Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อประชาสัมพันธ์สานตะกร้าด้วยเส้นพลาสติกเพื่อจัดจำหน่าย

สื่อประชาสัมพันธ์สานตะกร้าด้วยเส้นพลาสติกเพื่อจัดจำหน่าย

Published by nuiikhaw2546, 2022-03-10 04:10:19

Description: สื่อประชาสัมพันธ์สานตะกร้าด้วยเส้นพลาสติกเพื่อจัดจำหน่าย

Search

Read the Text Version

บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญ ในยุคปัจจุบันปฏิเสธไม่ได้ว่าหลายคนหันมาให้ความสำคัญกับเรื่องแฟชั่นต่าง ๆ ก็หมุนเวียนสับเปลี่ยนกันไปเช่น เดียวกัน หากพูดถึงเทรนแฟชั่น นอกเหนือจากเสื้อผ้า กางเกง กระโปรง รองเท้า และอีกหนึ่งสิ่งสำคัญนั้นก็คือ กระเป๋า ที่ถือ เป็นอีกหนึ่งไอเท็มแฟชั่นที่ได้รับความนิยมและได้รับการจับตามองไม่แพ้กันโดยเฉพาะในปัจจุบันนี้ กำลังเป็นที่นิยมนั้นคือ กระเป๋าสานพลาสติกแฟชั่นซึ่งกลายเป็นเทนที่กำลังได้รับความนิยมซึ่งมีหลากหลายรูปแบบ ดีไซน์ให้ได้เลือกจนมากมายทั้ง ยังเป็นกระเป๋าแฮนเมดอีกด้วย กระเป๋าสานถือได้ว่าเป็นกระเป๋าที่มีการผลิตมาจากวัสดุธรรมชาติในประเทศ ซึ่งถือเป็นสินค้า OTOP ที่ขายดีอันดับ ต้น ๆ ซึ่งวัสดุที่นำมาใช้ในการสานกระเป๋าส่วนใหญ่จะใช้เป็นไม้ไผ่ หวาย ก้านมะพร้าว ผักตบและพืชชนิดอื่น ๆ ที่จะสามารถ นำมาสานเป็นกระเป๋าได้ซึ่งในบางครั้งวัสดุจากธรรมชาติอาจจะต้องใช้เวลาและหาค่อนข้างยาก ทำให้ปีนี้กระเป๋าสานก็ยัง คงได้รับความนิยมแต่เปลี่ยนจากวัสดุธรรมชาติเป็นพลาสติกแทน ซางมีเทรนแฟชั่นหลากหลายสำหรับกระเป๋าสานพลาสติก ในรูปทรงต่าง ๆ ที่มาพร้อมดีเทลกระเป๋าและสีสันให้กลุ่มลูกค้าได้เลือกที่หลากหลาย จากที่มาและความสำคัญดังกล่าว คณะผู้จัดทำโครงงานจึงมีแนวคิดที่จะจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์กระเป๋าสานจากเส้น พลาสติก เพื่อใช้สื่อเป็นตัวกลางในการประชาสัมพันธ์ถึงวิธีการทำกระเป๋าสานจากเส้นพรากติกและเพื่อเป็นการส่งเสริม ภูมิปัญญาชาวบ้านในการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และสามารถประยุกต์ใช้ได้ในชีวิต และสามารถนำไปต่อยอดเป็นอาชีพ เสริมและสร้างรายได้ต่อไป

ถ้าทุกคนให้ความร่วมมือในการใช้ตะกร้าสานทดแทนการใช้ถุงพลาสติก ก็จะสามารถช่วยลดการใช้ถุงพลาสติก ได้มากถึง 100 ล้านถุงต่อปี ซึ่งข้อดีของการใช้ตะกร้าสานก็มีมากมาย เช่น ทำความสะอาดได้ง่าย สวยงาม แข็ง แรง ใช้งานได้ดีกว่าถุงพลาสติก ช่วยลดขยะมูลฝอย ไม่ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก อีกทั้งสามารถยังใช้เป็นสื่อ รณรงค์เสริมสร้างความเข้าใจและตระหนักถึงสิ่งแวดล้อมได้อย่างกว้างขวาง หรือเพื่อเป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย บางส่วนให้กับกลุ่มแม่บ้านที่ไม่อยากเสียเงินซื้อตะกร้าที่ได้ขนาดไม่ตรงกับความต้องการและเป็นการตอบสนอง ความต้องการให้กลุ่มแม่บ้านที่ต้องการสานตะกร้าไว้ใช้เองแต่ขาดทักษะ ความรู้ในการสานตะกร้า ด้วยเหตุนี้คณะผู้จัดทำได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น คณะผู้จัดทำจึงได้จัดทำโครงการสาน ตะกร้าจากเส้นพลาสติกนี้ขึ้นเพื่อเป็นการลดจำนวนถุงพลาสติกที่เป็นมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม และยังเป็นการส่ง เสริมให้ผู้ร่วมโครงการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ อีกทั้งยังช่วยฝึกสมาธิและความอดทนอีกด้วย ทั้งนี้คณะผู้จัด ทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผู้เข้าร่วมโครงการครั้งนี้จะสามารถนำความรู้ ทักษะที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง และนำ ไปต่อยอดเป็นอาชีพเสริมได้ต่อไป

วัตถุประสงค์ 1.เพื่อออกแบบและจัดทำสื่อผลิตภัณฑ์ กระเป๋าสานจากเส้นพรากสติก 2 . เ พื่ อ ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ก ร ะ เ ป๋ า ส า น จ า ก เ ส้ น พ ร า ก ส ติ ก 3.เพื่อศึกษาความคิดเห็นต่อการจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ กระเป๋าสานจากเส้นพรากสติก ขอบเขตของโครงงาน เชิ งปริมาณ 1. เส้นพลาสติกสามารถนำกลับมาหลอมใหม่ ใช้งานใหม่ได้เรื่อยๆ 2. สามารถนำความรู้ ทักษะที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง และนำไปต่อยอดเป็นอาชีพเสริม เชิ งคุณภาพ 1. ลดการใช้ถุงพลาสติก เนื่องจากตะกร้าที่สานจากเส้นพลาสติกสามารถใช้ซ้ำได้มากกว่าถุงพลาสติก 2. สามารถช่วยลดขยะมูลฝอยและลดภาวะโลกร้อนได้ สมมติฐาน หรือกรอบแนวคิด (ถ้ามี) การจัดทำสื่อสิ่งพิมพ์ แผ่นพับ โปรเตอร์ ตลอดจนความรู้ที่มีประโยชน์และเกี่ยวข้องกับสิ่งประดิษฐ์ กระเป๋า สานจากเส้นพลาสติก ให้กลุ่มเป้าหมายได้รับเข้าใจเพื่อสร้างความนิยม ความไว้วางใจจากประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ทั้งนี้ เนื่องจากประชาสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับการสื่อสารเพราะเป็นส่วนหนึ่งในการประชาสัมพันธ์ ผลิตภัณฑ์กระเป๋า ส า น จ า ก เ ส้ น พ ล า ส ติ ก ไ ป ยั ง ก ลุ่ ม ลู ก ค้ า เ ป้ า ห ม า ย เ พื่ อ ใ ห้ เ ข้ า ถึ ง ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์

วิธีการดำเนินการ 1.ประชุมปรึกษาหารือ เสนอความคิดเห็นและคัดเลือกเรื่องที่จะทำโครงงาน 2.นำเสนอหัวข้อโครงงานอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน 3 . ศึ ก ษ า ห า ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ โ ค ร ง ง า น 4.ลงมือปฏิบัติงานร่วมกัน และบันทึกผลการทำโครงงาน 5.จัดเก็บข้อมูลต่างๆ จากการปฏิบัติงาน 6.จัดทำรู ปเล่มโครงงานเพื่อนำเสนอ นิ ยามศั พท์ เฉพาะ 1.ตะกร้าพลาสติก หมายถึง ตะกร้าที่สานจากเส้นพลาสติกใช้ทดแทนถุงพลาสติก เพื่อปัญหา ลดภาวะโลกร้อน 2.ผู้จัดทำโครงการ หมายถึง ผู้ที่เป็นผู้รวบรวมข้อมูล วิธีการทำการสานตะกร้าเพื่ให้ความรู้แก่ ผู้ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. แสดงถึงผลประโยชน์ที่ผู้ดำเนินโครงการและผู้ที่เกี่ยวข้อง 2. ลดการใช้ถุงพลาสติก เนื่องจากตะกร้าที่สานจากเส้นพลาสติกสามารถใช้ซ้ำได้ มากกว่าถุงพลาสติก 3. สามารถใส่สิ่งของเครื่องใช้ต่างๆได้ 4. ประโยชน์และผลกระทบในลักษณะอย่างไร ทั้งด้านปริมาณ และด้านคุณภาพ

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ก า ร จั ด ทำ โ ค ร ง ง า น ส า น ต ะ ก ร้ า จ า ก เ ส้ น พ ล า ส ติ ก คณะผู้จัดทำโครงงาน ได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นำเสนอตามลำดับ ดังนี้ ภาวะโลกร้อน (อังกฤษ: global warming) หมายถึงการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศใกล้พื้นผิวโลกและน้ำในมหาสมุทร ตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 และมีการคาดการณ์ว่าอุณหภูมิเฉลี่ยจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในช่วง 100 ปีที่ผ่านมา นับถึง พ.ศ. 2548 อากาศใกล้ผิวดินทั่วโลกโดยเฉลี่ยมีค่าสูงขึ้น 0.74 ± 0.18 องศาเซลเซียส [1] ซึ่ งคณะ กรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) ของ สหประชาชาติได้สรุ ปไว้ว่า จากการสังเกตการณ์การเพิ่มอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกที่เกิดขึ้นตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณตั้งแต่ พ.ศ. 2490) ค่อนข้างแน่ชัดว่าเกิดจากการเพิ่มความเข้มของแก๊สเรือนกระจกที่เกิดขึ้นโดยกิจกรรมของมนุษย์ที่เป็น ผลในรู ปของปรากฏการณ์เรือนกระจก ปรากฏการณ์ธรรมชาติบางอย่าง เช่น ความผันแปรของการแผ่รังสีจากดวงอาทิตย์และ การระเบิดของภูเขาไฟ อาจส่งผลเพียงเล็กน้อยต่อการเพิ่มอุณหภูมิในช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรมจนถึง พ.ศ. 2490 และมีผลเพียงเล็ก น้อยต่อการลดอุณหภูมิหลังจากปี 2490 เป็นต้นมา ข้อสรุ ปพื้นฐานดังกล่าวนี้ได้รับการรับรองโดยสมาคมและสถาบันการศึกษา ทางวิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 30 แห่ง รวมทั้งราชสมาคมทางวิทยาศาสตร์ระดับชาติที่สำคัญของประเทศอุตสาหกรรมต่าง ๆ แม้นัก วิทยาศาสตร์บางคนจะมีความเห็นโต้แย้งกับข้อสรุ ปของ IPCC อยู่บ้าง แต่เสียงส่วนใหญ่ของนักวิทยาศาสตร์ที่ทำงานด้านการ เปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศของโลกโดยตรง

การที่อุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึ้นทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น และคาดว่าทำให้เกิดภาวะลมฟ้า อากาศสุดโต่ง (extreme weather) ที่รุ นแรงมากขึ้น ปริมาณและรู ปแบบการเกิด หยาดน้ำฟ้าจะเปลี่ยนแปลงไป ผลกระทบอื่น ๆ ของภาวะโลกร้อนได้แก่ การเปลี่ยนแปลง ของผลิตผลทางเกษตร การเคลื่อนถอยของธารน้ำแข็ง การสูญพันธุ์พืช-สัตว์ต่าง ๆ รวมทั้ง การกลายพันธุ์และแพร่ขยายโรคต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น แต่ยังคงมีความไม่แน่นอนทางวิทยาศาสตร์อยู่บ้าง ได้แก่ปริมาณของความร้อนที่คาดว่าจะ เพิ่มในอนาคต ผลของความร้อนที่เพิ่มขึ้นและผลกระทบอื่น ๆ ที่จะเกิดกับแต่ละภูมิภาคบน โลกว่าจะแตกต่างกันอย่างไร รัฐบาลของประเทศต่าง ๆ แทบทุกประเทศได้ลงนามและให้ สัตยาบันในพิธีสารเกียวโต ซึ่ งมุ่งประเด็นไปที่การลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจก แต่ยังคงมี การโต้เถียงกันทางการเมืองและการโต้วาทีสาธารณะไปทั่วทั้งโลกเกี่ยวกับมาตรการว่า ควรเป็นอย่างไร จึงจะลดหรือย้อนกลับความร้อนที่เพิ่มขึ้นของโลกในอนาคต หรือจะปรับ ตัวกันอย่างไรต่อผลกระทบ

คำจำกัดความ คำว่า ภาวะโลกร้อน เป็นคำจำเพาะคำหนึ่งของอุบัติการณ์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก โดยที่การ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศมีความหมายถึงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในทุกช่วงเวลาของโลก รวมทั้งเหตุการณ์ ปรากฏการณ์โลกเย็นด้วย โดยทั่วไป คำว่า ภาวะโลกร้อน จะใช้ในการอ้างถึงสภาวะที่อุณหภูมิของโลกร้อนขึ้น ในช่วงไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมา และมีความเกี่ยวข้องกระทบต่อมนุษย์ในอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change: UNFCCC) ใช้ คำว่า การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ(Climate Change) สำหรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ และใช้คำว่า การผันแปรของภูมิอากาศ (Climate Variability) สำหรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากเหตุอื่น ส่วน คำว่า ภาวะโลกร้อนจากกิจกรรมมนุษย์ (anthropogenic global warming) มีที่ใช้ในบางคราวเพื่อเน้นถึงการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดจากเหตุอันเนื่องมาจากมนุษย์ สาเหตุ สภาพภูมิอากาศของโลกมีการเปลี่ยนแปลงไปตามแรงกระทำจากภายนอก ซึ่ งรวมถึงการผันแปรของวง โคจรรอบดวงอาทิตย์ (แรงกระทำจากวงโคจร) การระเบิดของภูเขาไฟ และการสะสมของแก๊สเรือนกระจกใน บรรยากาศ รายละเอียดเกี่ยวกับสาเหตุของความร้อนที่เพิ่มขึ้นของโลกยังคงเป็นประเด็นการวิจัยที่มีความ เคลื่อนไหวอยู่เสมอ อย่างไรก็ดี มีความเห็นร่วมทางวิทยาศาสตร์ (scientific consensus) บ่งชี้ว่า ระดับการ เ พิ่ ม ข อ ง แ ก๊ ส เ รื อ น ก ร ะ จ ก ที่ เ กิ ด จ า ก กิ จ ก ร ร ม ข อ ง ม นุ ษ ย์ เ ป็ น ส่ ว น ที่ มี อิ ท ธิ พ ล สำ คั ญ ที่ สุ ด นั บ แ ต่ เ ริ่ ม ต้ น ยุ ค อุตสาหกรรมเป็นต้นมา สาเหตุข้อนี้มีความชัดเจนมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมาเนื่องจากมีข้อมูลมากพ

พอสำหรับการพิเคราะห์ นอกจากนี้ยังมีสมมุติฐานอื่นในมุมมองที่ไม่ตรงกันกับความเห็นร่วมทางวิทยาศาสตร์ข้างต้น ซึ่ง นำไปใช้เพื่ออธิบายเหตุการณ์ที่อุณหภูมิมีค่าสูงขึ้น สมมุติฐานหนึ่งในนั้นเสนอว่า ความร้อนที่เพิ่มขึ้นอาจเป็นผลจากการ ผันแปรภายในของดวงอาทิตย์ ผลกระทบจากแรงดังกล่าวมิได้เกิดขึ้นในฉับพลันทันใด เนื่องจาก แรงเฉื่อยของความร้อน (thermal inertia) ของมหาสมุทรและการตอบสนองอันเชื่องช้าต่อผลกระทบทางอ้อมทำให้สภาวะภูมิอากาศของโลก ณ ปัจจุบันยังไม่อยู่ในสภาวสมดุลจากแรงที่กระทำ การรีไซเคิล คณะผู้จักทำได้ศึกษาเอกกสารเกี่ยวกับการรีไซเคิล โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1.ความหมายของการรีไซเคิล รีไซเคิล (Recycle) เป็นการจัดการวัสดุเหลือใช้ที่กำลังจะเป็นขยะ โดยนำไปผ่านกระบวนการแปรสภาพ โดย เฉพาะการหลอม เพื่อให้เป็นวัสดุใหม่แล้วนำกลับมาใช้ได้อีก ซึ่งวัสดุที่ผ่านการแปรสภาพนั้นอาจจะเป็นผลิตภัณฑ์เดิม หรือผลิตภัณฑ์ใหม่ก็ได้ รีไซเคิลมีความหมายต่างจาก รียูส์ (Reuse) ซึ่งหมายถึง การนำกลับมาใช้ใหม่โดยไม่ผ่าน กระบวนการแปรสภาพใดๆทั้งสิ้น ในความเข้าใจของคนบางกลุ่มนั้น การรีไซเคิลยังหมายถึง การนำวัสดุเหลือใช้กลับมาปรับเปลี่ยนรูปแบบ หรือพัฒนารูป ร่างใหม่ ให้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในรูปแบบอื่นๆ เช่น ขวดน้ำพลาสติก หากนำมาใช้ใส่น้ำอีกครั้งเป็น การรียูส์ (reuse) แต่ถ้านำเอาขวดนำพลาสติกมาตัดให้เป็นกระป๋อง แล้วนำไปใช้ตัดดินบรรจุในถุง หรือนำขวดพลาสติกมาตัดครึ่ง เป็นแจกันใส่ดอกไม้ หรือเป็นที่ใส่ปากกา มักถูกเรียกว่าเป็นการรีไซเคิลขวดน้ำพลาสติก

2.ต้นกำเนิด การรีไซเคิลได้รับการปฏิบัติทั่วไปในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติโดยส่วนใหญ่ด้วยความ สนับสนุนที่ได้รับการบันทึกไว้ย้อนกลับไปในอดีตอันยาวนานในยุคของเพลโตเมื่อ 400 ปี ก่อน คริสตกาล ในช่วงระยะเวลาเมื่อทรัพยากรเริ่มหายากขึ้นนั้น จากการศึกษาทางโบราณคดีเกี่ยว กับการทิ้งขยะของเสียในยุคโบราณแสดงให้เห็นว่า หลักฐานตัวอย่างขยะจากบ้านเรือนที่มี จำนวนปริมาณเล็กน้อย (เช่นเถ้าเครื่องมือหักและเครื่องปั้ นดินเผา) ได้บ่งบอกถึงการที่มีขยะของ เสียจำนวนไม่น้อยได้ถูกนำกลับมาใช้ใหม่ในกรณีที่ไม่มีวัสดุใหม่มาแทนของเดิม 3.วัสดุที่สามารถรีไซเคิล 3.1 แก้ว ขวด กระจก 3.2 กระดาษ 3.3 พลาสติก 3.4 โลหะ เหล็ก ทองแดง อะลูมิเนียม การประดิษฐ์

คณะผู้จักทำได้ศึกษาเอกกสารเกี่ยวกับการประดิษฐ์ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1.การประดิษฐ์หมายถึง การประดิษฐ์ คือ การคิดค้นหรือคิดทำขึ้นเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ หรือกรรมวิธีใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิม เช่น การประดิษฐ์ คิดค้นเกี่ยวกับกลไก โครงสร้าง หรือส่วนประกอบ สิ่งของหรือเครื่องใช้ต่าง ๆ หรือเป็นการประดิษฐ์เกี่ยวกับกรรมวิธี กระบวนการหรือวิธีการใหม่ ๆ ในการผลิต การเก็บรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ 2.ความเป็นมาของงานประดิษฐ์ สิ่งประดิษฐ์เกิดขึ้นเพราะมนุษย์เป็นผู้สร้างผู้พัฒนา ปรับปรุง และเปลี่ยนแปลงแบบ ผลงานด้วยความคิดสร้างสรรค์ที่มี อยู่ในแต่ละบุคคล มีวัตถุประสงค์ในการสร้างสิ่งประดิษฐ์เพื่อตอบสนอง ความต้องการด้านประโยชน์ใช้สอย งานประดิษฐ์มี ความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของคนไทยตั้งแต่สมัยโบราณ เกี่ยวข้องกับขนบธรรมเนียมและประเพณีทาง ศาสนา 3.หลักการสร้างงานประดิษฐ์ การสร้างสรรค์งานประดิษฐ์ให้ประดิษฐ์ให้ประสบผลสำเร็จนั้น ผู้เรียนต้องมีความพึงพอใจ ในกาทำงาน โดยยึดหลักการ ดังนี้ 3.1 หมั่นศึกษาหาความรู้ในงานที่ตนเองสนใจ โดยศึกษาจากผู้เชี่ยวชาญการในชุมชนการโรงเรียน จากตัวอย่างสิ่ง ประดิษฐ์ที่สนใจ 3.2 ศึกษาหลักการ วิธีการ หรือขั้นตอนการปฏิบัติงาน ในการประดิษฐ์ชิ้นงานโดยการวิเคราะห์ ด้วยตนเองหรือศึกษา จากผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญ หรือจากสื่อต่าง ๆ เช่น วารสาร หนังสือ เป็นต้น 3.3 ทดลองการปฏิบัติการประดิษฐ์ ผู้เรียนต้องศึกษาค้นคว้าและทดลองปฏิบัติตามแนวคิดที่ได้สร้างสรรค์ไว้ และมีการ ปรับปรุงแก้ไข ข้อบกพร่องจนสำเร็จเป็นชิ้นงานประดิษฐ์ที่พึงพอใจ

4.ประเภทของงานประดิษฐ์ 4.1 งานประดิษฐ์ที่เป็นเอกลักษณ์ไทย 1.1 งานประดิษฐ์ด้วยดอกไม้สด 1.2 งานประดิษฐ์ด้วยใบตอง 1.3 งานแกะสลักพืชผักและผลไม้ 1.4 งานจักสาน 4.2 งานประดิษฐ์ทั่วไป 2.1 งานปั้ น 2.2 งานประดิษฐ์ดอกไม้ ต้นไม้ด้วยกระดาษหรือผ้า 2.3 งานประดิษฐ์จากเศษวัสดุหรือวัสดุเหลือใช้ 2.4 งานประดิษฐ์จากวัสดุธรรมชาติ 5.การประดิษฐ์ครั้งแรก เราเชื่อกันว่าการประดิษฐ์ครั้งแรกอยู่ช่วงสมัยที่มนุษย์ยุคโบราณยังไม่เป็นมนุษย์ยุคก่อน ๆ หรือยุคของ มนุษย์ต่างดาวสายพันธุ์ The Abominable Snowman ที่ซึ่งพัฒนามาจากลิงหลักฐานถูกค้นพบในถ้ำเก่าแก่ของ ขั้วโลกเหนือ จากเครื่องมือที่ใช้สำรวจโดยนัก สำรวจชาวอเมริกัน มหาวิทยาลัย และทีมงานเป็นผู้ค้นพบ จากการตรวจสอบทางห้องปฏิบัติการทดลองอย่างละเอียดพบว่า อุปกรณ์ เครื่องใช้ต่าง ๆ มีสภาพคงอยู่มานานนับพัน ๆ ปี หรือในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษ 5000-10000 ราว ๆ 100-5000 ก่อนพุทธศักราช ของใช้ต่างแม้จะอยู่ในสภาพที่เก่าแก่ แต่เราสามารถทราบได้ถึงวิวัฒนาการของมนุษย์ในยุคนั้นจากสิ่งประดิษฐ์ก้าวเล็ก ๆ ของมนุษย์ จนมาถึงเครื่องบินลำยักษ์ในปัจจุบัน เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่เกิดจากมนุษย์ทั้งสิ้น 6.ยุคในการประดิษฐ์เราสามารถแบ่งการประดิษฐ์ออกเป็น 3 ช่วงตามเวลา และอุปกรณ์การประดิษฐ์

6.1 ยุคต้น (ก่อนคริสต์ศักราชถึงต้นปี 500) มนุษย์เรียนรู้การใช้ไฟและในการหลอมโลหะ ตีอุปกรณ์ ทำแก้ว ยุคนี้เป็นยุคเฟื่ องฟูของศาสนาและการทำมาค้าขาย ในยุคที่มีการแบ่งชนชั้นมาก เช่นนี้ ผู้คนจำเป็นต้องมี การนำของไปถวายหรือบูชา ไม่ว่าจะเป็นพิธีกรรมทางศาสนาหรือว่าการบูชาทำนาย ทำให้มีการทำเหมืองแบบเก่าเป็น จำนวนมาก เพื่อขุดทอง เงินและทองแดง ในการทำเครื่องประดับต่าง ๆ นอกจากนี้เรื่องของเครื่องแต่งกายยังเป็นยุคที่เฟื่ องฟูอีกด้วย เชื่อกันว่าผู้คน รู้จักการย้อมผ้าและ แล้วทักยอแบบหยาบ ๆ แล้ว โดยอาศัยตัวไหมและยางจากต้นไม้ ในทางเขตยุโรปผู้คนนิยมทำเครื่องเกราะ ดาบ เครื่องเงิน มงกุฎ และอุตสาหกรรมต่อเรือยังเป็นอะไรที่เฟื่ องฟูอีกด้วย ผู้คนนิยมเดินทาง โดยเฉพาะชาวฝรั่งเศสและ อังกฤษที่ชอบล่าเมืองขึ้น และบ้านยังเป็นแบบไม้ ชั้นเดียวที่ต้องแน่นหนา การประดิษฐ์เป็นแบบพื้น ๆ 6.2 ยุครุ่งเรือง (ช่วงกลาง คริสต์ศักราช 500-1350) นักประดิษฐ์ทางยุโรปเริ่มรู้จักการใช้ไฟฟ้า อาชีพนักวิทยาศาสตร์ เจริญมาก ทำให้การประดิษฐ์ก้าวหน้าไปด้วย มีการค้นพบคุณสมบัติของ ไฟฟ้าเป็นครั้งแรก ทำให้มีการประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆ มากมาย เช่น การค้นพบคลื่นวิทยุ มอเตอร์ สนามพลังไฟฟ้า ทำให้มีการสร้างรถยนต์ หลอดไฟ วิทยุ โทรทัศน์ และสิ่งอุปกรณ์อิเลคทรอนิคส์อีกมากมาย เมื่อเทียบกับทางแถบแอฟริกาและเอเชีย ซึ่งทางเอเชียได้รับอิทธิพลจากทางแถบยุโรป ทำให้ เจริญเติบโตตามไปด้วย แต่ไม่มีเรื่องของการประดิษฐ์ แต่จะเป็นผู้บริโภค ทางแถบอเมริกา เริ่มมีคนย้ายเข้าไปอยู่ในเขตของชนชาวพื้นเมือง และคน นั้นมาจากทางแถบยุโรป ซึ่งนำสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ มากมายมาด้วย ส่วนออสเตรีย และ แอฟริกา เป็นประเทศที่การประดิษฐ์ไม่ค่อยมีคนสนใจ 6.3 ยุคปัจจุบัน (คริสต์ศักราช 1350-ปัจจุบัน)

บทที่ 3 วิธีการดำเนินการ วัสดุและอุปกรณ์ -เส้นพลาสติก -ลวด -สายยางพลาสติก -กรรไร -เทป ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง 3.2.1 ประชากรการวิจัย นักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม ปีการศึกษา 2565 จำนวนนักเรียนทั้งหมด30 คน 3.2.2 กลุ่มตัวอย่างการวิจัย นักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม ปีการศึกษา 2565 จำนวนนักเรียนทั้งหมด 30 คน 3.3 ขั้นตอนการดำเนินงาน 3.3.1 ขั้นตอนในการสร้างผลิตภัณฑ์ 3.3.2 ขั้นตอนในการสร้างสื่อให้ความรู้ 3.3.3 ขั้นในการรวบรวมข้อมูล และดำเนินโครงการ 3.4 การวิเคราะห์ข้อมูล

วิเคราะห์หาค่าประสิทธิภาพของ ตะกร้าจากเส้นพลาสติก โดยการหาค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยมีเกณฑ์ดังนี้ การแปลความหมาย ค่าระดับคะแนน การแปลความหมาย · ระดับคะแนนเฉลี่ยน้อยกว่า 1.5 (วิกฤต) · ระดับคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 1.5 แต่น้อยกว่า 2.5 (ควรปรับปรุง) · ระดับคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 2.5 แต่น้อยกว่า 3.5 (ปานกลาง) · ระดับคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 3.5 แต่น้อยกว่า 4.5 (ดี) · ระดับคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 4.5 หรือมากกว่า (ดีเยี่ยม) 3.5 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1. ผลรวมของคะแนน 2. ค่าร้อยละ 3. ค่าเฉลี่ย 4. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

3.4.2. วิธีการดำเนินงาน 1. จัดเรียงเส้นตั้ง ทั้ง 9เส้นให้ชิดกัน หันปลายเส้นเข้าหาตัว(ควรหาแผ่นไม้หรือหนังสือ มาวางทับปลายเส้นพลาสติก เพื่อ ไม่ให้เส้นดีด)แล้วนำเส้นนอน มาสานขัดกับเส้นตั้ง โดยการยก1เว้น1 สานสลับกันไปเรื่อยๆ จนหมดทั้ง 15เส้น ย้ำให้เส้นตั้ง ชิดกัน 2. สานจากฝั่ งเส้นนอน (หันปลายเส้นนอนเข้าหาตัว) นับเส้นนอนจากขวาไปซ้าย เริ่มสานจากเส้นที่ 1ไปถึงเส้นที่ 10 (เลย กึ่งกลางของกระเป๋าไปนิดหน่อย) สานขึ้นไปเรื่อยๆ จนหมดทั้ง 25เส้น 3. ทำไปเรื่อยๆจนครบ 4 ด้านส่วนปากกระเป๋า ให้พับเส้นด้านในออกมาสอดไว้ทุกเส้น ทีนี้เราก็สานไปรอบๆทั้งใบจนครบ ทุกเส้น (ระหว่างที่สานไปรอบๆ ให้หมั่นดึงเส้นสานบ่อยๆ เพื่อให้กระเป๋าแน่น) แล้วสอดเส้นสานทับกันประมาณ4-5ช่อง ทุกเส้นแล้วดึงให้แน่น 4. จากนั้นใช้เส้นเก็บขอบปาก มาสอดตามช่องที่เราพับไว้ตั้งแต่ตอนต้นบนปากกระเป๋า ให้ครบทุกช่อง เมื่อครบแล้วให้พับ เส้นที่เหลือลงมาทับเส้นเก็บขอบปากอีกครั้ง จนครบทุกเส้น เสร็จแล้วดึงเส้นที่พับให้ปากกระเป๋าดูเรียบเสมอกันท ้งั ใบ แล้วสอดปลายลงมาประมาณครึ่งใบแล้วตัดออกให้สวยงาม ห้ามเห็นปลายเส้นโผล่ออกมานอกตัวงาน 3.5 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1. ผลรวมของคะแนน 2. ค่าร้อยละ 3. ค่าเฉลี่ย 4. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน คุณสมบัติของตะกร้า คงทนเพราะดึงด้วยแรงที่สม่ำเสมอ สวยงาม ประณีต ราคายอมเยาว์และรูปแบบหลากหลาย ผลการทดลอง ตะกร้าพลาสติกแบบเส้นเล็ก

ความทดทานของตะกร้า เส้นที่ใช้ทำมาจากพลาสติกเหมือนจึงมีความทนทานเท่ากัน เส้นที่ใช้ทำมาจากพลาสติกเหมือนจึงมี ความทนทานเท่ากัน การรองรับน้ำหนัก ตะกร้าแบบเส้นเล็กมีการเส้นที่มากกว่าใช่ความละเอียดมากกว่าจึงรับน้ำหนักได้มากกว่า ตะกร้าเส้นใหญ่เป็นตะกร้าที่ใช่ความละเอียดน้อยเหมาะสำหรับคนที่ฝึกหัดทำใหม่จึงทำให้รองรับน้ำหนัก ได้น้อยกว่า ระยะเวลาให้การทำ แบบเส้นเล็กต้องใช้เส้นในปริมาณมากในการทำจึงทำให้ระยะเวลาในการทำนานกว่าปกติ แบบเส้นใหญ่ ใช่ปริมาญในการทำน้อยกว่าจึงใช้เวลาในการทำที่น้อยกว่า

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ การจัดทำโครงการสานตะกร้าจากเส้นพลาสติกครั้งนี้ ซึ่งมีขั้นตอนสรุป ได้ดังนี้ 1. ความมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า 2. สรุปผล 3. อภิปรายผล 4. ข้อเสนอแนะ 5.1 ความมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า การจัดทำโครงการครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายดังนี้ 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนการสานตะกร้า 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ได้จริง 3. เพื่อเป็นการส่งเสริมการใฃ้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และต่อยอดรายได้เสริมของผู้เข้าร่วมโครงการ 5.2 สรุปผล จากผลการจัดทำโครงการสรุปได้ดังนี้ 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชา สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง การสานตะกร้าจากเส้นพลาสติก ของนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นพื้นฐานปีที่ 3 สาขาคอมพิวเตอร์ ที่ได้รับการจัดการออกบูทให้ความรู้ตามสถานศึกษาด้วยการสอนทำขนม ที่ผู้ศึกษาค้นคว้าสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ เท่ากับ 81.25/80.08 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนดไว้ 2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาสื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง การสานตะกร้าจากเส้นพลาสติก ของนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นพื้นฐานปีที่ 3 สาขาคอมพิวเตอร์ ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยการทำการสานตะกร้าจากเส้นพลาสติก มีค่าดัชนีประสิทธิผล เท่ากับ 0.54 หรือคิดเป็น ร้อยละ 53.59 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาสื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง การสานตะกร้าจากเส้นพลาสติก เพื่อสร้างสัมพันธ์ที่ดีใน ครอบครัวและคนรอบข้าง ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ มีค่าสูงกว่าการเรียนด้วยการสอนตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01

5.3 อภิปรายผล ผลการการจัดทำโครงการ มีประเด็นที่จะนำมาอธิปรายผลได้ดังนี้ จากการทำ โครงงานการประดิษฐ์ตะกร้าจากเส้นพลาสติกสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่วางแผน ไว้คือ นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์และเพื่อให้กลุ่ม เป้าหมายเล็งเห็น ความสำคัญของวัฒนธรรมภูมิปัญญาอย่างถูก ต้องและการลดการใช้ถุงพลาสติกให้ได้มากที่สุดและสามารถนำความรู้ที่ได้จากการจัดกิจกรรม ในครั้งนี้ไปเผยแพร่ และถ่ายทอดให้ กับบุคคลอื่นต่อไปได้ ทั้งนี้เนื่องจากแบบฝึกทักษะจะมีสถานการณ์ให้นักเรียนทำตามลำดับขั้นตอน คือ • การวิเคราะห์ ปัญหา • กำหนดวิธีการแก้ปัญหา • เลือกวิธีการแก้ปัญหา • ลงมือปฏิบัติ • ปรับปรุงแก้ไข ทั้งนี้เพื่อฝึกให้นักเรียนคิดอย่างเป็นระบบ สามารถทำการแก้ปัญหา และเกิดการเรียนรู้ได้เร็วขึ้น และนำความรู้ที่มีอยู่มาใช้ให้เกิด ประโยชน์ 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก 2 มิติ เรื่อง การตกแต่งภาพด้วยการใส่ Filter และ Layer Style ของนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 1 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ที่ได้รับการจัดการเรียนด้วย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอินเตอร์แอคทีฟมัลติมีเดีย มีค่าสูงกว่าการเรียนด้วยการสอนตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 เนื่องจากการเรียนโดยแบบฝึกทักษะ และมีการระดมความคิดวิเคราะห์ของกลุ่มนักเรียนร่วมมือกัน เพื่อช่วยแก้ปัญหา เฉพาะหน้าให้ผ่านไปอย่างมั่นใจ ซึ่งการใช้งาน Filter และ Layer Style เพื่อตกแต่งภาพนั้นต้องประกอบด้วยทักษะ ประสบการณ์ใน ชีวิตประจำวัน ซึ่งแต่ละคนมีไม่เท่ากัน จึงทำให้เป็นอุปสรรคในการใช้การใช้งาน Filter และ Layer Style เพื่อตกแต่งภาพ ในขณะที่ การเรียนแบบฝึกทักษะการปฏิบัติ พร้อมไปกันการร่วมมือกับกลุ่มเพื่อนจะช่วยให้นักเรียนสามารถแลกเปลี่ยน และช่วยเต็มความรู้ ของนักเรียนแต่คนที่ขาดหาย เพิ่มความมั่นใจในการตัดสินเลือกทางแก้ปัญหาที่เหมาะสมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

5.4 ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้ 1.1แบบฝึกทักษะที่ใช้การทำกิจกรรมควรตอบสนองความต้องการผู้เรียนตามความแตกต่างได้เป็นอย่างดีฉะนั้นผู้ ออกแบบกิจกรรมจึงควรคำนึงถึงรูปของแบบฝึกทักษะ และการเพิ่มเงื่อนไข แรงจูงให้มากขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความ กระตือรือร้นเพิ่มขึ้น 1.2 การพัฒนาแบบฝึกทักษะ และกิจกรรมเรียนรู้ในบทเรียน นั้นต้องได้รับความร่วมมือจากผู้เชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ อาทิ เช่น ด้านเนื้อหา ด้านรูปแบบการทำ เป็นต้น จึงจะทำให้กิจกรรม และแบบฝึกทักษะที่สร้างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ 1.3 การออกแบบแบบฝึกทักษะ และกิจกรรมการเรียนรู้ในบทเรียน ควรมีการเร่งเร้าให้ผู้เรียนเกิดความสนใจที่จะเรียน เพิ่มมากขึ้น การออกแบบให้ผู้เรียนอยากที่จะศึกษาต่อไป และคาดว่าผู้เรียนแล้วผู้เรียนสามารถจากแบบฝึกทักษะ และ กิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต้องคำนึงถึงการจัดการเรียนการสอน ที่จะต้องเป็นระบบที่เป็นมาตรฐาน สามารถตรวจสอบการเข้าเรียนของผู้เรียนได้อย่างคลอบคลุม 2. ข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้าครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการออกแบบลักษณะตามการใช้งานจริงของผู้ใช้ ตกแต่งเอกสาร เพื่อให้นักเรียนสามารถบันทึกเก็บไว้ดูย้อน หลังได้ 2.2 ควรศึกษาเชิงสำรวจหาข้อมูลจากหลาย ๆ ฝ่าย เช่น ผู้สอนท่านอื่น ผู้เรียน หรือผู้ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ เพื่อจะได้สร้าง และพัฒนาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ตรงกับความต้องการของผู้เรียน