Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore unit-9

unit-9

Published by 6032040028, 2019-01-14 06:35:46

Description: unit-9

Search

Read the Text Version

การจดั จาหนา่ ย ชอ่ งทางการจัดจาหน่าย หน้าทช่ี ่องทางการการจัดจาหน่าย ระดับของช่องทางการการจัดจาหนา่ ย ประเภทของช่องทางการจดั จาหน่าย ปจั จัยท่ีมีอิทธิพลต่อการออกแบบช่องการ จัดจาหนา่ ย การกาหนดจานวนของคนกลางใน ชอ่ งทางการจดั จาหน่าย การคา้ ปลีกและประเภทของการคา้ ปลกี การค้าปลกี และประเภทของการค้าสง่ การกระจายตัวสินคา้ การขนส่ง

การจัดจาหน่าย (Distribution) หมายถึง กระบวนการในการเคลื่อนยา้ ยผลิตภัณฑจ์ ากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคคนสุดท้ายหรือผู้ใช้อุตสาหกรรม โดยท่ัวไปแล้วผู้ผลิตส่วนใหญ่ไม่ได้จาหน่ายสินค้าให้ผู้บริโภคโดยตรง แต่จะมีกลุ่มคนกลางทางการตลาด (Marketing Intermediaries) เข้ามาทาหน้าที่ต่างๆในการเคลื่อนยา้ ยผลิตภัณฑจ์ ากผู้ผลิตไปยงั ผู้บริโภคคนสุดท้ายหรือผู้ใช้ทาให้ผู้ซ้ือได้รับผลิตภัณฑ์ตามเวลาและสถานท่ีที่ต้องการ คนกลางทางการตลาดท่ีเข้ามาช่วยทาหน้าที่ต่างๆแทนผูผ้ ลิตหรือผปู้ ระกอบการ เรยี กวา่ ช่องทางการจัดจาหน่ายหรือชอ่ งทางการคา้ ชอ่ งทางการจัดจาหนา่ ย (Distribution Channel) หรือช่องทางการค้า (Trade Channel) คือ กลุ่มบุคคลหรือองค์กรทีส่ มั พนั ธร์ ะหว่างกัน ในกระบวนการนาผลิตภัณฑจ์ ากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคหรือผู้ใช้กลุ่มบุคคลหรือองค์กรที่ทาหน้าท่ีต่างๆ ในช่องทางการจัดจาหน่ายรวมเรียกว่า คนกลางทางการตลาด ซึ่งมี 3 ประเภท คือ

1. พ่อค้าคนกลาง (Merchant Middlemen) เป็นคนกลางท่ีทาหน้าที่ซื้อสินค้าจากผู้ผลิตมาไว้ในครอบครองแล้วขายต่อไป มีกรรมสิทธ์ิในตัวสินค้า ได้รับผลตอบแทนในรูปของกาไร ได้แก่ พ่อคา้ สง่ พอ่ คา้ ปลีก 2. ตวั แทนคนกลาง (Agent Middlemen) เป็นคนกลางที่ทาหน้าท่ีเสาะแสวงหาลูกค้า เจรจาต่อรอง การค้าแทนผู้ผลิต ไม่มีสินค้าในครอบครอง ไม่มีกรรมสิทธิ์ในตัวสินค้าได้รับผลตอบแทนในรูปของค่านายหน้า ได้แก่ ตัวแทนผู้ผลิตตัวแทนการขาย นายหนา้ 3. คนกลางทาหน้าท่ีอานวยความสะดวกในการจัดจาหน่าย (Facilitators) เป็นคนกลางทาหน้าที่อานวยความสะดวกในกระบวนการจัดจาหน่ายสินค้าจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคคนสุดท้าย เช่น หน้าที่การขนส่ง การเก็บรักษาสินค้าช่วยจัดหาด้านการเงิน การรับภาระความเสี่ยงภัย หรือทาหน้าท่ีส่งเสริมผลิตภัณฑไ์ ปยังกลุ่มเป้าหมายท่ีถูกต้อง คนกลางทาหน้าที่อานวยความสะดวกในการจัดจาหน่าย ได้แก่ บริษัทขนส่งสินค้า คลังสินค้า สถาบันการเงินต่างๆ บริษัทประกันภัยบริษทั วิจัย บรษิ ัทตัวแทนโฆษณา

จากการที่ผู้ผลิตจานวนมากไม่สามารถทาหน้าท่ีขายสินค้าให้กับผู้บริโภคหรือผู้ใช้โดยตรงได้อย่างทั่วถึงหรือหากจะขายเองโดยตรงก็ต้องใช้ทรัพยากรด้านการเงินมาก ซ่ึงเป็นการยากในการระดมเงินทุนจานวนมาก นอกจากน้ัน บางคร้ังคนกลางสามารถทาหน้าที่ในการกระจายสินค้าได้ดีกว่าผู้ผลิตดังน้ัน การมอบหมายให้ใครทาหน้าที่ใด นักการตลาดต้องพิจารณาถึงประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าท่ีของแต่ละฝ่ายหากทาเองได้ดีกว่าในบางหน้าที่ก็ทาเอง ส่วนหน้าท่ีอื่นๆ ท่ีไม่สามารถทาเองได้ก็ให้คนกลางทางการตลาดปฏิบัติการแทนหนา้ ท่ีของคนกลางทางการตลาดหรอื หน้าท่ีของช่องทางการจัดจาหนา่ ย มีดังน้ี 1. เป็นแหล่งข้อมูลทางการตลาด (Information)คนกลางทาหน้าที่ในการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้า คู่แข่งขันหรือส่งิ แวดลอ้ มทางการตลาดอื่นๆ ให้ผู้ผลิต เพราะคนกลางจะอยู่ใกล้ชิดกับลูกค้าท่ีสุดสามารถทราบความเปลี่ยนแปลงหรือความเคล่ือนไหวของตลาด สภาวะการแข่งขัน สิ่งแวดล้อมทางการตลาดได้ดีกว่าผู้ผลิต ทาให้ผู้ผลิตสามารถนาข้อมูลทางการตลาดที่สาคัญไปใช้ในการวางแผนการตลาดให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาวการณ์ทางการตลาดตา่ งๆ

2 ทาหน้าทส่ี ่งเสริมการตลาด (Promotion) คนกลางจะทาหน้าท่ีในการกระตุ้นจูงใจให้ลูกค้าสนใจและซื้อสินค้าของผผู้ ลิตในท่ีสุด 3 การเจรจาต่อรอง (Negotiation) คนกลางจะทาหน้าที่ในการเจรจาต่อรองราคาเง่ือนไขการซื้อขายต่างๆ กับผู้ซ้ือแทนผู้ผลิต เพื่อให้เกิดการซ้ือขายเปล่ียนแปลงกรรมสิทธ์ิการเปน็ เจา้ ของสินค้าในท่ีสดุ 4 จั ด ท า แ ล ะ ส่ ง ค า สั่ ง ซื้ อ สิ น ค้ า ไ ป ยั ง ผู้ ผ ลิ ต(Ordering) เม่ือได้รับคาสั่งซือ้ จากลูกค้าแล้วคนกลางมีหน้าท่ีรวบรวมคาสั่งซื้อสินค้าของลูกค้าทั้งหมดจัดเป็นคาส่ังซ้ือของคนกลางส่งไปยังผู้ผลิต เพ่ือผู้ผลิตจะได้จัดส่งสินค้าตามความต้องการมายังคนกลาง เพ่ือจาหน่ายต่อไปยงั ผู้ซ้ือหรือผู้ใช้ ตามเวลาสถานทท่ี ตี่ อ้ งการต่อไป 5 ทาหน้าท่ีด้านกานเงิน (Finance) คนกลางที่หน้าท่ีต้องจัดหาและจัดสรรเงินทุนสาหรับการสารองสินค้าคงคลัง ไว้ให้เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้าในระหว่างท่ีสินค้าอยู่ในชอ่ งทางการจดั จาหนา่ ย 6 การรับภาระความเสี่ยงภัย (Risk Taking) คนกลางต้องทาหน้าท่ีรับภาระความเส่ียงภัยต่างๆ ในช่องทางการจัดจาหน่าย เช่น ความเส่ียงต่อความเสียหายหรือสูญเสียของสินค้าในระหว่างการเคลื่อนย้าย การเก็บรักษา การเส่ือมคุณภาพหรือการลา้ สมยั ของสนิ ค้า

7. จัดให้มีคลังสินค้าและการเคลื่อนย้ายสินค้า(Storage and Movement of Physical Products)คนกลางต้องมีสถานที่เพ่ือเก็บรักษาสินค้าในจานวนท่ีเพียงพอต่อความต้องการของลูกค้า และสารองสินค้าคงคลังจานวนหน่ึงในขณะท่ีสินค้าอยู่ในช่องทางการจัดจาหน่ายและต้องทาหน้าที่เคลื่อนย้ายสินค้านับตั้งแต่การเคล่ือนย้ายวัตถุดิบจนกระท่ังเป็นสินค้าสาเร็จรูป นาสินค้าไปเก็บไว้ในคลังสินค้ารอการจาหน่าย แล้วเคล่ือนย้ายสินค้าไปยังผู้บริโภคคนสุดท้ายเมอื่ สนิ สดุ กระบวนการซื้อขายสินค้า 8. การชาระเงิน (Payment) เมื่อรวบรวมค่าสินค้าจากลูกค้าท้ังหมดแล้ว คนกลางต้องนาเงินท่ีได้รับไปชาระให้ผู้ผลิตโดยผา่ นสถาบนั การเงินหรอื ธนาคารต่างๆ 9. การโอนเปล่ียนกรรมสิทธ์ิ (Title) คนกลางทาหน้าท่ีในการดแู ลโอนเปลย่ี นแปลงกรรมสทิ ธิ์ในสินคา้ ของผู้ผลิตจากบคุ คลหรอื องค์กรหน่ึงไปยังบุคคลหรอื องค์กรอีกกลมุ่ หนึ่ง

ร ะ ดั บ ข อ ง ช่ อ ง ท า ง ก า ร จั ด จ า ห น่ า ย(Distribution Channel Level) หมายถงึ จานวนของคนกลางท่ีอยู่ในช่องทางการจัดจาหน่ายระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภคคนสุดท้ายหรือผู้ใช้ ในการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ไปยังผู้ซื้อข้ันสุดท้ายอาจไม่จาเป็นต้องผ่านคนกลางก็ได้ เรียกว่า ช่องทางการจัดจาหน่ายทางตรง ดังนั้น ในช่องทางนี้จึงไม่มีคนกลางอยู่ในกระบวนการเคล่ือนย้ายผลิตภัณฑ์ระดับของช่องทางการจัดจาหน่ายเป็นศูนย์ระดับ หากมีคนกลางเข้ามาเกยี่ วข้องในกระบวนการเคลอื่ นยา้ ยผลิตภัณฑจ์ ากผู้ผลิตไปยงั ผู้ซอื้ ขั้นสุดท้าย เรียกว่า ช่องทางการจัดจาหน่ายทางอ้อม ระดับของช่องทางการจดั จาหน่ายจะเริม่ ตน้ จากหนง่ึ ระดบั สองระดับสามระดบั 1. ช่องทางการจัดจาหน่ายทางตรง (DirectChannel) หรือช่องทางการจัดจาหน่ายศูนย์ระดับ (Zero-Level Channel) คือ วิธีการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์จากผู้ผลิตไปยังผู้ซ้อื ขั้นสุดท้ายโดยตรง ไม่มีคนกลางอยใู่ นช่องทางการจัดจาหน่าย ผู้ผลิตจะทาหน้าท่ีทางการตลาดท้ังหมดเองโดยใช้วิธีการ ขายตรง (Direct Selling) คือ ส่งพนักงานขายติดต่อกับลูกค้าโดยตรงหรือใช้วิธีการตลาดทางตรง (DirectMarketing) คือ การขายผ่านส่ือไปรษณีย์ วิทยุโทรทัศน์วิทยุกระจายเสียง ส่ือสิ่งพิมพ์ ส่ือโทรศัพท์ โทรสารอินเทอรเ์ นต็ ฯลฯ

2. ช่องทางการจัดจาหน่ายทางอ้อม (IndirectChannel) หรือช่องทางการจัดจาหน่ายผ่านคนกลางระดับต่างๆ เป็นการจาหน่ายผลิตภัณฑ์จากผู้ผลิตไปยังผู้ซ้ือข้ันสุดท้ายโดยผ่านคนกลางระดับต่างๆ คนกลางในระดับช่องทางการจัดจาหน่ายนี้ จะทาหนา้ ทท่ี างการตลาดต่างๆ แทนผผู้ ลติ ช่องทางการจัดจาหน่ายหนึ่งระดับ (One-LevelChannel) คือ ช่องทางการจัดจาหน่ายท่ีผู้ผลิตใช้วิธีการจัดจาหนา่ ยผลิตภณั ฑ์ผ่านพ่อคา้ ปลีกไปยังผบู้ รโิ ภคชอ่ งทางการจัดจาหน่ายสองระดับ (Two-Level Channel) เป็นช่องทางการจัดจาหน่ายจากผู้ผลิตผ่านพ่อค้าส่งไปยังพ่อค้าปลีกไปยังผู้บริโภค และช่องทางการจัดจาหน่ายสามระดับ (Three-Level Channel) เป็นช่องทางการจัดจาหน่ายที่ผู้ผลิตใช้วิธีการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ไปยังผู้บริโภค 3 ระดับ คือตัวแทน พ่อค้าส่ง พ่อค้าปลีก หรือช่องทางการจัดจาหน่ายอาจมีมากกวา่ 3 ระดบั กไ็ ด้

ช่องทางการจดั จาหนา่ ยแบง่ ตามประเภทของผลิตภัณฑ์คือ ผลิตภัณฑ์เพ่ือการบริโภค Consumer Product เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผู้ซ้ือซ้ือไปเพ่ืออุปโภคบริโภคส่วนตัว ไม่ได้นาไปเพื่อการผลิตหรือขายต่อ ตลาดเป้าหมาย คือ ผู้บริโภคคนสุดท้าย Ultimate Consumer และผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมIndustrial User เป็นผู้ซื้อที่ซ้ือผลิตภัณฑ์ไปเพื่อการผลิตเพื่อการขายต่อ ดังนั้น การแบ่งช่องทางการจัดจาหน่าย จึงแบ่งตามประเภทผลิตภัณฑ์ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ช่องทางการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์เพื่อการบริโภค และช่องทางการจัดจาหน่ายผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม 1. ช่องทางการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์เพ่ือการบริโภคConsumer Marketing Channel เป็นกระบวนการในการเคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์จากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคคนสุดท้าย เป็นช่องทางการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์เพื่อการบริโภคท่ีสั้นที่สุดหรือเป็นช่องทางการจัดจาหน่ายศูนย์ระดับ คือ การที่ผู้ผลิตจาหน่ายผลติ ภณั ฑโ์ ดยตรงให้กับผู้บริโภคคนสดุ ท้าย ไม่มีการใช้คนกลาง ช่องทางการจัดจาหน่ายจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค เป็นช่องทางการจัดจาหน่ายโดยตรงจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค ไม่มีคนกลางในช่องทางการจัดจาหน่ายนี้ เหมาะสาหรับขายสินค้าทมี่ คี ณุ ค่า หายาก มีราคา

ช่องทางการจดั จาหนา่ ยจากผูผ้ ลติ ผ่านพ่อค้าปลีก ไปยงัผู้บริโภค เป็นช่องทางการจัดจาหน่ายโดยผ่านคนกลางหน่ึงระดับ คือ พ่อค้าปลีก ทาหน้าที่จัดจาหน่ายสินค้าให้กับผู้บรโิ ภคคนสดุ ท้าย เหมาะสาหรบั สินคา้ ทมี่ ีสภาพเนา่ เสียได้ง่ายสินค้าสมัยนิยมหรือแฟชั่นหรือล้าสมัยในเวลาอันรวดเร็ว หรือเปน็ สินคา้ ที่มีความต้องการตามฤดูกาลสูง ช่องทางการจัดจาหน่ายจากผู้ผลิตผ่านพ่อค้าส่งผ่านพ่อค้าปลีกไปยังผู้บริโภค เป็นช่องทางการจัดจาหน่ายผ่านคนกลางสองระดับ คือพ่อค้าส่งและพ่อค้าปลีกถือเป็นช่องทางการจดั จาหน่ายแบบด้ังเดมิ ท่ีมกี ารใชม้ ายาวนาน เน่ืองจากผู้บริโภคอยกู่ ระจัดกระจายทัว่ ไปตามพื้นทตี่ า่ งๆ ช่องทางการจัดจาหน่ายจากผู้ผลิตผ่านตัวแทนไปยังผู้บริโภค เป็นช่องทางการจัดจาหน่ายท่ีผ่านคนกลางหนึ่งระดับคือ ตัวแทน ตัวแทนเป็นคนกลางท่ีผู้ผลิตแต่งต้ังให้เป็นตัวแทนจาหนา่ ยสนิ คา้ ของผู้ผลติ บางส่วนหรือท้งั หมด เปน็ คนกลางท่ีไม่มีกรรมสิทธ์ิในสินค้าท่ีตนเองจาหน่าย เหตุท่ีผู้ผลิตแต่งต้ังตวั แทนจาหน่ายสินค้าแทน อาจเน่ืองจากไม่มีความรู้หรือความชานาญในตลาดนั้นๆ

ช่องทางการจัดจาหน่ายจากผู้ผลิตผ่านตัวแทนผ่านพ่อค้าปลีกไปยังผู้บริโภค เป็นช่องทางการจัดจาหน่ายผ่านคนกลางสองระดับ คือระดับตัวแทนและพ่อค้าปลีก โดยผู้ผลิตทาหน้าที่ผลิตสินค้าแล้วให้ตัวแทนท่ีได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ทาหน้าท่ีทางการตลาดต่างๆ แทนผู้ผลิต เช่น การหาตลาด การขาย การส่งเสริมการตลาด สาหรับพ่อค้าปลีกในช่องทางการจาหนา่ ยนี้ ช่องทางการจัดจาหน่ายจากผู้ผลิตผ่านตัวแทนพ่อค้าส่งผ่านพ่อค้าปลีกไปยังผู้บริโภคเป็นช่องทางการจัดจาหน่ายผ่านคนกลางสามระดับ คือ ตัวแทน พ่อค้าส่ง และพ่อค้าปลีกเป็นช่องทางการจัดจาหน่ายท่ียาว เม่ือเปรียบเทียบกับช่องทางการจัดจาหน่ายท่ีได้กล่าวมาแล้ว ลักษณะของการจัดจาหน่ายคล้ายกับช่องทางการจัดจาหน่ายท่ี 3) แต่การส่ังซื้อสินค้าของพ่อค้าส่งจะส่ังซือ้ ผา่ นตวั แทนท่ีได้รับการแต่งตั้งจากผูผ้ ลิต 2. ช่องทางการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเป็นกระบวนการในการเคลอื่ นยา้ ยผลิตภัณฑอ์ ุตสาหกรรม จากผู้ ผ ลิ ต ไ ป ยั ง ผู้ ใ ช้ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ช่ อ ง ท า ง ก า รผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ส้ันที่สุด คือ ช่องทางการจัดจาหน่ายโดยตรงใหก้ ับผู้ใชอ้ ุตสาหกรรม

ช่ อ ง ท า ง ก า ร จั ด จ า หน่ า ยจ า ก ผู้ ผ ลิ ต ไ ป ยั ง ผู้ ใ ช้อตุ สาหกรรม เปน็ ช่องทางการจัดจาหน่ายโดยตรงจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค ไม่มีคนกลางในช่องทางการจัดจาหน่ายนี้ ระดับของช่องทางการจัดจาหน่ายศูนย์ระดับ เหมาะสาหรับการขายสินค้าอุตสาหกรรมท่ีมีราคาต่อหน่วยสูง หรือปริมาณการส่ังซ้ือต่อคร้ังสูง หรือเป็นสินค้าท่ีต้องให้คาแนะนาและการบริหารก่อนและหลังการขาย ผู้ใช้อุตสาหกรรมจะเป็นลูกค้ารายใหญ่สงั่ ซ้ือสินคา้ ทลี ะมากๆ ช่องทางการจัดจาหน่ายจากผู้ผลิตผ่านสาขาการขายของผู้ผลิตไปยังผู้ใช้อุตสาหกรรม เป็นช่องทางการจัดจาหน่ายโดยตรงเช่นเดียวกบั ชอ่ งทางการท่ี 1 ช่องทางการจัดจาหน่ายจากผู้ผลิตผ่านผู้จัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม (พ่อคา้ ส่ง) ไปยังผ้ใู ชอ้ ุตสาหกรรม เป็นช่องทางการจัดจาหน่ายผา่ นคนกลาง

ช่องทางการจัดจาหน่ายมีหลายรูปแบบ แต่ละแบบก็มีข้อดีข้อเสียแตกต่างกันไปในการตัดสินใจออกแบบช่องทางการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ไปยังผู้บริโภคหรือผู้ใช้ระดับต่างๆให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ผู้ผลิตควรทาการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการออกแบบช่องทางการจดั จาหนา่ ย มดี ังนี้1. ลักษณะของผบู้ ริโภคหรือผู้ใช้หาก ผู้ผลิตต้องการครอบคลุมตลาดเป้าหมายอย่างกว้างขวางหรือผู้บริโภคหรือผู้ใช้มีจานวนมากผู้ผลิตจะเลือกใช้ช่องทางการจัดจาหน่ายท่ียาวมีคนกลางในการ จัดช่องทางการจัดจาหน่ายหลายระดับเช่นระดับพ่อค้าส่งถึงพ่อค้าปลีกขนาดของคาส่ังที่มีปริมาณและมูลค่าการส่ังซื้อต่อครั้งสูงผู้ผลิตมีแนวโน้มจะใช้ช่องทางการจัดจาหน่ายที่ส้ันหรือผู้บริโภคร่วมกันเป็นกระจุกในบริเวณเดยี วกันผ้ผู ลติ มักจะใชว้ ิธีการขายตรงไปยงั ผู้บรโิ ภคจะประหยดั คา่ ใช้จ่ายกว่าการขายตรง ไปยังลูกค้าท่ีอยู่ อย่างกระจัดกระจายไปตามพื้นทต่ี ่างๆทางภูมศิ าสตร์ 2. ลักษณะของผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ เพ่ือการบริโภคจะมีช่องทางการจัดจาหน่ายที่ยาวกว่าผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมโดยเน้นการใช้พ่อค้าปลีกจานวนมากผลิตภัณฑ์ท่ีมีราคาต่อหน่วยสูงจะใช้วิธีการจัดจาหน่ายโดยตรงดีกว่าการผ่านคนกลางหลายระดับผลิตภัณฑ์ที่มีเทคนิคการใช้สูงจะมีการจัดจาหน่ายสั้นโดยใช้วิธีการขายตรงหรือแต่งตั้งตัวแทนที่ได้รับอนุญาตสินค้าท่ีเน่าเสียหาย ง่ายหรือเป็นสินค้าแฟชั่นควรใช้ช่องทางการจัดจาหน่ายท่ีส้ันจานวนคนกลางน้อยรายสินค้าท่ีมีต้นทุนการจาหน่ายสูงค่าขนส่งและค่ารักษาความปลอดภัยสูงควรใช้ช่องทางการจดั จาหนา่ ยส้นั

3. ลกั ษณะของคู่แข่งขันคแู่ ขง่ ขันทางตรงคือคู่แข่งขันทจี่ ัดจาหน่ายสินค้าประเภทเดียวกับผู้ผลิตคู่แข่งขันทางอ้อมคือคู่แข่งขันที่จาหน่ายสินค้าที่ทดแทนกันได้หากผู้ผลิตเลือกใช้ช่องทางเดียวกับคู่แข่งขันจะต้องสามารถเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียในการใชช้ อ่ งทางการจัดจาหน่ายนั้นๆ 4. ลักษณะของคนกลางปัจจัยท่ีต้องพิจารณาในการเลือกคนกลางในช่องทางการจัดจาหน่ายได้แก่ความสามารถในการหาคนกลางที่เหมาะสมหากไม่สามารถหาคนกลางที่มีคุณสมบัติตามท่ีต้องการผู้ผลิตผลิตภัณฑ์อาจจะต้องใช้การจัดจาหน่ายเองโดยตรงคนกลางบางคนมีต้นทุนการจัดจาหน่ายสูงหรือหากใช้คนกลางหลายระดับก็ทาให้ต้นทุนสูงได้เช่นกันอาจต้องใช้ช่องทางการจัดจาหน่ายท่ีสั้นการบริการท่ีได้รับจากคนกลางหากผู้ผลิตไม่สามารถให้บริการบางอย่างได้เองต้องใช้บริการจากคนกลางช่องทางการจัดจาหน่ายก็จะยาวข้ึนนอกจากนั้นยังต้องพิจารณาถึงความให้ความร่วมมือของคนกลางในด้านการคลังสนิ ค้า

5. ลักษณะขององค์กรขนาดขององค์กรวัตถุประสงค์ขององค์กรฐานะทางการเงินส่วนผสมผลิตภัณฑ์ความสามารถในการบรหิ ารงานและความต้องการการควบคุมช่องทางการจัดจาหน่ายมีผลต่อการเลือกช่องทางการจัดจาหน่ายท้ังสิ้นหากเป็นองค์กรขนาดเล็กจาเป็นต้องพ่ึงพาคนกลางให้ทาหน้าที่ทางการตลาดแทนวัตถุประสงค์ขององค์กรคือครอบคลุมตลาดทัง้ หมดกต็ ้องใชช้ ่องทางการจัดจาหน่ายยาวคอื จาหน่ายผ่านคนกลางพอ่ ค้าปลกี จานวนมากเป็นต้น 6. ลักษณะของส่ิงแวดล้อมปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการออกแบบช่องทางการจัดจาหน่ายอีกประการหนึ่งคือลักษณะของสิ่งแวดล้อมต่างๆที่สาคัญได้แก่ส่ิง ส่ิงแวดล้อมทางเศรษฐกิจกฎหมายข้อบังคับต่างๆที่ออกโดยรัฐหากอยู่ในยุคสภาวะทางเศรษฐกจิ ตกตา่ ควรลดปริมาณการผลิตและต้องการประหยัดต้นทุนการดาเนินงานต่างๆควรใช้ช่องทางการจัดจาหน่ายท่ีสั้นหรือรัฐบาลออกกฎหมายข้อกาหนดไม่ให้จาหนา่ ยสินคา้ ผา่ นคนกลางบางประเภท

เม่ือตัดสินใจเลือกช่องทางการจัดจาหน่ายได้แล้วผู้บริหารการตลาดยังควรทราบถึงเกณฑ์การกาหนดจานวนของคนกลางที่ใช้ในแต่ละระดับของช่องทางการจัดจาหน่ายซึ่งขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ขององค์กรและแผนการจัดจาหน่ายการกาหนดจานวนของคนกลางในช่องทาง การจัดจาหน่ายมักใช้กับระดับการค้าส่งและระดบั การคา้ ปลกี ซ่ึงมีอยู่ 3 แบบ ดังนี้ 1. การจัดจาหน่ายอย่างหนาแน่นในการจัดจาหน่ายสินค้าประเภทที่ซื้อตามความสะดวกลูกค้ามักต้องการความสะดวกในการซื้อด้านสถานท่ีท่ีมีเป็นจานวนมากและอยกู่ ระจัดกระจายทัว่ ไปทกุ พน้ื ที่องค์กรท่ีต้องการควบคุมตลาดอย่างกว้างขวางมักใช้ช่องทางการจัดจาหน่ายผ่านคนกลางเป็นจานวนมากโดยเฉพาะอย่างย่ิงคนกลางค้าปลีกและค้าส่ง 2. การจัดจาหน่ายแบบเลือกสรรเป็นการคัดเลือกคนกลางที่มีความเหมาะสมกับการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์จานวนหน่ึงในเขตพน้ื ท่ีใดพื้นท่ีหนงึ่ โดยมีวัตถุประสงค์คือการควบคุมพื้นท่ีทางการตลาดได้อย่างทั่วถึงแต่มีต้นทุนการกระจายสินค้า ต่ากว่าวิธีการจัดจาหน่ายอย่างหนาแนน่

3. การจัดจาหน่ายแบบผูกขาดในการจัดจาหน่ายสินค้าบางประเภทผู้ผลิตอาจต้องควบคุมคนกลางในด้านการกาหนดราคาการส่งเสริมการตลาดการให้บริการการจัดจาหน่ายและอื่นๆได้อย่างมีประสิทธิภาพและหวังจะให้คนกลางที่ได้รับการคั ด เลื อ ก จ า น ว น หนึ่ ง จ า หน่ า ยผ ลิ ต ภั ณ ฑ์จ า ก ผู้ ผ ลิ ต แ ต่ เพี ย งผู้เดียวโดยตรงไม่จาหน่ายผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งขันและพร้อมจะใช้ความพยายามทางการตลาดในการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ของผ้ผู ลิตอยา่ งเตม็ ความสามารถ

การค้าปลีก (Retailer) หมายถึง กิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับการจาหน่ายผลิตภัณฑ์โดยตรงให้กับผู้บริโภคคนสุดท้ายท่ีนาสินค้าไปใช้ส่วนตัว หรือหากนาไปให้บุคคลอื่นใช้ก็ไม่ได้หวังผลกาไร บุคคลท่ี ทาการค้าปลีกเรียกว่า พ่อค้าปลีก (Retailer)ผู้ผลิตหรือคนกลางใดก็ตามท่ีดาเนินการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ให้ผู้บริโภคคนสุดท้าย ไม่ว่าจะขายโดยใช้พนักงานขายหรือการขายผ่านส่ือใดๆ จะขายในร้านหรือนอกร้าน ก็ถือว่าเป็นกิจกรรมค้าปลีกท้ังสิ้น แต่ส่วนใหญ่แล้วการค้าปลีกมักจาหน่ายผลิตภัณฑ์ภายในร้านค้าปลีกมากกวา่ พ่อค้าปลีกหรือร้านค้าปลีก (Retailer or RetailStore) คือ บุคคลหรือกิจการที่ทาหน้าที่ดาเนิน การจาหน่ายผลิตภัณฑ์ให้กับผู้บริโภคคนสุดท้าย ท่ีนาสินค้าไปกินหรือไปใช้ส่วนตัว สินค้าเพ่ือการอุปโภคบริโภค มักใช้การขายผ่านร้านค้าปลีกมากท่ีสุด เนื่องจากกิจการค้าปลีกเปิดดาเนินการเป็นจานวนมาก ตั้งอยกู่ ระจัดกระจายทั่วไป เป็นกิจการท่ีอยใู่ กล้ชิดกั บ ผู้ บ ริ โ ภ ค ม า ก ก ว่ า ค น ก ล า ง ป ร ะ เ ภ ท อ่ื นลักษณะการดาเนินงานของกิจการค้าปลีกจะแตกต่างกันไปผู้ บ ริ ห า ร ก า ร ต ล า ด จึ ง ค ว ร ท ร า บ ถึ ง ลั ก ษ ณ ะ ต่ า ง ๆเพื่อประกอบการพิจารณาเลือกคนกลางค้าปลีก ให้เหมาะสมกบั ผลิตภณั ฑ์ขององคก์ รกบั กลุ่มตลาดเป้าหมายได้อย่างถกู ต้อง

1. การจัดประเภทการค้าปลีกอาศัยเกณฑ์ตามสายผลิตภัณฑ์ที่จาหน่าย เป็นการจัดประเภทการค้าปลีกตามผลติ ภัณฑท์ ่มี ไี วจ้ าหน่าย แบ่งไดด้ งั น้ี ร้านขายสินค้าท่ัวไป (General Merchandise Stores)เป็นร้านค้าปลีกท่ีจาหน่ายผลิตภัณฑ์หลายชนิดหรือหลายสายผลติ ภัณฑ์ ได้แก่ หา้ งสรรพสินค้า (Department Stores) เป็นกิจการร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ จาหน่ายผลิตภัณฑ์มากมายหลายชนิดหลายสายผลิตภัณฑ์ ในแต่ละสายผลิตภัณฑจ์ ะมีสินค้าให้เลือกหลายรายการ (มีความลึกของสายผลิตภัณฑ์) ผลิตภัณฑ์จะมีการจัดแบ่งออกเป็นหมวดหมู่อย่างชัดเจน ลักษณะเด่นพิเศษของห้างสรรพสินค้า คือ การมีหลายๆแผนกอยู่รวมกันภายใต้หลังคาเดียวกัน ทาให้การดาเนินงานของห้างสรรพสินค้ามีความประหยัดดา้ นการส่งเสริมการตลาด การจดั ซอื้

พ่อค้าส่ง เป็นคนกลางค้าส่งที่มีกรรมสิทธ์ิในตัวสินค้าท่ีจาหน่ายได้รับผลตอบแทนในรูปกาไรแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ 1. พ่อค้าส่งให้บริการเต็มที่ เป็นพ่อค้าส่งท่ีให้บริการต่างๆแก่พ่อค้าปลีกและผู้ผลิตสินค้า เช่น บริการขนส่งการเก็บรักษาสินค้าการเงินการให้สินเชื่อการให้ข้อมูลทางการตลาดแบ่งออกได้เป็นหนึ่งพ่อค้าส่งสินค้าท่ัวไปเป็นพ่อค้าส่งที่จาหน่ายสินค้ามากมายหลายชนิดตามที่ลูกค้าต้องการทั้งในรูปแบบและ หลายย่ีห้อแต่ละประเภทจะไม่มีความลึกของผลิตภัณฑ์ พ่อค้าส่งเฉพาะสายผลิตภัณฑ์ใดสายผลิตภัณฑ์หนึ่งเป็นพ่อค้าส่งที่จาหน่ายสินค้าเพียงหน่ึงสายผลิตภัณฑ์แต่มีความลึกของสายผลิตภัณฑ์เช่นร้านขายส่งเส้ือผ้าสตรีร้านขายส่งเครื่องประดับท่ีทาด้วยเงินร้านขายส่งสินค้าที่ใช้ประกอบอาหารประเภทต่างๆ พ่อค้าส่งขายสินค้าเฉพาะอย่างเป็นพ่อค้าส่งที่จาหน่ายสินค้าใดสินค้าหน่ึงเท่าน้ันเช่นร้านขายส่งเฉพาะนาฬิกาแขวนสาหรบั ใช้เป็นของชารว่ ยรา้ นขายส่งรถจักรยานสาหรับเด็ก

2 พ่อค้าส่งจากัดการให้บริการ เป็นพ่อค้าส่งท่ีใหบ้ รกิ ารบางอย่างกับลูกคา้ แบ่งออกไดเ้ ปน็ พ่อค้าส่งขายสินค้าเป็นเงินสดและให้ขนสินค้าเองเป็นการค้าส่งท่ีพ่อค้าส่งจะขายสินค้าให้ลูกค้าเป็นเงินสดไม่ให้สินเช่ือใดๆไม่ มีบริการการขนส่งให้เมื่อลูกค้าซื้อสินค้าจากร้านค้าแล้วต้องขนส่งสินค้ากลับเองส่วนใหญ่เป็นกิจการค้าส่งขนาดเล็กมที ุนในการดาเนินงานน้อยเช่นห้างแม็คโครร้านค้าส่งขายวัสดุก่อสร้างเคร่ืองเหล็กเครื่องใช้ไฟฟ้าอะไหล่รถยนต์ของชา พ่อค้าส่งพร้อมจัดการเป็นพ่อค้าท่ีทาหน้าท่ีจัดขายสินค้าทไ่ี ม่ใชอ่ าหารพรอ้ มท้ังจัดการหน้าท่ีบางอยา่ งให้แกพ่อค้าปลีกเช่นจัดหาวัสดุอุปกรณ์การตกแต่งร้านชั้นวางของการจัดแสดงสินค้าให้การส่งเสริมการขายณจุดขายรวมท้ังดูแลกิจการในสินค้าในชั้นวางของเต็มตลอดเวลาเช่นพ่อค้าส่งที่ ขายสินค้าให้กับร้านคา้ ประเภท Supermarket พ่อค้าส่งโดยสินค้าไม่ผ่านมือ เป็นพ่อค้าส่งท่ีทาหน้าท่ีรวบรวมคาส่ังซื้อจากพ่อค้าปลีก หรือพ่อค้าส่งรายย่อย หรือผู้ใช้อุตสาหกรรม แล้วจัดการส่งใบสั่งซ้ือในนามตนเองไปยังผู้ผลิตสินค้า และให้ผู้ผลิตสินค้าส่งไปสินค้าไปยังผู้ซื้อสินค้าแต่ละราย จงึ เปน็ การค้าส่งท่ีไม่มีสินค้าผ่านมือและไม่ต้องรับภาระในการขนสง่ สนิ คา้ ให้กับลูกค้า

การกระจายตัวสินค้าเป็นกิจกรรมต่างๆท่ีเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายสินค้าสาเร็จรูปหรือวัตถุดิบต่างๆไปยังสถานท่ีเวลาและสภาพท่ีต้องการลักษณะของการกระจายตัวสินค้ามีดังนี้ 1. หน้าที่งานการกระจายตัวสินค้าประกอบดว้ ยภาระงาน 3 ดา้ น คอื การกระจายตัวสินค้า คือกิจกรรมการเคล่ือนย้ายสินค้าส า เ ร็ จ รู ป จ า ก ผู้ ผ ลิ ต ไ ป ยั ง ผู้ บ ริ โ ภ ค ค น สุ ด ท้ า ย ห รื อ ผู้ ใ ช้อุตสาหกรรมถือเป็นภาระงานท่ีสาคัญที่จะทาให้การขายสาเร็จผลโดยสมบูรณ์เม่ือสินค้าได้ถูกส่งมอบไปให้ลูกค้าตามสถานที่ท่ีถกู ตอ้ งตามเวลาเหมาะภาพทเ่ี หมาะสม ระบบการจัดส่ง คือกระบวนการในการวางแผนการนาเสนอและการควบคุมประสิทธิภาพการไหลอย่าง มีประสิทธิภาพด้านค่าใช้จ่ายการเก็บรักษาวัตถุดิบการเก็บสินค้าคงคลังระหว่างผลิตสินค้าสาเร็จรูปและข้อมูลท่ีเก่ียวข้องจากจุดเรมิ่ ตน้ ไปส่ผู บู้ รโิ ภค การบริหารงานพัสดุ เป็นงานท่ีเก่ียวข้องกับการจัดหาวัตถุดิบอุปกรณ์และการบริการต่างๆเพื่อป้อนสู่กระบวนการดาเนินงานต่างๆของกิจการได้อย่างต่อเนื่องไม่ติดขัดโดยได้วัตถุดิบที่ถูกต้องปริมาณและเวลาท่ีเหมาะสมจัดส่งไปยังสถานที่ท่ตี ้องการจากแหล่งจดั สง่ ทีถ่ ูกตอ้ งอกี ดว้ ย

การบริหารการกระจายตัวสินค้า การบริหารการกระจายตัวสนิ คา้ มีองค์ประกอบทีจ่ ะทาให้การกระจายตัวสินค้าดาเนนิ ไปไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพแบง่ เปน็ 5 ส่วนสาคญั คอื 1. การบริหารการขนส่งและการขนย้ายตัวสินค้าเป็นสว่ นท่ีเชอื่ มโยงระหว่างผูผ้ ลิตกับลกู คา้ ในการนาเสนอสินค้าบริการสู่ลูกค้าหลักการบริหารการขนส่งและการขนย้ายสินค้าต้องยึดถือเป้าหมายหลักขององค์กรคือต้นทุนที่เหมาะสมปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและครอบคลุมลูกค้าได้อย่างท่ัวถึงในการตัดสินใจกระจายสินค้าสิ่งท่ีต้องนามาประกอบการตัดสินใจคือ การจัดหาข้อมูลสารสนเทศท่ีมีประสิทธิภาพจะทาให้สามารถเลือกระบบการกระจายสินค้าด้านปริมาณเวลาสถานทที่ ่ีเหมาะสม 2. การบริหารสินค้าคงคลัง ในการสร้างความพึงพอใจใหก้ ับลูกค้าโดยมีต้นทุนในการดาเนินงานที่เหมาะสมคือการจัดให้มีสินค้าคงคลังไว้ในปริมาณหนึ่งการมีสินค้าคงคลังจะทาให้การผลิตสินค้าทาได้อย่างต่อเนื่องช่วยลดต้นทุนด้านการผลิตประหยัดค่าขนส่งวัตถุดิบในกรณีท่ีค่าใช้จ่ายในการขนส่งมีมูลค่าสูงทาให้ต้องมีการจัดซ้ือจานวนมากทาให้ต้นทุนลดลงทาให้การผลิตดาเนินไปได้อยา่ งต่อเนื่องไม่ติดขัดการบริหารสินค้าคงคลังมสี ่วนประกอบ ดงั นี้

สินค้าคงคลงั แบง่ ไดเ้ ป็น 5 ประเภท คอื(1) สินค้าคงคลังเพ่ือรองรับความต้องการตามวงจรและตามความต้องการ ชว่ งเวลาปกติ(2) สินค้าคงคลังท่ีอยู่ระหว่างการขนส่งระยะต่างๆเช่นจากผู้จัดส่งวัตถดุ บิ ไปยังผ้ผู ลิตจากผ้ผู ลติ ไปยงั คนกลางฃ(3) สินคา้ อยรู่ ะหว่างกระบวนการผลิต(4) สินค้าคงคลังสารองเพื่อป้องกันความเส่ียงจากการเปลีย่ นแปลงการจัดส่งจากผู้จัดส่งวัตถุดิบหรือการเปล่ียนแปลงตามความตอ้ งการของลูกค้า(5) สินค้าคงคลังสารองเพ่ิมเติมสาหรับกระบวนการท่ีต่อเนื่องกนั เปน็ สินค้าคงคลงั สารองทม่ี ไี ว้เพื่อแก้ปัญหาความผันแปรในกระบวนการผลิต วัตถุประสงคข์ องการบริหารสินคา้ คงคลงั คอื(1) การมีพร้อมของสินค้าเพ่ือไว้ตอบสนองความต้องการของลูกคา้ ในชว่ งเวลาต่างๆ(2) ต้นทุนท่ีเก่ียวข้องโดยรวมเช่นค่า เช่นค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้าคงคลังต้นทุนที่ให้ได้มาซึ่งวัตถุดิบนั้นนะนับต้ังแต่ราคาวตั ถุดิบค่าใช้จ่ายในการขนส่งจากแหล่งผลิตสู่โรงงานผลิตค่าประกันภัยในการขนส่งและภาษีศุลกากรหากเป็นสินค้าท่ีนาเขา้ จากต่างประเทศ

(3) ต้นทุนค่าใช้จ่ายท่ีเกิดข้ึนจากการที่สินค้าคงคลังไม่เพียงพอเช่นต้องมีการผลิตเพ่ิมต้องเร่งการจัดส่งต้องจ่ายค่าล่วงเวลาค่าเสียโอกาสในการขาย9.9.2.3 คลังสินค้า คลังสินค้าใช้เป็นสถานท่ีเก็บรักษาสินค้ารวบรวมสินค้าไว้เพ่ือรอการจาหน่ายหรือเพ่ือแยกประเภทสนิ คา้ ลักษณะทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั คลงั สินคา้ มดี งั น้ี 1) หน้าที่การจัดการคลงั สินค้า (1) การจัดเก็บรักษาสินค้าคงคลัง หากเป็นสินค้าคงคลังเพ่ือรอการแปรรูปตามธรรมชาติ ของกระบวนการก็จะใช้เวลาในการจัดเก็บนานแต่ถ้าเป็นสินค้าที่รอการจัดส่งไปยังลูกค้าชว่ งเวลาในการจดั เกบ็ รักษาจะไม่นานมากนกั (2) การรวบรวมสินค้าก่อน จัดส่งสินค้าคลังสินค้าจะเป็นท่ีรวบรวมสินค้าต่างๆเข้าด้วยกันเพื่อพร้อมสาหรับการจัดส่งให้ลูกค้ารายต่างๆแล้วจัดส่งพร้อมกันทาให้ลดต้นทุนรวมและต้นทนุ เฉล่ยี ตอ่ หน่วย (3) การแยกประเภทสินค้าก่อนส่ง เม่ือกิจการได้รับสินค้าจากแหล่งผลิตคลังสินค้าจะเป็นท่ีท่ีใช้แยกประเภทสินค้าออกเป็นส่วนตามความต้องการของลูกค้าแต่ละรายแล้วจะส่งไปยังลูกค้าตอ่ ไป

(4) การรวบรวมสินค้า คลังสินค้าจะเป็นท่ีที่ใช้รวบรวมรายการสินค้าต่างๆให้ครบตามจานวนความต้องการของลูกค้าแต่ละราย เพือ่ การจดั ส่งใหล้ ูกคา้ ต่อไป2) ลกั ษณะการคลงั สนิ คา้ แบ่งเปน็ 2 ประเภท ดังน้ี (1) คลังสินค้าสาหรับเก็บรักษา พื้นที่ของคลังสินค้าที่ใช้เก็บรักษาสินค้าระยะปานกลาง และระยะยาวการจัดพื้นที่คลังสินค้าจะให้ความสาคัญด้านความเป็นระเบียบเข้าถึงได้สะดวกสบายและง่ายตอ่ การคน้ หาสนิ คา้ (2) คลังสินค้าสาหรับการกระจายสินค้า พ้ืนที่ของคลงั สนิ คา้ ใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมสินคา้ แยกประเภทสนิ คา้ รอการจดั สง่ ไปยงั ปลายทางระยะเวลาในการเก็บรักษาไม่ยาวนานการกาหนดการใช้พ้ืนท่ีอย่างมุ่งท่ี ความมีระเบียบความสะดวกในการเข้าถึงการค้นหาง่ายและยังต้องให้ความความเร็วตลอดจนความสะดวกในการเคล่อื นไหวของสินค้าเน่ืองจากคลังสินค้าลักษณะนีจ้ ะมคี วามถ่ใี นการขนถา่ ยสินค้าสูงสัมพนั ธก์ บั อตั รา

(3) การวางผังพื้นที่คลังสินค้า ในการวางผังพื้นท่ีคลังสินค้าจะต้องพิจารณาถึงองค์ประกอบของพื้นท่ีแรงงานและวัสดุอุปกรณ์ท่ีต้องใช้ในคลังสินค้าตลอดจนต้องพิจารณาพ้ืนที่เพื่อรองรับการปฏิบัตงิ านด้านตา่ งๆ ได้แก่1. พื้นทีส่ านกั งาน2 พืน้ ท่ีจาเป็นสาหรบั พนกั งานเชน่ โรงอาหารห้องนา้3 พนื้ ที่สาหรับจดั เกบ็ อปุ กรณก์ ารขนยา้ ยสินคา้ การขนย้ายรถไถ4 พน้ื ทส่ี าหรบั จดั เก็บสนิ ค้าท่เี สียหาย5 พืน้ ที่สาหรับสินค้าท่ตี ้องระวังเป็นพิเศษ6 พ้นื ท่สี าหรบั อปุ กรณ์และระบบสาธารณูปโภคในคลงั สินคา้ คา้

การขนส่ง (Transportation) คือ การเคลื่อนย้ายสินค้าจากผู้ผลิตไปยังลูกค้าโดยการใช้พาหนะต่างๆ บรรทุกลาเลียงวิธีการขนส่งสินค้ามีหลายวิธีแต่ละวิธีก็มีข้อดีข้อจากัดแตกต่างกันไป ผู้บริหารตลาดต้องตัดสินใจเลือกวิธีการขนส่งให้เหมาะสมกับลูกค้า สินค้า เวลา ต้นทุนในการขนส่ง และอื่นๆวธิ กี ารขนส่งโดยทว่ั ไป มดี ังนี้ 1. การขนส่งทางรถไฟ (Railroads) เป็นวิธีการขนส่งที่เหมาะสาหรับการขนส่งสินค้าที่มีน้าหนักมาก ราคาต่อหน่วยต่า ขนส่งปริมาณมาก เช่น เหล็ก หินทราย น้ามัน ปูนซีเมนต์การขนส่งทางรถไฟจะมีความปลอดภัยสูง ขนส่งได้คร้ังละมากๆ แต่ข้อจากัด คือ เวลาในการขนส่งถูกกาหนดเป็นตารางเวลาที่แน่นอนเปลี่ยนแปลงไม่ได้ บางคร้ังสถานีรถไฟไม่ได้ตั้งอยู่ในตัวเมือง ทาให้ไม่สะดวกต่อการขนส่ง และบางจั ง ห วั ด ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ก า ร ข น ส่ ง ท า ง ร ถ ไ ฟ เ ข้ า ไ ป ไ ม่ ถึ งนอกจากน้ัน การขนส่งทางรถไฟวิธีเดียวไม่สามารถขนส่งสินค้าให้ถึงลูกค้าได้ ต้องอาศัยการขนส่งทางรถยนต์ช่วย จึงทาให้ค่าใชจ้ า่ ยโดยรวมสูงกว่าการขนสง่ ทางรถยนต์

2. การขนส่งทางรถบรรทุก (Trucks) เป็นวิธีการขนส่งที่ได้รับความนิยมมากเม่ือเปรียบเทียบกับการขนส่งทางรถไฟ เพราะสามารถขนส่งปริมาณมาก สะดวก รวดเร็วสามารถส่งตรงให้ถึงลูกค้าได้หากมีถนนเชื่อมเข้าไปถึง ไม่ต้องมีการเคล่ือนย้ายสินค้าหลายทอดหลายต่อ จึงช่วยลดความเสียหายทจี่ ะเกดิ ข้นึ ได้ และทส่ี าคญั คือ มคี วามคล่องตัวในเร่ืองเวลาทส่ี ามรถเลือกขนสง่ สนิ ค้าได้ทกุ เวลา 3. การขนส่งทางน้า (Water-Ways) เป็นวิธีกานขนส่งโดยใชเ้ รอื บรรทุกสินค้า เหมาะสาหรับการขนส่งสินค้าท่ีมีน้าหนักมาก ต้องการขนส่งปริมาณมาก สินค้าที่เสียหายยากราคาต่อหน่วยต่า ข้อจากัดของการขนส่งทางน้า คือ ใช้เวลาในการขนส่งมาก แต่ประหยัดกว่าการขนส่งวิธีอ่ืน นิยมใช้ในการขนส่งสนิ คา้ เพ่อื การจาหน่ายในตลาดตา่ งประเทศ 4. การขนส่งทางอากาศ (Airlines) เป็นวิธีการขนส่งท่ีเหมาะสาหรับขนส่งสินค้าที่มีราคาสูงน้าหนักไม่มากนัก เป็นสินค้าท่ีต้องการความปลอดภัยจากการขนส่งสินค้าท่ีต้องการความเร่งด่วนในการจาหน่าย เป็นวิธีการขนส่งที่สะดวกรวดเร็ว และมีความปลอดภัยสูง แต่ต้นทุนในการขนส่งสูงท่ีสุดเมื่อเปรยี บเทียบกบั การขนส่งวธิ ีอื่น

5. การขนส่งทางท่อ (Pipelines) เป็นวิธีการขนส่งที่เหมาะสาหรับขนส่งสินค้าประเภทน้ามันเช้ือเพลิง ก๊าซธรรมชาติ ของเหลวต่างๆ หรือหากเป็นของแข็งก็ต้องบดให้ละเอยี ด ก็สามารถขนสง่ ทางทอ่ ได้ การขนสง่ ทางทอ่ เป็นวิธีการขนส่งท่มี ีตน้ ทุนในการดาเนินงานคร้ังแรกสูง แต่ลงทุนคร้ังเดียวสามารถใชง้ านได้นาน ทาให้ต้นทุนการขนส่งและค่าแรงงานขนย้ายโดยเฉลี่ยต่า การขนส่งทางท่อไม่มีข้อจากัดด้านเวลาปัญหาการจราจร ภมู ิอากาศ สามารถขนสง่ สนิ คา้ ไดต้ ลอดเวลา ดังนั้น การเลือกใช้ช่องทางการจัดจาหน่ายสินค้าแบบใดจึงขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายๆด้าน ผู้ประกอบการต้องเลือกให้เหมาะสมกับตลาด และสามารถทาให้ตลาดหรือผู้บริโภคได้รับสินค้าตามเวลา สถานที่และราคาที่ถูกต้อง จึงถือได้ว่าช่องทางการจัดจาหน่ายนัน้ ๆ เกดิ ประสิทธภิ าพสงู สดุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook