ความหมายของระบบเครือขา่ ย ร ะ บ บ เ ค รื อ ข่ า ย ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ( ComputerNetwork) ประกอบไปดว้ ยเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ต้ังแต่ 2เคร่ืองขึ้นไป ท่ีสามารถติดต่อกันเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลกันได้ การติดต่อจะผ่านทางช่องการสื่อสารต่าง ๆเช่น สายโทรศัพท์ สายไฟฟ้า หรือผ่านทางสื่อแบบอ่นื ๆ ได้แก่ โมเดม็ (Modem) ไมโครเวฟ (Microwave)สัญญาณอนิ ฟราเรด (Infrared) เป็นตน้ วัตถุประสงค์ที่ต้องต่อกันน้ี มักเกิดจากความต้องการที่จะใช้ทรพั ยากรของระบบร่วมกัน เช่น ใช้เน้ือที่เก็บข้อมูลในดิสก์ร่วมกัน ใช้งานเคร่ืองพิมพ์เลเซอร์ท่ีมีอยู่เครื่องเดียวรว่ มกัน ตอ้ งการส่งข้อมูลให้กับบุคคลอื่นในระบบไปใชง้ าน หรอื ต้องการตดิ ต่อสอ่ื สารระหว่างกัน เป็นต้น
ขอ้ ดีของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์1. สามารถแลกเปล่ียนขอ้ มลู อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ2. สามารถแชร์ทรพั ยากร เช่นเครือ่ งพมิ พ์ ฮารด์ ดสิ ก์ ไวใ้ นเครอื ขา่ ย เปน็ ต้น3. ประหยัดเน่อื งจากสามารถแชร์ทรัพยากรร่วมกนั ได้4. สามารถแชรเ์ อกสาร เช่น บันทกึ ข้อความ ตารางข้อมูลต่าง ๆ เปน็ ตน้5. สามารถใชจ้ ดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรือ อเี มล์ ใน การตดิ ตอ่ ผทู้ ีอ่ ยู่หา่ งไกลไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว6. การสนทนาผ่านเครอื ขา่ ย หรือการแชท (Chat)7. การประชุมระยะไกล (Video conference)8. การแชร์ไฟลต์ า่ ง ๆ เชน่ รูปภาพ วีดโิ อ เพลง เปน็ ต้น9. การแชร์ซอฟตแ์ วร์ตา่ ง ๆ เชน่ ไมโครซอฟตอ์ อฟฟิศ เป็นต้น
ประโยชน์ของระบบเครอื ขา่ ย1. การแลกเปล่ียนข้อมูลทาได้ง่าย โดยผู้ใช้ในเครือข่ายสามารถท่ีจะดึง ข้อมูลจากส่วนกลาง หรือข้อมูลจากผู้ใชค้ นอื่นมาใชไ้ ด้อย่างรวดเร็วและงา่ ยดาย เหมือนกับการดึงข้อมูลมาใช้จากเครื่องของตนเอง และนอกจากดึงไฟล์ข้อมูลมาใช้แล้ว ยังสามารถคัดลอกไฟล์ไปให้ผู้อืน่ ไดอ้ ีกด้วย2. ใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ท่ีเชอ่ื มตอ่ กับเครือข่ายนั้น ถือว่าเปน็ ทรัพยากรส่วนกลางที่ผู้ใช้ในเครือข่ายทุกคน สามารถใช้ได้โดยการส่ังงานจากเคร่ืองคอมพิวเตอร์ของ ตัวเองผ่านเครือข่ายไปยังอุปกรณ์นั้น3. ใช้โปรแกรมร่วมกันผู้ใช้ในเครือข่ายสามารถที่จะรันโปรแกรมจาก เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนกลาง เช่นโปรแกรม Word, Excel ได้ โดยไม่จาเป็นจะต้องจัดซ้ือโปรแกรม
4. ทางานประสานกันเป็นอย่างดี ก่อนท่ีเครือข่ายจะเป็นที่นิยม องค์กรส่วนใหญ่จะใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น เมนเฟรม หรือมินิคอมพิวเตอร์ ในการจัดการงาน และขอ้ มูลทุกอยา่ งในองค์กร5. ติดต่อสื่อสารสะดวก รวดเร็ว เครือข่ายนับว่าเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร ได้เป็นอย่างดี ผู้ใช้สามารถแลกเปล่ียนข้อมูล กับเพ่อื นร่วมงานที่อยู่คนละที่ ได้อย่างสะดวก และรวดเร็ว6. เรียกข้อมูลจากบ้านได้ เครือข่ายในปัจจุบันมักจะมีการติดตั้ง คอมพิวเตอร์ เคร่ืองหน่ึงเป็นเซิร์ฟเวอร์เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าใช้เครือข่ายจากระยะไกล เช่นจากที่บ้าน โดยใช้ติดต้ังโมเด็มเพื่อใช้หมุนโทรศัพท์เช่ือมต่อ เข้ากับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ คอมพิวเตอร์เครื่องนัน้ ก็จะเป็นส่วนหนึง่ ของเครอื ข่าย
ประเภทเครอื ข่ายแบง่ ตามลักษณะทางกายภาพPAN เป็นเครือข่ายท่ีใช่ส่วนบุคคล ซึ่งเป็นการเชื่อมต่อแบบไร้สายในระยะใกล้ เช่น เช่น Bluetooth ตัวอย่างเช่น การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง PDA กับ Desktopโดยมีระยะทางไม่เกิน 1เมตร และมีอัตราการรับส่งข้อมูลความเร็วสูงมาก (สูงถึง 480 Mbps)การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ กับโทรศัพท์มือถือ การเช่ือมต่อคอมพวิ เตอรก์ บั เคร่อื งพีดีเอ เปน็ ต้น
LAN (Local Area Network) ระบบเครอื ขา่ ยระดบั ทอ้ งถ่ินเป็นระบบเครือข่ายที่ใช้งานอยู่ในบริเวณท่ีไม่กว้างนักอาจใช้อยู่ภายในอาคารเดียวกันหรืออาคารที่อยู่ใกล้กันเช่น ภายในมหาวิทยาลัย อาคารสานักงาน คลังสินค้าหรือโรงงาน เป็นต้น การส่งข้อมูลสามารถทาได้ด้วยความเร็วสูง และมีขอ้ ผดิ พลาดนอ้ ย
MAN (Metropolitan Area Network)ระบบเครือข่ายระดับเมือง เป็นระบบเครือข่ายที่มีขนาดอยู่ระหว่าง Lan และ Wanเป็นระบบเครือข่ายที่ใช้ภายในเมืองหรือจังหวัดเท่านั้น การเชื่อมโยงจะต้องอาศัยระบบบริการเครือข่ายสาธารณะ จึงเปน็ เครือข่ายท่ีใช้กับองค์การท่ีมีสาขาห่างไกล และต้องการเชื่อมสาขาเหล่านั้นเข้าด้วยกัน เชน่ ธนาคาร เครือข่ายแวนเช่ือมโยงระยะไกลมาก มีการเชื่อมโยงระหวา่ งประเทศด้วยช่องสัญญาณดาวเทียม เส้นใยนาแสง คล่ืนไมโครเวฟ คลนื่ วทิ ยุ สายเคเบลิ
WAN (Wide Area Network)ระบบเครือข่ายระดับประเทศ หรือเครือข่ายบริเวณกว้าง เป็นระบบเครือข่าย ท่ีติดตั้งใช้งานอยู่ในบริเวณกว้าง เช่น ระบบเครือข่ายท่ีติดตั้งใช้งานท่ัวโลก เป็นเครือข่ายท่ีเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ที่อยู่ห่างไกลกันเข้าดว้ ยกันอาจจะต้องเป็นการติดต่อส่ือสารกันในระดับประเทศ ข้ามทวีปหรือทั่วโลกก็ได้ ในการเชอ่ื มการตดิ ต่อนัน้ จะตอ้ งมกี ารต่อเข้ากับระบบส่ือสารขององค์การโทรศัพท์หรือการส่ือสารแห่งประเทศไทยเสียกอ่ น
แบ่งตามหน้าท่ีของคอมพวิ เตอร์2. 1. เครือข่ายแบบเพยี รท์ เู พียร์(Peer to Peer Network) เป็นการเชื่อมต่อเคร่ืองคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน โดยเคร่ืองคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง จะสามารถ แบ่งทรัพยากรต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นไฟล์หรือเครื่องพิมพ์ซึ่งกันและกัน ภายในเครือข่ายได้เครื่องแต่ละเคร่ือง จะทางานในลักษณะที่ทัดเทียมกัน ไม่มี เคร่ืองใดเครื่องหน่ึง เป็นเคร่ืองหลักการเช่ือมต่อแบบน้ีมักทาในระบบ ท่ีมีขนาด เล็กๆการเชื่อมต่อแบบนี้ มีจุดอ่อนในเรื่อง ของระบบรักษาความปลอดภยั แต่ถา้ เป็น เครือข่ายขนาดเล็กและ เป็นงานทไี่ มม่ ขี อ้ มลู ท่ีเปน็ ความลบั มากนัก
2.2. เ ค รื อ ข่ า ย แ บ บ ไ ค ล เ อ น ต์ เ ซิ ร์ ฟ เ ว อ ร์(Client/Server Network) ภายในระบบเครือข่ายแต่จะมีเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง ท่ีทาหน้าท่ีเป็นเคร่ือง Server ท่ีทาหน้าท่ีให้ บริการทรัพยากรต่างๆให้กับเคร่ือง Client หรือเคร่ืองท่ีขอใช้บริการ ซึ่งอาจจะ ต้องเป็นเคร่ืองท่ีมี ประสิทธิภาพท่ีค่อนข้างสูงถึงจะทาให้การให้บริการมีประสิทธิภาพตามไป ด้วยข้อดีของระบบเครือข่าย Client-Server เป็นระบบท่ีมีการรักษาความปลอดภัยสูงกว่า ดูแลรักษาง่ายและสะดวกมีการกาหนดสิทธิการเข้าใช้ทรัพยากรต่างๆให้กับเครื่องผขู้ อใช้บรกิ าร หรือเครอ่ื ง Client
แบง่ ตามระดบั ความปลอดภัยของขอ้ มลู เปน็ เกณฑ์อินเทอร์เน็ต (Internet) เครือข่ายสาธารณะหรืออิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต เ ป็ น เ ค รื อ ข่ า ย ท่ี ค ร อ บ ค ลุ ม ทั่ ว โ ล กซ่ึงมีคอมพิวเตอร์เป็นล้านๆ เครื่องเชื่อมต่อเข้ากับระบบ อนิ เทอร์เน็ตมีผู้ใชท้ ่ัวโลกหลายร้อยล้านคน และผู้ใช้เหล่าน้ีสามารถแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสาร กันได้อย่างอสิ ระ โดยทร่ี ะยะทางและเวลาไมเ่ ป็นอุปสรรค
อินทราเน็ต (Intranet) เครือข่ายส่วนบุคคลหรือตรงกันข้ามกับ อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ตเป็นเครือข่ายส่วน บุคคลที่ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ท่ีทาให้อินทราเนต็ ทางานไดอ้ ินทราเนต็ เป็นเครือข่ายท่ี องค์กรสร้างข้ึนสาหรับให้พนักงานขององค์กร ใช้เท่านั้น การแชร์ขอ้ มูล จะอย่เู ฉพาะใน อินทราเน็ตเทา่ นนั้
ความหมายของการส่อื สารข้อมูลก า ร ส่ื อ ส า ร ข้ อ มู ล ห ม า ย ถึ ง ก า ร โ อ น ถ่ า ย(Transmission) ข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางกับปลายทาง โดยใช้อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ ซ่ึงมีตัวกลางเช่น ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์สาหรับควบคุมการส่งและการไหลของข้อมูลจากต้นทางไปยัง ปลายทางนอกจากน้อี าจจะมีผู้รับผิดชอบในการกาหนดกฎเกณฑ์ในการสง่ หรอื รบั ขอ้ มลู ตามรูปแบบที่ต้องการองค์ประกอบพนื้ ฐานของระบบสือ่ สารข้อมลู1. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender) ข้อมูลต่างๆที่อยู่ตน้ ทางจะต้องจัดเตรียมนาเข้าสู่อปุ กรณ์สาหรับส่งข้อมูล ซ่ึงได้แก่เครื่องพิมพ์ หรืออุปกรณ์ควบคุมต่าง ๆจานไมโครเวฟ จานดาวเทียม ซึ่งข้อมูลเหล่านั้นถูกเปลีย่ นใหอ้ ยู่ใน รูปแบบทีส่ ามารถส่งขอ้ มลู น้ันไดก้ อ่ น
2. ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver) ข้อมูลท่ีถูกสง่ จากอุปกรณ์ส่งขอ้ มลู ตน้ ทาง เมื่อไปถึงปลายทางก็จะมีอุปกรณ์สาหรับ รับข้อมูลเหล่าน้ันเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป อุปกรณ์เหล่านี้ได้แก่ เครื่องพิมพ์คอมพิวเตอร์ จานไมโครเวฟ จานดาวเทียม ฯลฯ3. ข่าวสาร (Message) เป็นรายละเอียดซ่ึงอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ3.1 ข้อมลู (Data) เป็นรายละเอยี ดของสิ่งต่าง ๆ ซึ่งถูกสรา้ งและจดั เกบ็ ด้วยคอมพวิ เตอร์ มรี ูปแบบแน่นอน3.2 ข้อความ (Text) อยู่ในรูปของเอกสารหรือตัวอกั ขระ3.3 รูปภาพ (Image) เป็นข่าวสารท่ีอยู่ในรูปของภาพกราฟิกแบบต่าง ๆ 3.4 เสียง (Voice) อยู่ในรูปของเสยี งพดู เสียงดนตรี หรือเสียงอนื่ ๆ4 . ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์ ( Software) ก า ร ส่ ง ข้ อ มู ล ผ่ า นคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องมีโปรแกรมสาหรับดาเนินการและควบคุมการส่งข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลตามท่ีกาหนดไว้ ไดแ้ ก่ Novell’s Netware, UNIX, Windows NT,Windows 2003 ฯลฯ
5. โปรโตคอล (Protocol) โปรโตคอล คือ กฎระเบยี บหรือวิธีการใช้เป็นข้อกาหนดสาหรับการสื่อสาร เพื่อให้ผู้รับและผสู้ ่งเขา้ ใจกนั ได้ ซึ่งมีหลายชนิดให้6. ตัวกลาง (Medium)เป็นตัวกลางหรือสื่อกลางท่ีทาหน้าที่นาข่าวสารในรูปแบบต่าง ๆ จากผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งต้นทางไปยังผู้รับ หรืออุปกรณ์รับปลายทางซ่ึงมีหลายรูปแบบได้แก่ สายไป ขดลวด สายเคเบิลสายไฟเบอรอ์ อฟตกิ ตวั กลางอาจจะอยใู่ นรูปของคล่ืนที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น คลื่นไมโครเวฟ คลื่นดาวเทียมหรอื คลนื่ วทิ ยุ เป็นตน้
การสอ่ื สารโทรคมนาคมการติดต่อสื่อสารด้วยการรับส่งข้อมูลข่าวสารระหว่างตัวประมวลผล โดยผ่านสื่อกลางท่ีเช่ือมต้นทางและปลายทางที่ห่างกัน โดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายรูปแบบ ตามกฎเกณฑ์ หรอื ระเบียบวธิ ีการที่กาหนดขึ้นในแต่ละอุปกรณ์เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร สื่ อ ส า ร โ ท ร ค ม น า ค ม ใ น ช่ ว ง ต้ นประกอบดว้ ยสัญญาณภาพ เช่น ไฟสัญญาณ, สัญญาณควัน, โทรเลข, สัญญาณธงและ เครื่องส่งสัญญาณด้วยกระจกสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์ ตัวอย่างอ่ืนๆของก า ร สื่ อ ส า ร โ ท ร ค ม น า ค ม ก่ อ น ช่ ว ง ท่ี ทั น ส มั ย ไ ด่ แ ก่ข้อความเสียงเช่นกลอง, แตรและนกหวีด เทคโนโลยีการส่ือสารโทรคมนาคมด้วยไฟฟ้าและแม่เหล็กไฟฟ้าได้แก่โทรเลข, โทรศพั ทแ์ ละ โทรพิมพ์, เครือข่าย, วทิ ยุ,เครื่องส่งไมโครเวฟ, ใยแก้วนาแสง, ดาวเทียมส่ือสารและอนิ เทอรเ์ น็ต
การใชเ้ ทคโนโลยกี ารส่อื สาร การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ในยุคปัจจุบัน ได้ตะหนักถึง ความสาคัญในการนาเทคโนโลยีคมนาคมและการส่ือสารมาช่วยงานเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพของการดาเนินงาน ซึ้งการประยุกต์เทคโนโลยกี ารสือ่ สารในองคก์ ารมดี ังน้ีโทรสาร (Facsimile หรือ Fax) เป็นการส่งข้อมูล ซึ่งอาจเป็นข้อความที่เขียนขึ้นด้วยมือหรือการพิมพ์รูปภาพ หรือกราฟต่างๆ จากเคร่ืองคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อ่ืนๆ ที่มีอุปกรณ์ท่ีเรียกว่าแฟกซ์-โมเดม็ ไปยงั เคร่ืองรบั โทรสาร
วอยซ์เมล (Voice Mail) เป็นการส่งข้อความเป็นเสียงพูดให้กลายเป็นข้อความอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่ายการสื่อสารข้อความจะถูกบันทึกไว้ในอุปกรณ์บันทึกเสียง เม่ือผู้รับเปิดฟังข้อความดังกล่าวก็จะถูกแปลงกลับไปอยู่ในรูปแบบของเสยี ง พดู ตามเดมิก า ร ป ร ะ ชุ ม ท า ง ไ ก ล อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ( VideoConferencing) เป็นการ สื่อสารข้อมูลโดยการส่งภาพและเสี ยงจากฝ่ายหนึ่งไปยังอีกฝ่ายหน่ึงในการใช้ Video Conferencing จะต้องมีอปุ กรณ์สาหรับการบันทึกภาพและอุปกรณ์บันทึกเสียง โดยท่ีภาพและเสียงท่ีส่งไปน้ันอาจเป็นภาพเคล่ือนไหวท่ีมีเสยี งประกอบได้
การระบตุ าแหนง่ ดว้ ยดาวเทยี ม (Global PositioningSystems : GPSs) เป็นระบบท่ีใชว้ ิเคราะห์และระบุตาแหน่งของคน สัตว์ หรือส่ิงของท่ีเป็นเป้าหมายของระบบ การวเิ คราะห์ตาแหน่งทาได้โดยใช้ดาวเทียมระบุตาแหน่ง ปัจจุบันมีการนาไปใช้ในระบบการเดินเรือเคร่อื งบนิกรุ๊ปแวร์ (groupware) เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่ช่วยสนับสนุนการทางานของกลุ่มบุคคลให้สามารถทางานร่วมกัน การใช้ทรัพยากรและสารสนเทศร่วมกันโดยผ่านระบบเครือขา่ ยการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic FundTransfer : EFT) ปจั จุบนั ผู้ใชส้ ามารถชาระค่าสินค้าและบริการโดยการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ จากบั ญ ชี ธ น า ค า ร ท่ี ใ ห้ บ ริ ก า ร โ อ น เ งิ น อั ต โ น มั ติ ด้ ว ยเทคโนโลยีการสื่อสารท่ีทัน สมัย กิจกรรมท่ีประยุกต์ใช้กนั เป็นประจา ไดแ้ ก่ การโอนเงนิ ผ่านทางตู้ ATM
การแลกเปลี่ยนขอ้ มลู อิเลก็ ทรอนกิ ส(์ Electronic DataInterchange : EDI)เป็นระบบแลกเปล่ียนข้อมูลเชิงทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างองค์การ โดยใช้แบบฟอร์มของเองกสารอิเล็กทรอนิกส์ที่มีรูปแบบมาตรฐานสากล เช่น การส่งใบสั่งสินคา้ ใบสง่ ของ ใบเรียกเกบ็ เงนิโทรศัพท์ (Telephone) จัดเป็นอุปกรณ์ที่นิยมใช้งานมากท่ีสุด และเปล่ียนมาเป็นรูปแบบของระบบดิจิตอลในบางพื้นที่มากข้ึนตามลาดับเพื่อรองรับการส่ือสารข้อมูลความเร็วสูง โดยการใช้บริการโครงข่ายโทรศัพท์เพ่ือการส่ือสารนั้นมีราคาถูกเป็นที่นิยมและสามารถเชอ่ื มตอ่ ไดร้ ะยะไกล
ความน่าเชือ่ ถอื ของระบบเครอื ขา่ ยความถ่ีของความล้มเหลว เครือข่ายทุกระบบมีโอกาสล่มได้เสมอ อย่างไรก็ตามเครือข่ายท่ีได้รับการออกแบบทด่ี ี หากเครือข่ายเกิดข้อขัดข้องหรือล้มเหลวด้วยประการใดก็ตาม ควรส่งผลกระทบต่อผู้ใช้งานให้น้อยท่ีสุดเท่าท่ีเป็นไปได้และหากเครือข่ายมีความถ่ีในการล้มเหลวอยู่บ่อยครั้ง นั่นหมายถึงเครือข่ายนั่นมีความนา่ เช่อื ถอื ตา่ระยะเวลาในการกู้คืน ระยะเวลาในการกู้คืนระบบกรณีเครือข่ายล่มหรือเกิดข้อขัดข้องใด ๆ หากการกู้คืนระบบสามารถแก้ไขได้ดว้ ยระยะเวลาอันสั้น ย่อมดีกวา่การกู้คืนระบบที่ต้องใช้ระยะเวลายาวนาน โดยการกู้คืนหมายถึงการกู้ระบบให้กลับคืนสภาพเดิมที่สามารถใช้งานได้ รวมถึงการกู้คืนข้อมูลกรณีท่ีข้อมูลเกิดความสูญเสียล้มเหลวอยู่บ่อยคร้ังนั่นหมายถึงเครือข่ายน่ันมีความนา่ เชื่อถอื ตา่
ระยะเวลาในการกู้คืน ระยะเวลาในการกู้คืนระบบกรณีเครือข่ายล่มหรือเกิดข้อขัดข้องใด ๆ หากการกู้คืนระบบสามารถแก้ไขไดด้ ว้ ยระยะเวลาอันส้ัน ย่อมดกี ว่าการกู้คืนระบบท่ีต้องใช้ระยะเวลายาวนาน โดยการกู้คืนหมายถึงการกู้ระบบให้กลับคืนสภาพเดิมท่ีสามารถใช้งานได้ รวมถึงการกู้คืนข้อมูลกรณีที่ข้อมูลเกิดความสูญเสียความคงทนต่อข้อผิดพลาด เครือข่ายที่ดจี ะต้องมีระบบปอ้ งกนั ภัยตา่ ง ๆ ทอี่ าจเกดิ ขึ้นจากเหตุการณ์ใด ๆ ท่ีไม่คาดคิดได้เสมอไม่ว่าจะเป็นระบบไฟฟ้า รวมถึงภัยธรรมชาติท่ีไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าได้ ดังน้ันระบบเครือข่ายที่ดีจึงต้องได้รับการออกแบบให้มีระบบสารองข้อมูลท่ีน่าเชื่อถือ รวมถึงอุปกรณ์สาคัญของระบบ หากทางานขัดข้อง อุปกรณ์ตัวแทนสารถทางานแทนไดท้ นั ที เป็นตน้
1.แบบจาลอง OSI Model การเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์เป็นระบบเครือข่ายในยุคแรกจะมลี ักษณะเฉพาะตวั ตาม บรษิ ัทผู้ผลิตอุปกรณ์เครือข่ายนั้นๆ ทาให้เกิดปัญหาความเข้ากันได้ของอุปกรณ์ท่ีผลิตจากต่างบริษัทกัน ดังนั้นหน่วยงานมาตรฐานสากล (International Organization forStandardization) หรือ ISO จึงได้กาหนดโครงสร้างมาตรฐานในการรับ-ส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใ ห้ เ ป็ น แ บ บ เ ดี ย ว เ พื่ อ ใ ห้ ใ ช้ ง า น ร่ ว ม กั น ไ ด้เรียกว่า แบบจาลอง OSI Model (Open SystemsInterconnection model) เพื่อใชเ้ ปน็ แบบอา้ งอิงในการผลิต ทาให้อุปกรณ์เครือข่ายต่างบริษัทกันสามารถใช้งานร่วมกันได้โดยไม่มีปัญหา แบบจาลอง OSIModel จะแบ่งการเช่ือมต่อในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ออกเปน็ ชั้นยอ่ ยๆ จานวน 7 ช้นั (Layer) ดังรูป
1.1 Application Layer ทาหน้าท่ีในการเช่ือมต่อข้อมูลระหว่างผู้ใช้งานกับโปรแกรมใช้งาน โดยจะแบ่งคาส่ังต่างๆ ที่ผู้ใช้กาหนดผ่านทางเมนู หรือการคลิกเมาส์ ส่งให้โปรแกรมใช้งาน ซึ่งโปรแกรมใช้งานจะไปเรยี กฟงั กช์ นั ท่ใี หบ้ ริการจากระบบปฏบิ ัตกิ ารอกี ตอ่ หนึ่งดังนั้นคาสั่งหรือข้อมูลที่ผู้ใช้ส่งมาให้จะต้องถูกต้องตามกฎเกณฑ์ของระบบปฏิบัติการนั้นๆ หากมีข้อผิดพลาดฟงั ก์ชั่นที่เรียกใช้งานก็จะแจ้งกลับมายังโปรแกรม และโปรแกรมใช้งานก็จะแสดงข้อความการผิดพลาดให้กับผู้ใช้อีกต่อหน่ึง ลักษณะการทางานส่วนใหญ่ในช้ันน้ีได้แก่ การระบุตาแหน่งของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ปลายทาง การกาหนดลิทธิ ในการเข้าถึงข้อมูลตัวอย่างเช่น การเข้าใช้งานในระบบ E-Mail การถ่ายโอนไฟล์ในเครือข่าย
1.2 Presentation Layer เป็นชนั้ ที่ทาหน้าที่เป็นส่วนติดต่อระหว่างช้ัน Application และ Sessionให้เข้าใจกัน โดยจะเป็นการสร้างขบวนการย่อยๆในการทางานระหว่างกัน และ จัดรูปแบบการนาเสนอข้อมูลในการสื่อสารให้เข้าใจกันได้ เช่น การแปลงรหัสข้อมูล การเข้ารหัส (Encrypt) และ ถอดรหัสข้อมูล(Decrypt) 1.3 Session Layer เป็นช้ันท่ีทาหน้าที่สร้างส่วนติดตอ่ (Session) ในการส่ือสารข้อมูล โดยกาหนดจังหวะในการรับ-ส่งข้อมูลว่าจะทางานในแบบผลัดกันส่ง (Half Duplex)หรือ ส่งรับพร้อมกัน (Full Duplex)โดยจะสร้างเป็นสว่ นของชุดขอ้ มลู โตต้ อบกนั 1.4 Transport Layer ทาหน้าท่ีแบ่งข้อมูลท่ีมีขนาดใหญ่เกินมาตรฐานการรับ-ส่ง ออกเป็นส่วนย่อยๆใหเ้ หมาะสมกับการทางานทางฮาร์ดแวร์ของอุปกรณ์ในระบบเครือขา่ ยตามมาตรฐานท่ีใช้งาน
1.5 Network Layer ทาหน้าที่เชือ่ มต่อและกาหนดเส้นทางในการรับส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายโดยจะนาข้อมูลในชั้นบนที่ส่งมาในรูปของ Packageหรือ Frame ซงึ่ มเี พียงแอดเดรสของผูร้ ับ – ผสู้ ่ง ลาดับการรับ – ส่งข้อมูล และส่วนของข้อมูล นอกจากนี้ยังทาหน้าท่ีในการสถาการเช่ือมต่อในคร้ังแรก (CallSetup) และ การยกเลกิ การตดิ ต่อ (Call Clearing) 1.6 Data Link Layer ทาหนา้ ทใ่ี นการจดั เตรียมข้ อ มู ล ใ น ก า ร เ ช่ื อ ม ต่ อ ใ ห้ กั บ อุ ป ก ร ณ์ ท า ง ฮ า ร์ ด แ ว ร์โดยหลังจากท่ีได้รับข้อมูลจากช้ัน Network Layerท่ีกาหนดเส้นทางในการติดต่อมาให้ ก็จะทาการสร้างคาสั่งท่ีจะใช้ควบคุมฮาร์ดแวร์ในการติดต่อ และทาการตรวจสอบขอ้ ผิดพลาดในการรบั -ส่งข้อมูล เพ่ือให้ข้อมูลที่รับ-ส่งกันตรงกับมาตรฐานการรับ-ส่งข้อมูลในระดับฮาร์ดแวร์ เช่น มาตรฐานอีเธอร์เน็ต (Ethernet)มาตรฐานโทเคน็ ริง (Token Ring) ฯลฯ
1.7 Physical Layer เป็นชัน้ ล่างสุดของแบบจาลอง OSI Model และเป็นชนั้ ท่ีมีการเชื่อมต่อจริงทางกายภาพ ในช้ันน้ีจะเป็นส่วนท่ีใช้กาหนดคุณสมบัติทางกายภาพของอุปกรณ์ที่จะนามาเชื่อมต่อกัน เช่น จะใช้ขั้วต่อสัญญาณแบบใด ใช้การรับ-ส่งข้อมูลแบบใด ความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูลที่จะใช้เป็นเท่าใด ข้อมูลในชน้ั น้ีจะอยู่ในรูปของสัญญาณทางไฟฟ้าแบบดิจิตอลคอื มรี ะดบั สญั ญาณ 0 หรอื 1 หากมีปัญหาในการรับ-สง่ ข้อมลู ทางฮารด์ แวร์ เช่น สายรับ-ส่งข้อมูลขาด หรือ อุปกรณ์ในเครือข่ายชารุดเสียหาย ก็จาทาการตรวจสอบและส่งข้อมูล ความผิดพลาดไปให้ช้ันอน่ื ๆ ทีอ่ ยเู่ หนอื ขน้ึ ไปรบั ทราบ
จดั ทาโดยนางสาวภัทรวรนิ ทร์ ย้ิมนาโพธิ์ ปวส. 2 คอมพิวเตอร์ธรุ กจิ หอ้ ง 1 เลขที่ 28
Search
Read the Text Version
- 1 - 29
Pages: