์กรตามข้อ 2.1 เป็นหน่วยขับเคลื่อนการปฏิบัติ สนง.ทสจ.บึงกาฬ ในข้อ 2.2 และขอ้ 2.3 ใหส้ ำนกั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมจงั หวดั บึงกาฬ มอบชุดปฏิบตั ิการ - สบอ.10 (อดุ รธาน)ี ตาม ข้อ 2.1 จดั ทำข้อมูลการลกั ลอบลา่ สตั วป์ ่า ตดั ไม้ โดยรวบรวมพนื้ ทเี่ ส่ยี ง/กลมุ่ คนเสยี่ ง - สจป.6 (อดุ รธาน)ี 2.4 ที่มีการลกั ลอบเผาป่า เพอื่ เก็บหาของป่า สัตวป์ า่ ตัดไม้ ฯลฯ - ส่วนทรัพยากรธรรมชาติ สนง.ทสจ.บงึ กาฬ ควรจัดตั้งชุดปฏิบัติการสายตรวจ/สายด่วนพิเศษ เพื่อปฏิบัติงานในลักษณะชุดเคลื่อนที่เร็ว - สบอ.10 (อดุ รธาน)ี 2.5 และเพื่อหาข่าวให้ข้อมูลข่าวสารแก่ผู้บังคับบัญชา เฝ้าระวังป้องกันการทำลาย - สจป.6 (อดุ รธานี) ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ใหสำนักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มจังหวดั บึงกาฬ รวบรวมพืน้ ท่ีแหล่งน้ำ - สว่ นทรพั ยากรน้ำ - พื้นทเ่ี สีย่ งภัยแล้งเป็นประจำทุกปี สนง.ทสจ.บงึ กาฬ - ปริมาณน้ำทมี่ ีทใี่ ช้ - สนง.น้ำภาค อดุ รธานี 2.6 - ลักษณะนำ้ กินนำ้ ใช้ - หมูบ่ ้านที่ใชแ้ หลง่ นำ้ นน้ั ๆ จำนวนเท่าไร กค่ี รัวเรือน เชน่ ห้วยบงั บาตร มีประมาณนำ้ ..........หมบู่ า้ นโดยรอบท่ีใช้น้ำ.......... จำนวน...........ครวั เรอื น นำ้ กนิ ........น้ำใช้.......... และประเภทสตั ว์ป่าท่ีเข้ามาใชป้ ระโยชนใ์ นแหลง่ น้ำ การแก้ไขปัญหาช้างปา่ เพือ่ แกไ้ ขปัญหาการแย่งพ้นื ทีร่ ะหวา่ ง คนกบั สตั ว์ป่า โดยเฉพาะชา้ งป่า - ขสป.ภูววั 2.7 จะตอ้ งมีการสร้างความเข้าใจกับชมุ ชน อยา่ ทำร้ายสตั ว์ป่า ให้สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมจังหวัดบึงกาฬ ศึกษาวธิ กี ารปลูกป่า เพื่อการ - ส่วนทรพั ยากรธรรมชาติ ท่องเที่ยว ศึกษาพื้นที่ที่มีความเหมาะสมตามแหล่งท่องเที่ยว ควรปลูกต้นไม้ชนิดใด สนง.ทสจ.บึงกาฬ 2.8 เช่น แหล่งท่องเที่ยวหินสามวาฬ คนมาเที่ยวช่วงฤดูหนาวควรปลูกพญาเสือโคร่งหรือไม้อ่ืน ที่ออกดอกตามฤดู/ฤดูร้อนปลูกดอกจาน เป็นต้น เพื่อเพิ่มความสวยงานเป็นจุดถ่ายภาพ Check in ของนกั ทอ่ งเที่ยวท่ีมาเยยี่ มชม สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมจังหวดั บงึ กาฬ

83 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ กิจกรรม 2 รณรงค์การเฝ้าระวังไฟป่าและหมอกควัน (ชิงเก็บ ลดเผา) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดำเนินกิจกรรมในวันที่ 29 มิถุนายน 2564 โดยมี นายนฤชา โฆษาศิวไิ ลช์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดบึงกาฬ หัวหน้าส่วนราชการ มวลชน เจ้าหน้าที่สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และผู้ร่วมกิจกรรม จำนวน 300 คน ร่วมกันรณรงค์ การเฝ้าระวังไฟป่า และหมอกควัน (ชิงเก็บ ลดเผา) ปรับปรุงภูมิทัศน์ และเก็บขยะบริเวณ น้ำตกเจ็ดสีเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูวัว พื้นที่ตำบลบ้านต้อง อำเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ กจิ กรรม 3 ป ลู ก ต้ น ไ ม้ ป่ า ส ว ย ง า ม ส อ ง ข้ า ง ท า ง เ ข้ า สู่ แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ท่ี ย ว ท า ง ธ ร ร ม ช า ติ ดำเนินกิจกรรม ในวันที่ 29 มิถุนายน 2564 โดยมี นายนฤชา โฆษาศิวิไลช์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดบึงกาฬ หัวหน้าส่วนราชการ มวลชน เจ้าหน้าที่สังกัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และผู้ร่วมกิจกรรม ร่วมกันปลูกต้นไม้ป่าสวยงาม ประกอบด้วย ไม้อินทนิลน้ำ จำนวน 120 ต้น และไม้ทองกวาวจำนวน 60 ต้น รวมทั้งส้ิน 180 ต้น ระยะทาง 250 เมตร บริเวณสองข้างทาง ทางเข้า นำ้ ตกเจด็ สี ท้องที่หมูท่ ี่ 11 บา้ นดอนเสียดเหนือ ตำบลบ้านต้อง อำเภอเซกา สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ

84 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ กิจกรรม 4 อบรมอาสาสมัครป้องกันไฟป่าภายใต้โครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด บึงกาฬ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กิจกรรมอบรมอาสาสมัครป้องกันไฟป่าภายใต้โครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงานยุทธศาสตร์ ส่งเสริมการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ โครงการการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดบึงกาฬ กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพ และสร้างกลไก การมีสว่ นรว่ มการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อม จำนวน 2 รุ่น ไดแ้ ก่ - กิจกรรมอบรมอาสาสมัครป้องกันไฟป่า รุ่นที่ 1 (ระหว่างวันที่ 9-10 กรกฎาคม 2564) ณ โรงเรียนบุ่งคลา้ นคร อำเภอบุ่งคล้า จงั หวดั บงึ กาฬ ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมเปน็ นักเรยี นโรงเรยี นบงุ่ คลา้ นคร จำนวน 50 คน - กิจกรรมอบรมอาสาสมัครป้องกันไฟป่า ร่นุ ท่ี 2 (ระหว่างวันที่ 14-15 กรกฎาคม 2564) ณ โรงเรียนบงุ่ คลา้ นคร อำเภอบงุ่ คล้า จงั หวัดบึงกาฬ ผู้เขา้ รว่ มเป็นผนู้ ำชุมชน ผู้แทนชุมชน จำนวน 50 คน สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมจงั หวดั บึงกาฬ

85 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ กิจกรรม 5 โครงการปลูกป่าเพ่ืออนุรักษ์ ฟื้นฟูป่าต้นน้ำ ป่าชายเลนและป้องกันไฟป่า ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ตามที่ศูนย์อำนวยการใหญ่จิตอาสาพระราชทาน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงมหาดไทย ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชน จัดทำโครงการปลูกป่าและปอ้ งกันไฟป่า โดยให้ครอบคลุมถึงป่าต้นน้ำ ป่าชายเลน ป่าพรุ และที่ดินของรัฐประเภทอื่นๆ เพื่อร่วมแสดงความจงรักภักดี และสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้า เจ้าอยู่หัว ที่ได้ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจนานัปการเพื่อประโยชน์สุขแห่งอาณาราษฎร โดยโครงการได้กำหนดเป้าหมายจำนวน พนื้ ทป่ี ลูกปา่ และฟนื้ ฟปู ่า จังหวัดบงึ กาฬได้กำหนดพืน้ ทีเ่ ป้าหมายการดำเนินงานตามโครงการปลูกป่าเพื่ออนุรักษ์ ฟนื้ ฟปู ่าต้นน้ำ ป่าชายเลน และป้องกันไฟป่า ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 รวมท้ังสิน้ 613 - 2 - 70 ไร่ สรุปผลการดำเนินการปลูกป่าไดด้ งั นี้ ป่าอนุรกั ษ์ ทส่ี าธารณะฯ รวมพนื้ ท่ปี ลูก 613-2-70 ไร่ ป่าสงวนฯ จำ8น2ว,6น0ก0ลตา้ ไน้ ม้ สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มจังหวดั บึงกาฬ

86 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ ตารางที่ 26 สรปุ ผลการดำเนินงานโครงการปลูกป่าเพื่ออนุรกั ษ์ ฟ้ืนฟปู ่าตน้ น้ำ ปา่ ชายเลนและป้องกนั ไฟป่า ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กำหนดการปลูก* สถานท่ี ประเภทพนื้ ที่** จำนวนพื้นท่ี กลา้ ไมท้ ีป่ ลูก ลำดบั (ระบุหมู่ ตำบล อำเภอ) ปลูก (ตน้ ) (ไร่) (ระบุวนั /เดือน/ป)ี 1 10 มิถนุ ายน 2564 หมู่ท่ี 7 ตำบลบา้ นต้อง อำเภอเซกา ปา่ สงวนแห่งชาติ 193-3-52 38,800 2 7 กรกฎาคม 2564 หมู่ท่ี 8 ตำบลโคกกวา้ ง อำเภอบ่งุ คลา้ ปา่ อนุรกั ษ์ 12-0-0 1,200 3 16 กรกฎาคม 2564 หมทู่ ี่ 5 ตำบลท่าดอกคำ อำเภอบงึ โขงหลง ปา่ อนุรักษ์ 116-0-0 11,600 4 16 กรกฎาคม 2564 หมทู่ ี่ 1 ตำบลบุง่ คลา้ อำเภอบุง่ คลา้ ทส่ี าธารณะประโยชน์ 4-0-0 600 5 21 กรกฎาคม 2564 หมู่ท่ี 3 ตำบลโคกก่อง อำเภอเมืองบงึ กาฬ วัด 10-0-0 1,500 6 22 กรกฎาคม 2564 หมู่ที่ 3 ตำบลโคกก่อง อำเภอเมอื งบึงกาฬ ท่ีสาธารณะประโยชน์ 36-3-18 3,000 7 23 กรกฎาคม 2564 หมทู่ ่ี 3 ตำบลไคสี อำเภอเมอื งบงึ กาฬ ทสี่ าธารณประโยชน์ 10-0-0 2,000 8 23 กรกฎาคม 2564 หม่ทู ี่ 1 ตำบลโคกกวา้ ง อำเภอบ่งุ คล้า ป่าอนุรกั ษ์ 32-0-00 3,200 9 27 กรกฎาคม 2564 หมู่ที่ 8 ตำบลทา่ ดอกคำ อำเภอบงึ โขงหลง ป่าอนรุ กั ษ์ 7-0-00 700 10 6 สิงหาคม 2564 หม่ทู ่ี 8 ตำบลโคกกว้าง อำเภอบงุ่ คล้า ป่าอนุรักษ์ 172-0-00 17,200 11 12 สิงหาคม 2564 หมู่ท่ี 10 ตำบลบงึ กาฬ อำเภอเมอื งบึงกาฬ เอกสารสิทธิ์ 5-0-00 500 12 12 สงิ หาคม 2564 หมู่ที่ 1 ตำบลซาง อำเภอเซกา ที่สาธารณประโยชน์ 5-0-00 300 13 17 สิงหาคม 2564 หม่ทู ี่ 1 ตำบลคำนาดี อำเภอเมอื งบึงกาฬ ปา่ ชมุ ชน 10-0-00 2,000 สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมจังหวดั บึงกาฬ

87 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มจังหวัดบงึ กาฬ

88 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ 3. สรุปงบประมาณจากสำนักงานปลดั กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม 3.1 กิจกรรมดำเนินการตามพระราชบัญญัตเิ ลื่อยโซ่ยนต์ พ.ศ. 2545 หลักการและเหตผุ ล วัตถปุ ระสงค์ “เลื่อยโซ่ยนต์” เป็นเครื่องมือสำหรับตัดไม้และแปรรูปไม้ 1. ให้บริการประชาชนและหน่วยงานต่างๆ ในการ ที่มีประสิทธิภาพสูง อันส่งผลกระทบต่อปัญหาการตัดไม้ ตรวจสอบออกใบอนุญาตให้มีเลื่อยโซ่ยนต์ ทำลายป่าและการป้องกันรักษาป่าตามนโยบายของ และทำเคร่ืองหมายเล่อื ยโซย่ นต์ รัฐบาลมาตลอด พระราชบัญญัติเลื่อยโซ่ยนต์ พ.ศ. 2545 2. ประสานหน่วยงานเกยี่ วข้องผปู้ ระกอบการหรอื จึงเป็นกรอบแนวทางหรือมาตรการทางกฎหมาย ผรู้ ับอนุญาตในการตดิ ตาม/ตรวจสอบและควบคุมดูแล ในการควบคุมการมี การใช้ เลื่อยโซ่ยนต์ของประชาชน การประกอบกิจการเกี่ยวกับการใช้หรือซ่อมแซม และผู้ประกอบกิจการที่ตอ้ งปฏบิ ัติให้เป็นไปตามกฎหมาย เลอื่ ยโซ่ยนตใ์ ห้เป็นไปตามระเบยี บและกฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขการอนุญาต ที่ทาง 3. จัดทำฐานข้อมูลเกี่ยวกับการอนุญาตและรายงานผล ราชการกำหนดภายใต้กรอบอำนาจแห่งกฎหมาย ปฏบิ ัติงานทเ่ี กีย่ วข้อง โดยมกี ิจกรรมทตี่ อ้ งดำเนินงาน ประกอบดว้ ย 1. ตรวจสอบและออกใบอนุญาต ใหม้ ี ใหผ้ ลิต ใหน้ ำเขา้ วธิ กี ารดำเนินการ 1. การรับคำขออนุญาตและการบริการประชาชน เลอ่ื ยโซย่ นต์ 2. ตรวจสอบอนุญาตเปลี่ยนแปลงเลื่อยโซ่ให้มีกำลัง ให้เป็นไปตามขั้นตอน และแนวทางตามระเบียบ กฎหมายที่กำหนดไว้ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติ เครอ่ื งจกั รกลเพ่มิ ข้นึ และสงิ่ แวดลอ้ มจังหวัดบงึ กาฬ 3. ตรวจสอบออกใบแทนใบอนุญาตต่าง ๆ ตาม พ.ร.บ. 2. การร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตรวจสอบ และกิจกรรม การได้รับอนุญาตใช้และประกอบ เลอื่ ยโซย่ นต์ พ.ศ. 2545 กิจการเก่ียวกบั เลอ่ื ยโซย่ นต์ ในพืน้ ท่ีจังหวดั บึงกาฬ 4. ตรวจสอบและออกใบอนญุ าตใหซ้ อ่ มแซมเลือ่ ยโซย่ นต์ 3. ประสานงาน รวบรวมข้อมูลเกี่ยวข้องเกี่ยวกับงาน อนุญาตเลื่อยโซ่ยนต์ และข้อปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึน เปน็ ธรุ กจิ เพือ่ สินจา้ ง เพื่อรวบรวมผลรายงานผลการปฏิบัติงาน 5. ตรวจสอบอนุญาตเปลี่ยนแปลงพื้นที่ให้มีหรือ กิจกรรมดำเนินการตาม พ.ร.บ. เลื่อยโซ่ยนต์ พ.ศ.2545 ทุกวันที่ 25 ของเดือน ให้สำนักการ ใชเ้ ล่อื ยโซ่ยนต์ อนุญาต กรมป่าไมท้ ราบ 6. ออกหนงั สืออนุญาตให้นำเลอ่ื ยโซย่ นตอ์ อกใชน้ อกพน้ื ที่ ที่ไดร้ ับอนญุ าตเป็นการชั่วคราว 7. ตรวจสอบทำเครื่องหมายเล่อื ยโซย่ นตแ์ ละทำหมายเลข เล่อื ยโซ่ยนต์ 8. ตรวจสอบการปฏิบัติตามเงื่อนไขการอนุญาตของ ผู้ขออนุญาตตาม พ.ร.บ. เลือ่ ยโซ่ยนต์ พ.ศ. 2545 งบประมาณ จำนวน 9,000 บาท 9. ตรวจสอบจดั ทำทะเบียนพิจารณาพจิ ารณาออกหนังสือ รับรองการมอบเลื่อยโซ่ยนต์ที่ตกเป็นของแผ่นดิน หรือศาลส่ังริบ ผลการใชจ้ ่ายเงินงบประมาณ (บาท/ร้อยละ) 10.ตรวจสอบเล่ือยโซ่ยนตข์ องกลางจากพนกั งานสอบสวน งบประมาณ เบิกจ่าย คงเหลอื ร้อยละ สภ.ตา่ งๆ ในทอ้ งท่ีจังหวดั บงึ กาฬ 9,000 9,000 - 100 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มจังหวดั บงึ กาฬ

89 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ 3.2 โครงการจัดการปญั หาท่ีดินทำกิน (คทช.) หลกั การและเหตุผล วัตถุประสงค์ การจัดที่ดินทำกินให้ชุมชน เป็นการดำเนินการ 1. เพื่อจัดที่ดินทำกินให้ชุมชนตามนโยบายรัฐบาล ตามนโยบายของรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ในลักษณะแปลงรวม โดยมิให้กรรมสิทธิ์แต่อนุญาต นายกรัฐมนตรี) แถลงต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินของรัฐเป็นกลุ่มหรือชุมชน เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2557 ด้านท่ี 3 การลด ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะกรรมการนโยบาย ความเหลื่อมล้ำของสังคม และการสร้างโอกาส ที่ดินแห่งชาติกำหนดรูปแบบสหกรณ์ หรือรูปแบบอื่นที่ การเข้าถึงบริการของรัฐ ข้อ 3.7 “แก้ปัญหาการไร้ที่ดิน เหมาะสม ทำกินของเกษตรกรและการรุกล้ำเขตป่าสงวน โดยการ 2. เพื่อดำเนินงานตามนโยบายดังกล่าวให้หน่วยงาน กระจายสิทธิการถือครอง ให้แก่ผู้ที่อยู่ในพื้นที่ที่ไม่ได้ ของรัฐซึ่งมีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายของประเภทที่ดิน รุกล้ำ และออกมาตรการป้องกันการเปลี่ยนมือไปอยู่ กำหนดระเบียบ หลักเกณฑ์ ข้อกำหนด หรือเงื่อนไข ในครอบครองของผู้ที่มิใช่เกษตรกร...” และด้านที่ 9 ภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการนโยบายที่ดิน การรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรและการสร้าง แห่งชาติตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สมดุลระหว่างการอนุรักษ์กับการใช้ประ โยชน์ ส่ิงแวดล้อมเสนอ อย่างยั่งยืน ข้อ 9.3 “…เร่งรัดการจัดสรรที่ดินให้แก่ ผู้ยากไร้โดยไม่ต้องเป็นกรรมสิทธิ์ แต่รับรองสิทธิร่วม วธิ ีการดำเนินการ ในการจัดการที่ดินของชุมชน...”รัฐบาลจึงมีแนวทาง 1. ประสานงานการปฏิบัติร่วมกับ คทช.จังหวัด ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามขั้นตอนการ ดำเนินงาน เร่งรัดการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ โดยการ ของคณะอนกุ รรมการจัดหาท่ีดิน จัดทำแนวเขตที่ดินของรัฐโดยชัดเจน เร่งรัดกระบวน 2. จัดการประชุมคณะอนุกรรมการนโยบายที่ดนิ จงั หวดั การพิสูจน์สิทธิการถือครองที่ดินในเขตที่ดินของรัฐ (คทช.จังหวดั ) โดยนำระบบสารสนเทศมาใช้ เพื่อการบริหารจัดการ 3. สำรวจและตรวจสอบข้อมูลแปลงที่ดินของราษฎร การปรับปรุงกฎหมายให้ทันสมัย และสร้างบรรทัดฐาน ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ โดยทำการตรวจสอบ ทบทวน ในการบังคับใช้กฎหมาย อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อมูลให้ถูกต้อง ครบถ้วน ตามบัญชีรายชื่อ และ และเป็นธรรม เพื่อให้การบริหารจัดการที่ดิน ผังแปลงที่ดิน ตามโครงการจัดการทรัพยากรที่ดิน และทรัพยากรที่ดินของประเทศเป็นไปอย่าง และป่าไม้ ในบริเวณพื้นที่ดำเนินการ เพื่อให้ข้อมูล มีประสิทธิภาพสามารถแก้ไขปัญหาความเดือนร้อน พร้อมรองรับการจัดที่ดิน ภายใต้การดำเนินงาน ของประชาชน คณะรัฐมนตรีจึงเห็นชอบให้แต่งต้ัง ของคณะอนกุ รรมการจดั ทด่ี นิ ต่อไป คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) ขึน้ เพ่ือทำ 4. รายงานผลการปฏิบัติงานและเสนอข้อคิดเห็น หน้าที่จัดทำนโยบายและแผนการบริหารจัดการที่ดิน ในการปฏิบัติงานต่อคณะอนุกรรมการนโยบายที่ดิน และทรัพยากรดินของประเทศ กำหนดแนวทาง จงั หวัด (คทช.จงั หวดั ) หรือมาตรการเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบัติ 5) การดำเนินงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน ต า ม น โ ย บ า ย แ ล ะ แ ผ น ก า ร บ ร ิ ห า ร จ ั ด ก า ร ท ี ่ ดิ น ของ คทช. จงั หวดั บึงกาฬ และทรัพยากรดินอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ งบประมาณทีไ่ ด้รบั จำนวน 113,072 บาท และแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ ในการสำรวจ ตรวจสอบ ผลการใช้จา่ ยเงินงบประมาณ (บาท/ร้อยละ) และจัดทำข้อมูล เพื่อจัดที่ดินให้แก่ผู้ยากไร้ที่ไม่มีที่ดิน งบประมาณ เบกิ จา่ ย คงเหลอื รอ้ ยละ ทำกินและที่อยู่อาศัยในรูปแปลงรวมทเ่ี หมาะสม 113,072 113,072 - 100 สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวัดบึงกาฬ

90 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ ผลการดำเนินงาน ลำดบั รายการ จำนวน (ครง้ั ) 1 ประชุมคณะอนุกรรมการนโยบายท่ีดินจงั หวดั บงึ กาฬ (คทช.จังหวดั ) 1 ครัง้ 2 ประชุมคณะทำงานส่งเสรมิ พัฒนาอาชีพ 2 ครั้ง 3 ประชุมคณะทำงานคณะอนุกรรมการนโยบายทด่ี นิ ระดบั อำเภอ 1 ครง้ั 4 ติดตามประเมนิ ความสำเรจ็ ของโครงการทผี่ า่ นมา 1 ครงั้ 5 จัดประชมุ /เวทปี ระชาคม/โครงการเพ่ือสู่การปฏิบตั ิ 5 ตำบล สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมจังหวดั บงึ กาฬ

91 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ 3.3 โครงการปอ้ งกันและปราบปรามการตัดไมท้ ำลายป่าระดบั จงั หวดั จังหวัดบึงกาฬ (คปป.) หลักการและเหตผุ ล เหตผุ ลความจำเปน็ ในการดำเนนิ โครงการ ตามที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2562 เพื่อให้เป็นแนวทางหลักในการพิทักษ์ทรัพยากรป่าไม้ แต่งตั้งคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ ของจังหวัดบึงกาฬและให้หน่วยงานที่รับผิดชอบ ทำลายป่าแห่งชาติ (คปป.) และคณะกรรมการป้องกัน ได้ทำงานวางแผนปฏิบัติการอำนวยการประสานงาน และปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าแห่งชาติ (คปป.) และประชาสัมพันธ์ทำความเข้าใจ แบบบูรณาการ ในการประชุม คปป.ครง้ั ที่ 1/2563 เมื่อวนั ที่ 10 มนี าคม ร่วมกนั ทุกภาคสว่ นไปในทิศทางเดียวกนั 2563 ได้มีมติเห็นชอบให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ ป ้ อ ง ก ั น แ ล ะ ป ร า บ ปร า ม ก าร ต ัด ไ ม ้ ท ำลายป่า ระดับจังหวัด (คปป.จังหวัด) โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัด ผลการดำเนินงาน เปน็ ประธานอนุกรรมการ ประกอบกบั หนังสือสำนักงาน 1 จัดประชุมคณะอนุกรรมการป้องกันการตัดไม้ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมช าติและสิ่งแวดล้ อ ม ทำลายปา่ ระดบั จังหวัด จำนวน 1 ครงั้ ได้จัดสรรงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2564 โครงการ 2 ประชุมคณะอนุกรรมการความมั่นคง และความสงบ ปอ้ งกนั และปราบปรามการตดั ไม้ทำลายป่าระดบั จังหวัด เรยี บรอ้ ยจังหวัดบงึ กาฬ 12 ครงั้ โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ 3 ตดิ ตอ่ ประสานงานหนว่ ยงานในสงั กัด จำนวน 48 ครง้ั ส ิ ่ ง แ ว ด ล ้อ ม ป ร ะ ธ า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า รป ้ อ งกัน 4 ติดตาม ประเมินผล และตรวจเยี่ยมหน่วยงาน และปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าแห่งชาติ (คปป.) ในสังกดั ทส. จำนวน 5 คร้งั ได้จัดสรรงบประมาณให้สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติ 5 มีฐานข้อมูลการป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ และสิ่งแวดล้อม ดำเนินงานภายใต้โครงการป้องกัน ทำลายปา่ จังหวดั บึงกาฬ และปราบปรามการตดั ไม้ทำลายป่าระดบั จงั หวัด 6 ดำเนินการการเข้าทำประโยชน์ในพื้นที่ป่าไม้ และขอผ่อนผันมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2523 ในกรณีที่ปรากฏว่ายังมีส่วนราชการใด วตั ถุประสงค์ เขา้ ทำประโยชนใ์ นพน้ื ทปี่ ่าไม้กอ่ นได้รับอนญุ าต 1. ดำเนินการจัดประชุมคณะอนุกรรมการป้องกัน และปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าระดับจังหวัด (คปป.จงั หวดั ) งบประมาณทไ่ี ด้รบั จำนวน 168,600 บาท 2 ด ำ เ น ิ น ก า ร จ ั ด ท ำ ฐ า น ข ้ อ ม ู ล ก า ร ป ้ อ ง กั น และปราบปรามการตดั ไม้ทำลายป่าระดับจงั หวัด 3 ติดตามการดำเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ผลการใช้จา่ ยเงินงบประมาณ (บาท/รอ้ ยละ) ในพน้ื ที่จังหวัด งบประมาณ เบิกจา่ ย คงเหลือ ร้อยละ 4 สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกัน 168,600 168,000 - 100 และปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่า เช่น ปลูกต้นไม้ เพื่อเพ่มิ พื้นท่สี เี ขยี ว สำนักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ

92 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ สรปุ ภาพกจิ กรรมโครงการป้องกันและปราบปรามการตดั ไม้ ทำลายป่าระดับจังหวดั จังหวดั บงึ กาฬ (คปป.) สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มจังหวดั บึงกาฬ

93 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ 3.4 โครงการอนรุ กั ษ์พนั ธกุ รรมพชื อนั เน่ืองมาจากพระราชดำรฯิ (อพ.สธ) หลกั การและเหตผุ ล ลกั ษณะโครการ จังหวัดบึงกาฬ เป็นจังหวัดที่ 77 ของประเทศไทย มีพื้นท่ี 1 เก็บรวบรวม และจัดทำฐานข้อมูล ต้นไม้ทรงปลูก 4,305.75 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,690,625 ไร่ ในพื้นทจ่ี ังหวดั บงึ กาฬ มีภูมิประเทศทอดยาวตามลำน้ำโขง ลักษณะภูมิประเทศ 2 ทำสื่อประชาสัมพันธ์ต้นไม้ทรงปลูกเพื่อเผยแพร่ ทั่วไปเป็นที่ราบสูงโดยบริเวณที่เปน็ ความลาดชัน ส่วนใหญ่ ให้บุคคลทั่วไปทราบ จะเป็นเขา เป็นป่าธรรมชาติ และด้วยความอุดมสมบูรณ์ ของป่าไม้ จึงมีการจัดตั้งโครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ป่า วตั ถปุ ระสงค์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนขึ้น เมื่อ ปี พ.ศ.2538 1 เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรของประเทศได้แก่ ทรัพยากร ดร.ชวลิต นิยมธรรม และคณะ ได้พบต้นเสี้ยวประหลาด ชีวภาพ ทรัพยากรกายภาพ ทรัพยากรวัฒนธรรม ที่บริเวณชายป่าดิบแล้งบนเทือกเขาในจังหวัดบึงกาฬ และภมู ปิ ญั ญา (จังหวัดหนองคายในขณะนั้น) หลังจากทำการตรวจสอบ 2 เพื่อเสริมสร้างสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายระดับต่าง ๆ ในเบื้องต้นพบว่าเสี้ยวดังกล่าว ไม่มีลักษณะที่คล้าย ในการดำเนินงานเกี่ยวกับการอนุรักษ์และพัฒนา หรือใกล้เคียงกับเสี้ยวอื่นๆ ที่เคยมีรายงานมาก่อน กระท่ัง ทรพั ยากร ตอ่ มาเม่อื ศ.ไค ลารเ์ ซน (Kai Larsen) ผูเ้ ช่ยี วชาญพรรณไม้ ชาวเดนมาร์ก และภรรยา (อาจารย์ สุพีร์ ศักดิ์สุวรรณ ผลการดำเนนิ งาน ลาร์เซน) เดินทางมาตรวจสอบพันธุ์ไม้ ณ กรมป่าไม้ 1 เก็บรวบรวม และจัดทำฐานข้อมูล ต้นไม้ทรงปลูก ดร.ชวลิต จงึ สง่ มอบเสี้ยวที่เก็บมาให้ท่านท้ังสอง ตรวจสอบ ในพน้ื ที่จงั หวัดบึงกาฬ อย่างละเอียด ผลปรากฏว่าเสี้ยวดังกล่าวเป็นพืชชนิดใหม่ 2 ทำสื่อประชาสัมพันธ์ต้นไม้ทรงปลูกเพื่อเผยแพร่ ของโลก ลักษณะเด่นคือมีกลีบเลี้ยงห่อคล้ายกาบ ซึ่งมี ให้บคุ คลท่วั ไปทราบ ลักษณะที่ไม่เคยพบมาก่อนในกลุ่มสกุลย่อย Phanera การห่อตัวของกลีบเลี้ยงนี้เองที่บังคับให้กลีบดอก งบประมาณท่ไี ด้รบั จำนวน 39,970 บาท ไม่สามารถกางออกได้เต็มที่เมื่อดอกบาน ซึ่งเป็นลักษณะ ที่แตกต่างจากเสี้ยวอื่นๆ อย่างมาก ท่านทั้งสองจึงร่วมกับ กรมปา่ ไมข้ อพระราชทานพระราชานุญาต ใช้พระามาภิไธย ผลการใช้จ่ายเงนิ งบประมาณ (บาท/ร้อยละ) ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี งบประมาณ เบิกจ่าย คงเหลือ ร้อยละ เพื่อเทิดพระนามพระองค์ท่านที่ทรงสนพระทัย และให้การ 39,970 39,970 - 100 สนับสนุนงานทางพฤกษศาสตร์ตลอดมา โดยใช้ ชื่อ Bauhinia sirindhorniae K.& S.S. Larsen หรือ สิรินธรวัลลี อันหมายถึง วัลยชาติแห่งองค์สมเด็จพระเทพฯ นั่นเอง และเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดบึงกาฬ นอกจากนี้ยัง มีพันธไุ์ ม้หายากหลากหลายชนดิ เช่น ดอกคนู างอ่ัว เอ้ืองผ้ึง ชายผ้าสีดา กระแตไต่ไม้ สิงโตกรอกตา กล้วยไม้ ที่กล่าวมา ท้งั หมด ลว้ นแล้วแตห่ ายาก ควรคา่ แก่การอนรุ กั ษ์ท้งั สน้ิ สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวดั บึงกาฬ

94 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มจังหวัดบงึ กาฬ

95 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ โครงการอนรุ กั ษพ์ ันธกุ รรมพชื อันเนื่องมาจากพระราชดำรฯิ (อพ.สธ) สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมจงั หวัดบงึ กาฬ

96 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ ONE PAGE สรุปกิจกรรมการประชมุ ต่างๆ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมจังหวัดบึงกาฬ

97 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวัดบงึ กาฬ สว่ นทรัพยากรนำ้ (1) การอนุญาต ควบคมุ กำกับดูแลการประกอบกจิ การน้ำบาดาลตามกฎหมายว่าดว้ ยน้ำบาดาล (2) การตรวจสอบการประกอบกจิ การน้ำบาดาล เปรียบเทียบคดคี วามผดิ กฎหมายว่าด้วยนำ้ บาดาล และกฎหมายอื่นท่เี ก่ยี วข้อง (3) รบั คำขอสัมปทาน ตอ่ อายุ โอน ขยายเขตประปาสมั ปทาน รวมท้ังคำขอปรับอตั ราค่าน้ำ หรือคำรับรองมาตรวดั น้ำ (4) ประสานการสำรวจการใชป้ ระโยชน์ทรพั ยากรธรณใี นระดบั จังหวดั (5) ประสานและดำเนนิ การแก้ไขปัญหาอุทกภัย ภยั แล้ง (6) ดำเนินการเรื่องร้องเรยี นด้านทรัพยากรนำ้ ดำเนนิ การตามกฎหมายว่าด้วยการอำนวยความสะดวก และกฎหมายอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง (7) ปฏบิ ตั ิงานรว่ มกบั หรือสนบั สนนุ การปฏิบตั ิงานของหนว่ ยงานอนื่ ท่ีเกี่ยวข้องหรือท่ีได้รบั มอบหมาย สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มจังหวดั บงึ กาฬ

98 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ โครงการพัฒนา โครงการเสริมสร้างศักยภาพ ด้านการกำกับ ดูแลการประกอบกิจการน้ำบาดาล ตามพระราชบัญญัติน้ำบาดาล พ.ศ. 2520 หลักการและเหตุผล เพื่อรองรับกับฐานข้อมูลที่พัฒนาขึ้นสำหรับใช้ทั่วประเทศ ตามที่กรมทรัพยากรน้ำบาดาล ได้รับอนุมัติจาก และรองรับการถ่ายโอนภารกิจให้แก่องค์กรปกครองส่วน คณะกรรมการบริหาร กองทุนพัฒนาน้ำบาดาล (กพน.) ท้องถ่นิ โดยเป็นการดำเนินงานร่วมกันระหว่างกรมทรัพยากร อนุมัติให้สำนักงานทรัพยากร ธ ร ร ม ช าติและสิ่งแวดล้อม น้ำบาดาล สำนักทรัพยากรน้ำบาดาลเขต สำนักงาน จังหวัด ดำเนินโครงการเสริมสร้างศักยภาพด้านการกำกับ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดูแลการประกอบกิจการน้ำบาดาล ตามพระราชบัญญัติ และสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด น้ำบาดาล พ.ศ. 2520 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดทำฐานข้อมูลบ่อน้ำบาดาล ซึ่งกระทรวงทรัพยากร ธ ร ร ม ช าติและสิ่งแวดล้อม การจัดเก็บรายได้ การตรวจสอบบ่อน้ำบาดาล ตลอดจนให้ โดยกรมทรัพยากรน้ำบาดาล ได้มอบอำนาจให้ ผู้ว่าราชการ บคุ ลากรได้มโี อกาสแลกเปลย่ี นเรียนรู้ข้อมูลในการปฏิบัติงาน จังหวัด ปฏิบัติราชการแทนอธิบดีกรมทรัพยากรน้ำบาดาล จึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างศักยภาพด้านการกำกับ เกี่ยวกับ พ.ร.บ. น้ำบาดาล พ.ศ. 2520 และแก้ไขเพิ่มเติม ดูแลการประกอบกิจการน้ำบาดาล ตามพระราชบัญญัติ แ ล ะ แ ต ่ ง ต ั ้ ง ผ ู ้ อ ำ น ว ย ก า ร ส ำ น ั ก ง า น ท ร ั พ ย า ก ร ธ ร ร มช าติ น้ำบาดาล พ.ศ. 2520 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และสิ่งแวดล้อมจังหวัด เป็นพนักงานน้ำบาดาลประจำท้องที่ เพื่อให้การดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมายและมอบอำนาจ มีอำนาจหน้าที่ในการกำกับดูแลการบริหารทรัพยากร บรรลุเป้าหมาย ซึ่งเป็นการส่งเสริมพัฒนาระบบองค์กร น้ำบาดาลและกรมทรัพยากรน้ำบาดาลยังได้ กำหนด และมาตรการทางกฎหมาย เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากร ห ล ั ก เ ก ณ ฑ ์ แ ล ะ เ ง ื ่ อ น ไ ข ใ น ก า ร ม อ บ ห ม า ย ใ ห ้ เ ป ็ น ผู้ น้ำบาดาลอย่างย่งั ยืนต่อไปในอนาคต ออกใบอนุญาตแทนอธิบดีกรมทรัพยากรน้ำบาดาล ซึ่งภาระ ความรับผิดชอบด้านการกำกับ ดูแลการประกอบ กิจการน้ำบาดาลตามพระราชบัญญัติน้ำบาดาล พ.ศ. 2520 จะต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะเกี่ยวกับการ ตรวจสอบบ่อน้ำบาดาลที่ขอรับใบอนุญาตประกอบ กิจการน้ำบาดาลรายใหม่ การตรวจสอบให้ผู้ครอบครอง บ่อน้ำบาดาลที่มี ความลึกเกิน 15 เมตร ไปดำเนินการยื่น คำขอรับใบอนุญาตใช้น้ำบาดาลให้ถูกต้อง การต่ออายุ ใบอนญุ าตการตรวจสอบบ่อนำ้ บาดาลทม่ี ีความเส่ยี งไม่เป็นไป ตามกฎหมาย การติดตามหนี้คา้ งชำระ การตรวจติดตามบ่อท่ี ขาดการติดต่อ การตรวจสอบการอุดกลบบ่อน้ำบาดาล ที่แจ้งยกเลิกใช้น้ำบาดาล ซึ่งนำไปสู่การขึ้นทะเบียน ขออนุญาตใช้น้ำบาดาลให้ถูกต้องตามกฎหมาย จึงมีความ จำเป็นที่จะต้องดำเนินการ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของ ข้อมูลบ่อนำ้ บาดาลใหเ้ ปน็ ระบบ และมาตรฐานเดียวกนั สำนกั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมจังหวัดบึงกาฬ

99 รายงานประจำปี 2564 สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวดั บงึ กาฬ วธิ กี ารดำเนนิ งาน เปา้ หมาย กิจกรรมที่ ๑ การตรวจสอบบ่อน้ำบาดาลตามใบอนุญาต กิจกรรมที่ 1 การตรวจสอบบ่อน้ำบาดาลตามใบอนุญาต (ทุกประเภท) การออกตรวจสอบบ่อน้ำบาดาลตามใบอนุญาต (ทุกประเภท) เป้าหมาย จำนวน 228 บ่อ ตรวจสอบเพื่อขอต่ออายุใบอนุญาตก่อนใบอนุญาตสิ้นอายุ (ทุกประเภท) บ่อที่ขาดการติดต่อ และมีการแจ้งยกเลิก แต่ยังไม่ดำเนินการอุดกลบ ตรวจสอบการอุดกลบบ่อน้ำ บาดาล บ่อที่ต้องสงสัยว ่ามีกา รกระทำคว ามผิด ตามพระราชบัญญัติน้ำบาดาล พ.ศ. 2520 โดยตรวจสอบ สภาพการใช้งานได้เป็นปกติหรือไม่ เครื่องวัดปริมาณน้ำ ประจำบ่อน้ำบาดาลมีการชำรุดเสียหายใช้งานได้เป็นปกติ หรือไม่ และการรายงานการใชน้ ้ำบาดาลสอดคล้องกับตัวเลข หรือไม่ เส้นท่อสูบน้ำบาดาล ขนาดและการติดตั้งถูกต้อง ตามระเบียบหรือไม่ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ : จัดทำแผนท่ี/ แผนผังที่ตั้งบ่อน้ำบาดาลในสถานที่ประกอบการ การบันทึก จุดพิกัดทางภูมิศาสตร์ของบ่อน้ำบาดาล การบันทึกภาพถ่าย สถานที่ตั้งของสถานที่ประกอบกิจการ การบันทึกภาพถ่าย เครื่องวดั ปริมาณน้ำประจำบ่อน้ำบาดาล ประกอบดว้ ยตัวเลข วัดปริมาณบนหน้าปัด และผนึกตราประทับกรมทรัพยากร น้ำบาดาลและการให้คำแนะนำแก่ผู้ประกอบกิจการ น้ำบาดาล กิจกรรมที่ 2 การตรวจสอบบ่อน้ำบาดาลรายใหม่ และการ กิจกรรมที่ ๒ การตรวจสอบบ่อน้ำบาดาลรายใหม่ และการ นำบ่อน้ำบาดาลเข้าสู่ระบบเพื่อการขอรับใบอนุญาต นำบ่อน้ำบาดาลเข้าสู่ระบบเพื่อการขอรับใบอนุญาต การประกอบกจิ การน้ำบาดาลรายใหม่ เป้าหมาย การประกอบกิจการน้ำบาดาลรายใหม่ การตรวจสอบ จำนวน 142 บ่อ สถานที่เจาะน้ำบาดาลรายใหม่เพื่อขอรับใบอนุญาต ตรวจสอบบ่อน้ำบาดาลเพื่อนำเข้าสู่ระบบ มีการตรวจสภาพ แหล่งน้ำใกล้เคียงในพื้นที่ที่ขอเจาะน้ำบาดาล จัดทำแผนท่ี ภาพถ่ายจัดทำแผนที่/แผนผังที่ตั้งบ่อน้ำบาดาลในสถานท่ี ประกอบกิจการ การบันทึกจุดพิกัดทางภูมิศาสตร์ของ บ่อน้ำบาดาลการบันทึกภาพถ่ายสถานที่ตั้งของสถานที่ ประกอบกิจการ การบันทึกภาพถ่ายเครื่องวัดปริมาณ น้ำประจำบ่อน้ำบาดาล ประกอบด้วยตัวเลขวัดปริมาณน้ำ บนหน้าปัด และผนึกตราประทบั ของกรมทรพั ยากรนำ้ บาดาล และการให้คำแนะนำต่อผู้ประกอบกิจการ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มจังหวัดบงึ กาฬ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook