แนวเพลงต่าง ๆ โดย นางสาวอจั ฉรา ชาวพิจิตร รายงานนีเ้ ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษา วชิ าเทคโนโลยแี ละสารสนเทศเพื่อการจดั การวชิ าชีพ รหัสวิชา 30001-2001 สาขาวชิ าถ่ายภาพและมลั ตมิ ีเดีย ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษานครสวรรค์ สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
ก คานา แนวเพลงตา่ งๆฉบบั นีเ้ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของวชิ า เทคโนโลยีสารสนเทศ ระดบั ชั้น ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ ชั้นสูง โดยมจี ุดประสงค์ เพ่อื การศึกษาความรเู้ กีย่ วกบั การสืบค้นและจดั เกบ็ ข้อมูลสารสนเทศ ตลอดจนการประยกุ ต์ใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอ่ื การจดั การงานอาชพี ผู้จัดทาได้เลอื กหวั ขอ้ แนวเพลงต่างๆน้ีเน่ืองมาจากเป็นเรอื่ งทน่ี า่ สนใจ รวมถึงเป็นการ ขอขอบคณุ ครอู าจารยผ์ ู้ใหค้ วามรู้ และแนวทางการศกึ ษาเรียนรทู้ ี่ให้ ความชว่ ยเหลอื มาโดยตลอด ผจู้ ัดทาหวงั วา่ รายงานฉบบั นจ้ี ะใหค้ วามรู้ และเปน็ ประโยชน์แก่ผ้สู นใจทกุ ทา่ น อัจฉรา ชาวพิจติ ร
ข สารบญั เรื่อง หนา้ คำนำ ก สำรบญั ข ดนตรี pop 1 ดนตรี rock 2 ดนตรี R&B 3 ดนตรี Hip Hop 6 ดนตรี Classic 9 ดรตรี Electronic 12 ดนตรี Jazz 14 บรรณำนุกรม 16 ภำคผนวก 17 18 ประวตั ผิ ู้จดั ทำ
1 ป๊อป (Pop) ดนตรีปอ็ ป หรอื เพลงปอ็ ป (องั กฤษ: Pop music หรอื Pop song) เป็นแนวเพลงซงึ่ มี ลกั ษณะของโมโลดท้ี ฟ่ี งั งำ่ ย ฟังสบำย และมที ่วงทำนองทีพ่ รวิ้ ไหว สำมำรถสรำ้ งควำม สนุกสนำนให้กบั ผู้ฟงั ได้ ดนตรปี ็อบมกั ถูกนำมำผสมผสำนกับกล่ินอำยของดนตรแี นวอ่ืน ๆ เช่น รอ็ ก, แจ๊ส, ฮิปฮอป, เร้กเก,้ ดนตรอี เิ ล็กทรอนกิ สแ์ ดนซ,์ อำรแ์ อนด์บ,ี ฟงั ก์ หรอื แม้แต่ โฟล์ก ถกู แต่งขนึ้ เพ่อื หวงั วำ่ กลุม่ คนฟังกลมุ่ ใหญโ่ ดยไดแ้ รงผลกั ดันจำกคำ่ ยเพลงใหญ่ เริ่มจำก ในดนตรปี ระเภท Ragtime จำกนน้ั Ragtime เร่ิมมำทำงสวิง จำกน้ันกเ็ ป็นดนตรีแจส๊ ที่ สำมำรถเตน้ รำได้ ดนตรปี อ็ ปสำมำรถรวมได้ถงึ บลูสท์ มี่ ีต้นกำเนดิ จำกคนผิวดำในอเมรกิ ำ และดนตรคี ันทรีที่เรมิ่ ปรบั จนกลำยเป็นแนว Rockabilly (เพลงรอ็ กแอนด์โรลล์ยุคแรก) ภาพท่ี 1 ดนตรีปอ๊ ป https://www.sanook.com/music/2398745/ 28/09/64
2 ร็อก(Rock) ร็อก (อังกฤษ: Rock) แนวเพลงท่ไี ดร้ บั ควำมนยิ ม มตี ้นกำเนดิ จำกดนตรรี ็อกแอนด์โรลใน สหรฐั อเมรกิ ำในช่วงครสิ ต์ทศวรรษ 1950 และเรม่ิ พัฒนำสูแ่ นวเพลงหลำยแขนงในชว่ งครสิ ต์ ทศวรรษ 1960 และช่วงหลงั จำกน้ัน โดยเฉพำะในสหรำชอำณำจักรและสหรฐั อเมรกิ ำ ดนตรี ร็อกมีตน้ กำเนดิ จำกรอ็ กแอนดโ์ รลของยคุ 1940 และ 1950 มีอทิ ธพิ ลมำจำกแนวเพลงบลสู ์ ริ ทึมแอนดบ์ ลสู ์ และคนั ทรี ดนตรรี อ็ กยังนำมำสู่แนวเพลงอ่ืน ๆ ไดแ้ กอ่ ิเล็กทริกบลสู ์ และโฟล์ก และมอี ทิ ธพิ ลร่วมมำจำกดนตรีแจ๊ส ดนตรีคลำสสิก และแหล่งดนตรอี นื่ ๆ ด้ำนดนตรี ดนตรีร็อกมีศูนย์กลำงทก่ี ีตำรไ์ ฟฟ้ำ มักจะเป็นสว่ นหนงึ่ ของวงดนตรีรอ็ กทมี่ กี ีตำร์ เบสไฟฟ้ำและกลอง ปกติแล้ว เพลงทีเ่ ป็นดนตรีรอ็ กจะมอี ตั รำจงั หวะ 4/4 ใชร้ ปู แบบทอ่ นเวริ ส์ - คอรสั แต่เพลงประเภทน้มี ีควำมหลำกหลำยมำกขึน้ เนื้อเพลงมักเน้นยำ้ เรื่องของควำมรกั ใคร่ เช่นเดียวกบั เพลงปอ็ ป แต่กก็ ล่ำวถงึ เนือ้ หำอื่นทม่ี ักเนน้ เร่ืองสงั คมหรือกำรเมือง นกั ดนตรเี พศ ชำยผวิ ขำวถอื เป็นปจั จยั สำคญั ทท่ี ำใหเ้ กิดเนื้อหำตำ่ ง ๆ มำกมำยในเพลงรอ็ ก ดนตรีเพลงรอ็ กมันวงไปดว้ ยเสียงกีตำรแ์ บบแบ็กบตี จำกส่วนจงั หวะของกีตำรเ์ บสไฟฟำ้ กลองและคีย์บอร์ด อยำ่ งออรแ์ กน เปยี โน หรือตง้ั แต่ชว่ งครสิ ตท์ ศวรรษ 1970 ก็มีกำรใชเ้ คร่ือง สงั เครำะหเ์ สยี ง รว่ มไปกบั กตี ำรแ์ ละคียบ์ อรด์ ยงั มกี ำรใชแ้ ซกโซโฟน และฮำร์โมนกิ ำใน แบบบลูส์ก็มีใชบ้ ำ้ งในท่อนโซโล่ ในรปู แบบรอ็ กบรสิ ุทธิ์แล้ว ใช้ 3 คอรด์ จงั หวะแบก็ บีตที่ แข็งแรงและหนักแน่น รวมถงึ มีเมโลดีติดห[ู 3] ในชว่ งปลำยครสิ ตท์ ศวรรษ 1960 และต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 เพลงรอ็ กพัฒนำจน แตกแยกย่อยเปน็ หลำยแนวเพลง และเม่อื รวมกบั เพลงโฟล์กแล้วจงึ เป็น โฟล์กรอ็ ก รวมกบั บลสู ์ เป็น บลูส์-ร็อก รวมกับแจ๊ซเป็น แจซ๊ -รอ็ ก ในช่วงครสิ ตท์ ศวรรษ 1970 รอ็ กยงั เกย่ี วขอ้ งกบั เพลงโซล ฟังกแ์ ละละตนิ เช่นเดยี วกันในยคุ นรี้ อ็ กยงั ไดเ้ กิดแนวเพลงย่อยอีกหลำยแนวเชน่ ซอฟตร์ ็อก เฮฟวเี มทลั ฮำร์ดร็อก โพรเกรสซีฟร็อกและพงั กร์ อ็ ก ส่วนแนวเพลงย่อยร็อกที่ เกดิ ข้ึนในครสิ ตท์ ศวรรษ 1980 เชน่ นวิ เวฟ ฮำรด์ คอรพ์ ังก์และอัลเทอรเ์ นทีฟรอ็ ก ในยุคคริสต์ ทศวรรษ 1990 แนวเพลงย่อยทเ่ี กิดเชน่ กรันจ์ บรติ ป็อป อนิ ดรี้ ็อกและนูเมทลั
3 มีวงร็อกสว่ นใหญ่ประกอบด้วย สมำชกิ ทเี่ ล่นกตี ำรไ์ ฟฟ้ำ นกั ร้องนำ กตี ำร์เบสและกลอง ก่อตง้ั เปน็ วง 4 ช้ิน มีบำงวงทม่ี ีสมำชกิ น้อยกวำ่ หรือมำกกวำ่ ตำแหน่งเลน่ ดนตรีบำงคนกท็ ำ หน้ำทรี่ อ้ งกม็ ี ในบำงครัง้ อำจเปน็ วง 3 คนหรอื วงดูโอซง่ึ อำจมนี กั ดนตรเี สรมิ เข้ำมำอย่ำงกีตำร์ รธิ มึ หรอื คยี ์บอร์ด บำงวงอำจมกี ำรใชเ้ ครอ่ื งดนตรีสำยอยำ่ งไวโอลิน เชลโล หรอื เคร่อื งเปำ่ อย่ำง แซกโซโฟน ทรัมเปต หรอื ทรอมโบน แตม่ ีวงไมม่ ำกนักที่ใช้ ภาพที่ 2 ร็อก(Rock) https://jms-charpente.com 28/09/64
4 R&B ริทึมแอนดบ์ ลูส์ (องั กฤษ: Rhythm and Blues หรือรจู้ กั กันในชื่อ R&B, R'n'B, RnB) เป็น แนวเพลงทีไ่ ด้รับควำมนิยม โดยผสมผสำนระหว่ำงเพลงแนว แจส๊ กอสเปล และบลสู ์ โดย เร่ิมแรกจะเลน่ โดยศิลปนิ แอฟริกนั -อเมรกิ ัน ริทึมแอนด์บลูส์ มที ี่มำก่อน รอ็ ก แอนด์ โรลล์ ได้รับอทิ ธิพลมำจำกเพลงแนวแจส๊ ,จัมพบ์ ลูส์ และ แบล็กกอสเปล มีนกั ดนตรแี จ๊สหลำยคนท่ีบนั ทกึ เสียงทงั้ เพลงแจส๊ และ รทิ ึมแอนดบ์ ลสู ์ เช่นวง สวงิ แบนด์ของ Jay McShann, Tiny Bradshaw และ Johnny Otis เป็นต้น และโดยส่วนมำก นักดนตรีในสตูดิโอที่ทำเพลงอำร์แอนด์บี จะเปน็ นักดนตรแี จส๊ ในชว่ งยคุ 1950 ถอื เปน็ ยุคคลำสสกิ อำร์แอนด์บี มกี ำรผสมแนวเพลงเขำ้ ด้วยกนั ไม่ว่ำจะ เปน็ แจส๊ และ ร็อก แอนด์ โรลล์ เพลงแนวอำร์แอนดบ์ ถี กู พฒั นำไปทต่ี ำ่ งๆ เชน่ ในรฐั นวิ ออร์ ลนี ส์ มีกำรใช้เปยี โนในเพลง ตัวอยำ่ งเช่นศลิ ปินทเ่ี ปน็ ทีร่ ู้จกั อย่ำง แฟท โดมโิ น (Fats Domino) ในเพลงติดชำร์ท \"Blueberry Hill\" และเพลง \"Ain't That a Shame\" อีกที่ที่มีกำรพฒั นำของ เพลงแนวอำรแ์ อนดบ์ ีคือ ลุยเซียนำ มีศลิ ปินเช่น Clarence \"Frogman\" Henry, Frankie Ford, Irma Thomas, The Neville Brothers และ Dr. John เป็นตน้ เพลง ร็อก แอนด์ โรลล์ ในรปู แบบของอำร์แอนดบ์ ี ท่ีเป็นที่รูจ้ กั เพลงแรกๆ เชน่ \"Rocket 88\" และ \"Shake, Rattle and Roll\" ท่ีข้ึนชำร์ทท้ัง ป็อปชำรท์ และอำร์แอนดบ์ ีชำร์ท ชว่ งตน้ ยุค 1960 เพลงแนวอำร์แอนดบ์ มี ีแนวโน้มมีรปู แบบออกไปทำงกอสเปลรวมถึง โซล มศี ิลปนิ เชน่ Ray Charles, Sam Cooke, และ James Brown และเร่ิมมีศิลปินผิวขำวทำ เพลงในแนวนี้ แตจ่ ะเรยี กวำ่ บลู-อำยด์ โซล เชน่ The Yardbirds, The Rolling Stones, The Pretty Things, The Small Faces, The Animals, The Spencer Davis Group และ The Who ในชว่ งกลำงยุค 1970 คนผิวสที ำเพลงในแนวดิสโก้ ถือเป็นปรำกฏกำรณ์ในสังคม เพลง แนวดสิ โก้ไดร้ ับควำมนิยมอย่ำงมำก พอชว่ งยุค 80 เพลงดสิ โก้ก็หำยไป กลำยเปน็ เพลงช้ำๆ ฟัง สบำยๆ ทเ่ี รยี กวำ่ quiet storm จนกระทง่ั ในปัจจบุ นั อำรแ์ อนดบ์ ไี ดเ้ พิม่ แนวฮิปฮอป และ แร็ ปอีก ซึ่งได้รับควำมนิยมมำกในปจั จบุ นั
5 ภาพท่ี 4 R&B https://www.naewna.com/uploads/news/source/522923.jpg 28/09/64 ภาพที่ 5 R&B https://undubzapp.com/n 28/04/64
6 Hip Hop ฮิปฮอป (อังกฤษ: Hip Hop) หรอื อำจเขยี นเปน็ ฮปิ -ฮอป (องั กฤษ: Hip-hop) มคี วำมหมำยถึง ในด้ำนดนตรแี นวฮปิ ฮอป ท่ีเปน็ ทีน่ ิยมสำหรบั วัยรุน่ อเมริกำและทว่ั โลก จนถูกยกระดบั ใหเ้ ป็น วัฒนธรรมอยำ่ งหน่ึง ซงึ่ มีรำกฐำนกำรพัฒนำมำจำกชำวแอฟรกิ นั -อเมรกิ นั และ ชำวละตนิ โดย ในช่วงยคุ 70' หลงั จำกท่ดี นตรดี ิสโกท้ พี่ ฒั นำมำจำก แนวเพลงฟงั ค์ ในแบบของโมทำวน์ ได้รบั ควำมนยิ มอย่ำงแพรห่ ลำย ทำให้มีกำรเปดิ แผ่นเพลงในคลบั ต่ำง ๆ และดว้ ยกำรพัฒนำทำงดำ้ น เทคโนโลยี เกดิ กำรสรำ้ ง loop, beat ใหม่ ๆ ขึน้ มำ ดนตรฮี ิปฮอป จึงถอื กำเนิดข้นึ คำวำ่ ฮิปฮอป มักถกู ยกเครดิตใหก้ ับ Keith Cowboy แร็ปเปอร์วง Grandmaster Flash & The Furious Five ถงึ แมว้ ่ำในยุคนั้นศลิ ปนิ อย่ำง LoveBug Starski, Keith Cowboy, และ DJ Hollywood จะถูกเรียกในนำมของ \"Disco Rap\" แต่เครดติ ก็มักยกใหก้ ับ Keith Cowboy ในช่วงยคุ 70' เมือ่ วัยรุ่นในย่ำนละแวกใกลเ้ คยี งต้องกำรจะจัดงำนปำรต์ ้ี รน่ื เรงิ (block party) ดนตรีฮิปฮอปจึงไดร้ บั กำรแพรข่ ยำยเปน็ ที่รู้จัก ซึ่งฮปิ ฮอปก็ไม่ได้ถูกจำกัดแคว่ ่ำเป็นแนวดนตรี ชนิดหนึ่งอีกตอ่ ไป แต่ยังได้รับกำรยกระดับให้เปน็ วัฒนธรรมอยำ่ งหน่ึงด้วย โดย วัฒนธรรมฮิป ฮอปจะเกดิ ขน้ึ ได้โดยตอ้ งมปี จั จยั 4 อย่ำง คือ กรำฟฟติ ี (graffiti) เปน็ กำรเพนท์ พ่น กำแพง ควำมหมำยเพือ่ กำรเช้อื เชิญ แขก หรือสำว ๆ ใน ละแวกนั้นวำ่ งำนปำร์ต้ีเริม่ ที่ไหนเมอื่ ไหร่ ดเี จ (DJ) ซึ่งมำจำกคำวำ่ disc jockey ทำหน้ำทีเ่ ปน็ ผู้เปดิ แผน่ เพลง ซง่ึ เป็นส่ิงที่ขำดไมไ่ ด้ในงำน ปำร์ตี้ บี-บอย (B-Boy) - เป็นกลุ่มคนท่ีมำเตน้ ในชว่ งระหวำ่ งทด่ี ีเจกำลังเซ็ทแผน่ เพลง เพอื่ เป็นกำรคั่น เวลำ ซง่ึ ลกั ษณะกำรเต้น เรำจะเรียกวำ่ เบรกแดนซ์ (break dance) เอม็ ซี (MC) เปน็ แรป็ เปอรซ์ ่งึ หลงั จำกท่ี ดีเจ เซ็ทแผน่ เรียบรอ้ ยแลว้ MC จะทำหน้ำทีด่ ำเนนิ งำน และงำนปำรต์ ้ีกไ็ ด้เริม่ ขึ้น DJ Grandmaster Flash ดีเจฮิปฮอปท่มี ีชอ่ื เสยี ง
7 บี-บอย ในงำนเอ็มทวี ี สตรที เฟสติวัล กรำฟฟิตี หนึ่งในองค์ประกอบของฮิปฮอป ตอนต้นยุค 70s เร่ิมจำกดเี จในสมยั น้นั ที่เปน็ ส่วนในกำรเล่นดนตรแี นวเบรก-บีท (break-beat) ซง่ึ เป็นท่ีนยิ มในกำรเต้นรำในสมัยน้ัน DJ Kool Herc และ Grandmaster Flash ไดแ้ ยกกำรดี เจออกมำโดยเนน้ เพือ่ ใหเ้ ป็นกำรเตน้ รำไดต้ ลอดทง้ั คนื เบรก-บที น้ันก็พฒั นำมำจำกเพลงฟงั ก์ที่มี พวกเคร่ืองเลน่ เพอรค์ ัชชนั เล่นอยดู่ ว้ ย และน่กี เ็ ปน็ กำรพัฒนำของดีเจ รวมถึงคัตติง (cutting) ด้วย กำรแร็ปนัน้ พวก MC ตอนแรกจะพูดเพือ่ โปรโมทให้ดเี จในงำนปำร์ต้ตี ่ำง ๆ แตเ่ รมิ่ มีกำรพฒั นำ โดยกำรใส่เน้อื ร้องลงไป โดยเนอื้ หำอำจจะเกี่ยวกบั ชีวติ เร่อื งรอบตวั ยำเสพตดิ เซ็กส์ โดย Melle Mel มกั ถกู ยกเครดิตว่ำเปน็ MC คนแรก ปลำยยคุ 70s ดเี จหลำยคนได้ออกแผน่ โดยมกี ำรแรป็ ลงจงั หวะเพลง เพลงที่ดัง ๆ มีอย่ำง \"Supperrappin\" ของ Grandmaster Flash & The Furious Five, \"The Breaks\" ของ Kurtis Blow และ \"Rapper's Delight\" ของ The Sugar Hill Gang เป็นตน้ จนกระท่ังในปี 1983 ฮิปฮอิ ปถกู ยำ้ ใหช้ ดั เจนข้นึ เม่ือ Afrika Bambaataa and the Soulsonic Force ได้ออกแผ่นที่ชอื่ วำ่ \"Planet Rock\" แทนท่ีจะเปน็ กำรแร็ปในจังหวะดิสโก้ Bambaataa ได้ใชเ้ สียงอีเลคโทรนิกแบบใหม่ขึ้นมำแทน โดยเทคโนโลยีซินธิไซเซอรส์ มยั นน้ั จนกระทงั่ ฮปิ ฮอปเข้ำสกู่ ระแสหลกั เป็นท่นี ิยมอย่ำงมำกในยคุ 90s ซ่งึ ในปัจจบุ ันมีศลิ ปินแนวฮปิ ฮอปอยู่ จำนวนมำก แรป็ (Rap) คือกำรพูดในลักษณะคำกลอนลงจังหวะเพลง โดยสว่ นใหญ่จะใชจ้ งั หวะเร็ว เปน็ สว่ นหน่ึงขององค์ประกอบของวฒั นธรรมฮปิ ฮอปแรป็ เปน็ กำรรอ้ งแบบทเ่ี ป็นจังหวะ กำรรอ้ ง คล้ำยเสยี งพดู และเนื้อหำของเพลงที่มคี วำมหมำยและมคี วำมคลอ้ งจองกัน รวมทัง้ เนน้ ทีก่ ำร กำกับจังหวะ โดยใช้จงั หวะกลองอิเล็กทรอนกิ ส์ และเทคนิคกำร Sampling งำนเพลงอื่น ๆ กำรแรป็ ไดพ้ ฒั นำทัง้ ภำยในและนอก ของดนตรแี นวฮปิ ฮอป Kool Herc ชำวจำไมก้ำใน นิวยอร์กได้เริ่มกำรพูดลงบนเพลงประเภทแดน๊ ซฮ์ อล ในทศวรรษท่ี 70 จนในทศวรรษท่ี 80
8 ควำมสำเรจ็ ของวงรนั -ดีเอม็ ซี ได้เปดิ กวำ้ งให้วงกำรเพลงแร็ป พอถึงปลำยยุคทศวรรษที่ 90 ฮิป ฮอปไดก้ ้ำวเขำ้ สู่กระแสหลกั ในยุค 2000 ฮิปฮอปใต้ดินเริ่มจะมกี ำรใชจ้ งั หวะทีส่ ลับซับซอ้ นมำก ขน้ึ ท้วงทำนองในกำรพดู เนื้อคำกลอนทซ่ี บั ซอ้ น และกำรเลน่ คำอยำ่ งสรำ้ งสรรค์ เน้ือเพลงแรป็ มกั ถำ่ ยทอดชวี ติ บนถนนที่เป็นทม่ี ำของฮิบฮอป ผนวกกับอ้ำงองิ ถึงวัฒนธรรมกระแสนิยม และ คำสแลงฮปิ ฮอปต่ำง ๆ ภาพที่ 6 Hip Hop https://www.wscreations.co.th/product/the-guitar- mag-535/ 28/09/64
9 คลาสสคิ (Classic) ดนตรีคลำสสิก (อังกฤษ: Classical music) เปน็ รูปแบบหนง่ึ ของดนตรี ซ่งึ มกั จะ หมำยถงึ ดนตรีทเี่ ปน็ ศิลปะของตะวันตก กำรแสดงดนตรีคลำสสกิ จะใช้เคร่อื งดนตรี 4 กลมุ่ กลมุ่ แรก คือ เคร่ืองสำย (String) แบง่ ออกเป็น ไวโอลิน วโิ อลำ เชลโล และดบั เบิลเบส กลุม่ ท่ีสอง คอื เคร่ือง ลมไม้ (Woodwind) เชน่ ฟลูต คลำริเนต็ โอโบ บำสซนู ปิคโคโล กลมุ่ ท่สี ำม คือ เครอ่ื งลมทองเหลือง (Brass) เชน่ ทรมั เป็ต ทรอมโบน ทูบำ เฟรนชฮ์ อรน์ กลุ่มทสี่ ี่ คือ เครอื่ งกระทบ (Percussion) เชน่ กลองทิมปำนี ฉำบ กลองใหญ่ (Bass Drum) ก๋ิง (Triangle) เมื่อเลน่ รวมกันเป็นวงเรียกว่ำวงดุรยิ ำงค์หรือ ออรเ์ คสตรำ (Orchestra) ซงึ่ มีผ้อู ำนวยเพลง (conductor) เป็นผู้ควบคมุ วง ดนตรคี ลำสสกิ แบ่งออกเป็นยคุ ดังนี้ 1. ยุคกลำง (Medieval or Middle Age) พ.ศ. 1019 - พ.ศ. 1943 ดนตรี คลำสสกิ ยโุ รปยคุ กลำง หรอื ดนตรยี ุคกลำง ถือว่ำเป็นจดุ กำเนดิ ของดนตรีคลำสสิก เร่ิมตน้ เม่อื ประมำณปี พ.ศ. 1019 (ค.ศ. 476) ซึง่ เป็นปลี ่มสลำยของจกั รวรรดิโรมัน ดนตรีในยคุ นม้ี จี ดุ ประสงคห์ ลกั เพื่อประกอบพิธีกรรมทำงศำสนำ คำดกนั วำ่ มีตน้ กำเนิดมำจำกดนตรใี นยุคกรกี โบรำณ รปู แบบเพลงในยคุ นเี้ น้นทกี่ ำรร้อง โดยเฉพำะ เพลงสวด (Chant) ในตอนปลำยของยุคกลำงเริ่มมกี ำรรอ้ งเพลงแบบสอดทำนอง ประสำนด้วย 2. ยคุ เรเนสซองส์ (Renaissance) พ.ศ. 1943 - พ.ศ. 2143 เรม่ิ เม่อื ประมำณปี พ.ศ. 1943 (ค.ศ. 1400) เม่ือเริ่มมีกำรเปล่ยี นแปลงศลิ ปะและฟื้นฟศู ิลปะโบรำณยุค โรมันและกรีก แตด่ นตรยี งั คงเน้นหนักไปทำงศำสนำ เพยี งแต่เริ่มมีกำรใชเ้ ครือ่ งดนตรี ท่ีหลำกหลำยขน้ึ ลกั ษณะของดนตรีในสมยั น้ียังคงมีรปู แบบคลำ้ ยยุคกลำงในสมยั ศลิ ป์ ใหม่ เพลงร้องยังคงนิยมกัน แต่เพลงบรรเลงเริ่มมบี ทบำทมำกข้ึน
10 3. ยคุ บำโรค (Baroque) พ.ศ. 2143 - พ.ศ. 2293 ยคุ น้ีเรม่ิ ข้ึนเมือ่ มีกำรกำเนิด อุปรำกรในประเทศฝร่งั เศสเมื่อปี พ.ศ. 2143 (ค.ศ. 1600) และสิ้นสุดลงเม่ือ โยฮนั น์ เซบำสเทียน บำค เสยี ชีวิตลงในปี พ.ศ. 2293 (ค.ศ. 1750) แตบ่ ำงคร้งั กน็ ับกนั วำ่ สิน้ สดุ ลงในปี พ.ศ. 2273 (ค.ศ. 1730) เรมิ่ มกี ำรเลน่ ดนตรเี พอื่ กำรฟงั มำกขน้ึ ในหมู่ชน ช้ันสูง นิยมกำรเล่นเคร่ืองดนตรปี ระเภทออรแ์ กนมำกข้นึ แต่กย็ งั คงเน้นหนกั ไปทำง ศำสนำ นักดนตรที ี่มีช่อื เสียงในยุคนี้ เช่น บำค ววี ัลดี เป็นตน้ 4. ยคุ คลำสสกิ (Classical) พ.ศ. 2293 - พ.ศ. 2363 เป็นยุคท่มี กี ำรเปลี่ยนแปลง มำกทีส่ ดุ มกี ฎเกณฑ์ แบบแผน รูปแบบและหลกั ในกำรเลน่ ดนตรอี ย่ำงชดั เจน ศนู ยก์ ลำงของดนตรียุคน้ีคอื ประเทศออสเตรยี โดยเฉพำะที่กรุงเวยี นนำ และเมอื งมำน ไฮม์ (Mannheim) เครอ่ื งดนตรีมวี ิวัฒนำกำรมำจนสมบรู ณท์ ีส่ ดุ เร่มิ มีกำรผสมวงที่ แนน่ อน คอื วงเชมเบอร์มิวสกิ และวงออร์เคสตรำ ซง่ึ ในยุคนีม้ ีกำรใชเ้ ครือ่ งดนตรีครบ ทกุ ประเภท และยงั ถือเปน็ แบบแผนของวงออร์เคสตรำในปัจจบุ ัน นกั ดนตรที ม่ี ี ชื่อเสียงในยุคน้ี เช่น โมซำร์ท เป็นต้น 5. ยคุ โรแมนติก (Romantic) พ.ศ. 2363 - พ.ศ. 2443 เป็นยุคที่มเี ริม่ มีกำรแทรก ของอำรมณ์ในเพลง มีกำรเปล่ยี นอำรมณ์ กำรใชค้ วำมดงั ควำมค่อยที่ชดั เจน ทำนอง จังหวะ ลลี ำที่เนน้ ไปยงั อำรมณค์ วำมรสู้ กึ ซง่ึ ตำ่ งจำกยคุ ก่อน ๆ ท่ียงั ไมม่ กี ำรใส่อำรมณ์ ในทำนอง นักดนตรีทีม่ ชี ื่อเสยี งในยุคน้ี เช่น เบทโฮเฟิน ชเู บิรต์ โชแปง วำกเนอร์ บรำหม์ ส์ ไชคอฟสกี้ เป็นต้น 6. ยุคอิมเพรสชนั นิสม์ (Impressionism) พ.ศ. 2433 - พ.ศ. 2453 พัฒนำรปู แบบ โดยนักดนตรีฝร่ังเศส มีเดอบูว์ซีเปน็ ผนู้ ำ ลกั ษณะดนตรขี องยคุ นีเ้ ต็มไปด้วย จนิ ตนำกำร อำรมณ์ที่เพอ้ ฝนั ประทบั ใจ ตำ่ งไปจำกดนตรีสมยั โรแมนติกทก่ี อ่ ใหเ้ กิด ควำมสะเทือนอำรมณ์
11 7. ยคุ ศตวรรษที่ 20 ถึงปจั จบุ นั (20th Century Music) พ.ศ. 2443 - ปัจจบุ นั นกั ดนตรเี ริ่มแสวงหำดนตรที ่ไี ม่ขึ้นกบั แนวทำงในยุคก่อน จงั หวะในแตล่ ะหอ้ งเร่มิ แปลก ไปกว่ำเดิม ไม่มโี นต้ สำคญั เกิดข้ึน (Atonal) ระยะห่ำงระหวำ่ งเสียงเร่มิ ลดน้อยลง ไร้ ทว่ งทำนอง แตน่ กั ดนตรบี ำงกลุม่ ก็หนั ไปยึดดนตรีแนวเดมิ เรยี กว่ำนโี อคลำสสกิ (Neo-Classic) นักดนตรที ่ีมีช่อื เสียงในยุคนี้ เช่นอกิ อร์ สตรำวินสกี้ เปน็ ต้น ภาพท่ี 7 คลาสสคิ (Classic) https://sites.google.com/site/lifemusicpiano/dntri-khlassikh 28/09/64 ภาพท่ี 8 คลาสสิค (Classic) https://6209niphatswordpess.wordpress.com/%E0%B8%AA%E0%B8 %A1%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8 %B2%E0%B8%AA%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%81-the- classical-period/ 28/09/64
12 Electronic ดนตรอี ิเลก็ ทรอนกิ ส์ (องั กฤษ: Electronic music) เป็นดนตรที ่ีใชเ้ คร่ืองดนตรีอิเลก็ ทรอนิกส์ และเทคโนโลยดี นตรอี เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ในกำรผลติ ขึน้ มำ[1] โดยทว่ั ไปแลว้ ควำมโดดเด่นของดนตรี สำมำรถเกิดข้ึนโดยใช้เคร่ืองดนตรีไฟฟ้ำอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และเทคโนโลยเี ครอ่ื งไฟฟ้ำ[2] ตัวอย่ำงเช่นเสียงทีเ่ กดิ จำก Telharmonium, Hammond organ และกีตำรไ์ ฟฟ้ำ สว่ นดนตริ อเี ล็กทรอนิกส์แท้ ๆ สำมำรถใช้เครือ่ ง Theremin, เครอื่ งสังเครำะห์เสยี ง และคอมพวิ เตอร[์ 3] ดนตรอี ิเลก็ ทรอนิกสเ์ ป็นส่วนประกอบในดนตรอี ำรต์ ตะวนั ตก ตัง้ แต่ปลำยทศวรรษ 1960 และไดร้ ับควำมนยิ มในเวลำตอ่ มำ ในปจั จบุ ันดนตรีอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ใช้หลำกหลำยแนว เพลง ต้ังแต่ดนตรอี ำร์ตทดลอง หรือดนตรปี อ็ ป อย่ำงเชน่ ดนตรอี ิเลก็ ทรอนิกส์แดนซ์ ดนตรอี เิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ดนซ์ (องั กฤษ: Electronic dance music) ในท่ีนหี้ มำยถงึ ดนตรเี ตน้ รำ ประเภทอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ไดร้ ับกำรสืบทอดมำจำกดนตรีประเภทดิสโกใ้ นยคุ 70 ดนตรีประเภทนม้ี ีตน้ กำเนิดมำจำกไนตค์ ลับในยคุ 80 มีกำรใช้เคร่อื งดนตรอี เิ ลก็ ทรอนิกส์อยำ่ ง เครื่องสังเครำะห์เสยี ง ดรัมแมชชนี และ sequencer เพลงแดนซ์ส่วนใหญ่ถูกแต่งข้ึนมำโดยคอมพิวเตอร์ และเครอื่ งสังเครำะห์เสียง ไม่คอ่ ยนยิ มใช้ เครื่องดนตรจี ริง โดยจะอย่ใู นรปู แบบดิจทิ ัล หรือเสียงอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ บตี 4/4 ช่วงระหว่ำง 120 บีตตอ่ นำที ไปจนถงึ 200 บีตตอ่ นำที เพลงประเภทเทคโน แทรนซ์ และเฮำส์ ได้รับควำมนิยมมำก
13 ภาพท่ี 9 https://www.music24s.com/edm- / 28/09/64
14 Jazz แจ๊ส (อังกฤษ: Jazz) เปน็ ลกั ษณะดนตรีชนิดหน่ึงทพี่ ัฒนำมำจำกกล่มุ คนดำใน สหรัฐอเมรกิ ำ (African Americans) ในช่วงปลำยครสิ ต์ศตวรรษท่ี 20 โดยมีลกั ษณะพเิ ศษคือ โน้ตบลูส์ กำรลัดจังหวะ จังหวะสวงิ กำรโต้และตอบทำงดนตรี และกำรเลน่ สด โดยแจ๊สถอื เป็น ลักษณะดนตรคี ลำสสกิ ชนิดหนึง่ ของสหรฐั อเมรกิ ำ ควำมหมำยของคำว่ำแจ๊ส เคยมผี พู้ ยำยำมนยิ ำมควำมหมำยไว้หลำยแบบ ซ่งึ ยำกตอ่ กำร นยิ ำม ตำมควำมหมำยของคำวำ่ แจ๊สในในพจนำนกุ รมไทยวฒั นำพำนิช โดย วิทลู ย์ สมบรู ณ์ หมำยถงึ ดนตรีเต้นรำเลน่ ลัดจงั หวะ, เลน่ ดนตรีชนิดน,้ี เต้นรำ เข้ำกบั ดนตรีชนิดนี้ สำหรบั พจนำนุกรมฉบับอ๊อกฟอรด์ ให้คำจำกดั ควำมไว้วำ่ \"เปน็ ดนตรที ี่ถอื กำเนิดจำกชำวอเมรกิ ันเช้อื สำยแอฟรกิ นั ซง่ึ มจี ังหวะชดั เจนท่เี ลน่ อยำ่ งอิสระโดยกำรประสำนกันข้ึนเองของนักดนตรีใน ขณะที่กำลงั บรรเลง\" ดุก๊ เอลลงิ ตันเคยพูดไวว้ ำ่ \"แจ๊สก็คอื ดนตรที ง้ั หมดรวมกัน\" ซึง่ กม็ นี ักวิจำรณ์พดู วำ่ เอลลงิ ตันน้ัน จรงิ ๆ แลว้ เขำไมไ่ ดท้ ำดนตรแี จ๊ส เพอ่ื นของเอลลิงตนั อีกคนช่อื เอิรล์ ไฮนส์ กลำ่ วไว้วำ่ มนั คอื \"ดนตรีเปลย่ี นรปู \" ส่วนเบน แรตลิฟฟ์ นักวิจำรณ์จำกนิวยอรก์ ไทมส์ เคยกล่ำวไวว้ ่ำ \"ตัวอยำ่ งที่ดี ทีจ่ ะอธบิ ำยข้ันตอนของแจ๊สมันไม่มีเลย\" ดนตรีแจ๊สมีต้นกำเนิดรำวทศวรรษ 1920 โดยวงดนดรีวงแรกที่นำสำเนียงแจ๊สมำสผู่ ู้ฟัง หมมู่ ำกคอื ดิ ออริจินลั ดิกซแี ลนด์ แจส๊ แบนด์ (The Original Dixieland Jazz Band: ODJB) ด้วยจงั หวะเตน้ รำทแ่ี ปลกใหม่ ทำให้โอดเี จบเี ป็นทกี่ ล่ำวขวัญกนั อย่ำงมำก พรอ้ มกบั ใหก้ ำเนิดคำ วำ่ \"แจ๊ส\" ตำมช่ือวงดนตรี โอดเี จบสี ำมำรถขำยแผ่นได้ถึงลำ้ นแผ่น รำกลกึ ของแจ๊สนั้นมีมำจำกเพลงบลสู ์ (Blues) คนผิวดำทเ่ี ลน่ เพลงบลูสเ์ หลำ่ น้ีเรยี นรดู้ นตรีจำก กำรฟังเปน็ พ้ืนฐำน จงึ เลน่ ดนตรแี บบถูกบ้ำงผิดบ้ำง เพรำะจำมำไม่ครบถ้วน มกี ำรขยำยควำม ด้วยควำมพงึ พอใจของตวั เองเป็นหลัก ซ่งึ กลำยเป็นที่มำของคีตปฏิภำณ (Improvisation) คือ กำรแตง่ ทำนองเพลงขนึ้ มำใหม่ สด ๆ โดยไมไ่ ด้เตรียมตวั มำล่วงหนำ้ หรือกำรโซโลแ่ บบด้นสด ในภำยหลงั ดนตรแี ร็กไทม์ (Ragtime) ก็เชือ่ ว่ำมตี ้นกำเนดิ คล้ำย ๆ กันคอื เกดิ จำกดนตรียโุ รป ผสมกบั จังหวะขัดของแอฟริกัน บลูส์และแรก็ ไทมน์ เ่ี องทเ่ี ป็นรำกของดนตรแี จ๊สในเวลำต่อมำ
15 เพลงบลูส์เริ่มได้รบั ควำมนิยมในช่วงเวลำเดียวกนั กบั แร็กไทม์ ปลำย ๆ ทศวรรษ 1910 เพล งบลูสแ์ ละแรก็ ไทมถ์ กู ผสมผสำนจนกลมกลืนโดย บัดดี โบลเดน (Charles Joseph 'Buddy' Bolden) เปน็ ผู้รเิ รม่ิ หำกแตเ่ วลำน้ันยังไม่มกี ำรประดิษฐค์ ำวำ่ แจส๊ ขึ้นมำ และเรียกดนตรเี หลำ่ นี้ รวม ๆ กนั ว่ำ \"ฮอ็ ต มิวสิก\" (Hot Music) จนกระทง่ั โอดีเจบโี ดง่ ดัง คำวำ่ แจส๊ จงึ เปน็ คำท่ใี ช้ เรยี กขำนกันทัว่ แจ๊สในยุคแรกน้ีเรยี กกนั ว่ำเปน็ แจส๊ ดัง้ เดิม หรือ นิวออรล์ ีนสแ์ จส๊ ภาพที่ 10 Jazz https://www.americanjazzmuseum.com/ 28/09/64
บรรณานกุ รม
บรรณานุกรม sanook.com/music/2398745/ jms-charpente.com naewna.com/uploads/news/source/522923.jpg 28/09/64 undubzapp.com/n wscreations.co.th/product/the-guitar-mag-535 sites.google.com/site/lifemusicpiano/dntri-khlassikh 6209niphatswordpess.wordpress.com/%E0%B8%AA%E0%B8%A1% music24s.com/edm- americanjazzmuseum.com/
ภาคผนวก
9 ประวตั ผิ ู้จัดทา ชอ่ื -นามสกุล นางสาว อจั ฉรา ชาวพจิ ติ ร วนั เดอื น ปีเกดิ วันท่ี 11 กรกฎาคม พ.ศ 2545 ประวัตกิ ารศึกษา สาเรจ็ การศึกษาระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ(ปวช.) สาขาแอนนเิ มชั่น จากวทิ ยาลัยอาชีวศึกษา อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ปจั จบุ นั กาลังศึกษา ระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) สาขาการถา่ ยภาพและมลั ตมิ เี ดีย วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษานครสวรรค์ อาเภอเมือง จงั หวดั นครสวรรค์
Search
Read the Text Version
- 1 - 23
Pages: