Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เตรียมความพร้อมก่อนสอบ1

เตรียมความพร้อมก่อนสอบ1

Published by Narumon Nonrucha, 2021-08-13 08:24:31

Description: เตรียมความพร้อมก่อนสอบ1

Search

Read the Text Version

เตรยี มความพร้อมก่อนสอบ วิชาภาษาไทย ครนู ฤมล นนลอื ชา

เรื่องที่ 1 เสียงและอกั ษรไทย

เสียง ๑. พยัญชนะ เสยี งพยญั ชนะ เรยี กอีกชือ่ ว่า เสยี งแปร ลกั ษณะของเสยี งพยัญชนะ คอื ออกเสยี งไดด้ งั ยาวนานไมไ่ ด้ เนอ่ื งจากมีการกดี กักลมในชอ่ งปากโดยถกู สกัดก้ันจากอวัยวะสว่ นหน่ึง ทาให้เสยี งตา่ งกันออกไปตามอวัยวะทม่ี าสกดั กนั้ ไมเ่ หมอื นการออก เสยี งสระทีอ่ อกเสยี งไดด้ งั ยาวนาน - เสียงพยญั ชนะท่ปี รากฏต้นคา โดยนาหน้าเสยี งสระ เรียกว่า พยัญชนะตน้ (พยญั ชนะตน้ เดยี่ ว, พยญั ชนะตน้ คู่) - เสียงพยัญชนะทป่ี รากฏหลงั คา โดยอยู่หลงั สระ เรียกว่า พยญั ชนะท้ายหรอื ตวั สะกด



เสยี ง พยญั ชนะตน้ คู่ มี ๑๕ รปู ๑๑ เสียง เสยี ง พยญั ชนะตน้ ควบ ร ควบ ล ควบ ว รวม เสยี ง /ก/ ก กร กล กว ๓ /ค/ ข ขร ขล ขว ๓ ค คร คล คว ปร /ป/ ป พร ปล - ๒ - พล - ๑ /พ/ พ ตร ผล - ๑ ผ - -๑ /ต/ ต

เสยี ง พยญั ชนะทา้ ย มาตรา เสยี งพยัญชนะทา้ ยหรือเสียงตัวสะกด มีทัง้ หมด ๙ มาตรา ๘ เสียง อักษรทเี่ ปน็ ตัวสะกด ก กา กก เสยี ง ตามมาตรา ไม่ตามมาตรา ลักษณะพยางค์ คาเป็น/คาตาย กบ กด -- - พยางคเ์ ปดิ สระเสยี งสนั้ = คาตาย กน กม สระเสยี งยาว = คาเป็น เกย เกอว /ก/ ก ข ค ฆ กง /ป/ บ ป พ ฟ ภ คาตาย จฉชซฎฏฐฒ /ต/ ด ฑตถทธศษส /น/ น ญณรลฬ พยางคป์ ดิ /ม/ ม (รวมสระอาด้วย) - คาเป็น /ย/ ย (รวมสระเอาด้วย) - /ว/ ว (รวมสระอาด้วย) - ***อักษรที่เปน็ ตัวสะกดไม่ได้ ผ ฝ ฌ อ ห ฉ ฮ /ง/ ง - ผฝี าก เฌอ เอม ให้ ฉนั ฮะ และ ฃ ฅ ยกเลกิ ไมใ่ ชแ้ ลว้

เสยี ง ๒. สระ สระเรยี กอกี ชื่อว่า เสยี งแท้ มีลกั ษณะเสยี งตรงขา้ มกบั พยญั ชนะคอื ออกเสียงไดด้ ังยาวนาน เพราะเม่ือออกเสยี งสระ ไมม่ กี ารกีดกกั ลมที่ตาแหน่งใด ๆ ในช่องปากเลย ลมจะผ่านปอด ผ่านชอ่ งปากออกมาไดเ้ รอ่ื ย ๆ ไม่ติดขัด จนกว่า ผพู้ ูดจะขยบั ล้ินและรมิ ฝปี ากเพอ่ื ออกเสียงอนื่ ต่อไป สระในภาษาไทยมีทงั้ หมด ๒๑ เสยี ง แบ่งออกเปน็ สระเด่ยี ว ๑๘ เสียง สระ ประสม ๓ เสยี ง

๒. สระ มี ๒๑ เสียง เสียง สระเด่ยี ว ๑๘ เสยี ง เสยี งสัน้ ๙ เสยี ง เสียงยาว ๙ เสียง สระ สระเสยี งสั้น สระ สระเสยี งยาว ๑) -ะ อะ ๒) -า อา ๓) อ- ิ อิ ๔) อ- ี อี อู ๕) อ-ุ อุ ๖) อ-ู ๗) อ-ึ อึ ๘) อ- ื อื

๒. สระ มี ๒๑ เสียง เสียง สระเด่ยี ว ๑๘ เสยี ง เสยี งส้นั ๙ เสียงยาว ๙ สระ สระเสยี งส้นั สระ สระเสยี งยาว ๙) เ-ะ เอะ ๑๐) เ- เอ แอ ๑๑) แ-ะ แอะ ๑๒) แ- เออ โอ ๑๓) เ-อะ เออะ ๑๔) เ-อ ออ ๑๕) โ-ะ โอะ ๑๖) โ- ๑๗) เ-าะ เอาะ ๑๘) -อ

๒. สระ มี ๒๑ เสียง เกดิ จาก เสยี ง สระประสม ๓ เสียง อี + อา จางา่ ย ๆ สระประสม เสย่ี เช่ือ อ๊ัว สระ อื + อา ***สระประสมเสียงสน้ั ปัจจุบนั ไมจ่ ดั เปน็ สระ เอีย อู + อา ประสม เพราะจะออกเสยี งเป็นสระสั้นหรอื สระยาว ความหมายของคาก็ไมเ่ ปลย่ี น เช่น เออื เพยี ะ ในการเขียนหรือการพูดจะนยิ มใช้รูป อัว สระประสมเสยี งยาวมากกว่าสระประสม เสยี งสน้ั

เสียง ๓. วรรณยุกต์ วรรณยุกต์ เรียกอีกชือ่ วา่ เสยี งดนตรี มี ๔ รูป ๕ เสยี ง คือ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา นกั ภาษาศาสตร์ไดแ้ ยกเสียงวรรณยกุ ต์ ๕ เสียงนี้ออกเปน็ ๒ พวก คือ ๑. ระดบั เสยี งคอ่ นข้างคงที่ตลอดทง้ั พยางค์ เรยี กวา่ วรรณยกุ ตร์ ะดบั ไดแ้ ก่ สามญั (ระดบั กลาง ๆ) เอก (ระดับตา่ ) และตรี (ระดบั สูง) ๒. ระดับเสยี งไม่คงท่ีตลอดทั้งพยางค์ เรยี กว่า วรรณยุกตเ์ ปล่ียนระดบั ได้แก่ โท (สงู ลงมาตา่ ) จตั วา (ต่าไปสูง)

อวยั วะที่ใชใ้ นการออกเสียง ปมุ่ เหงอื ก ช่องจมูก เพดานแข็ง รมิ ฝปี าก เพดานอ่อน ฟนั ลิ้นไก่ ชอ่ งคอ รมิ ฝปี าก แผ่นเนอื้ ปากหลอดลม ปลายล้ิน ลน้ิ สว่ นปลาย หลอดลม ลิ้นสว่ นหน้า ลนิ้ ส่วนหลัง เส้นเสยี ง

เรื่องท่ี 2 คานมสั การมาตาปติ ุคณุ คานมัสการพระอาจรยิ คณุ

คานมสั การมาตาปติ คุ ณุ และคานมสั การพระอาจริยคณุ เปน็ ผลงานการประพนั ธข์ องพระยาศรสี ุนทรโวหาร (นอ้ ย อาจารยางกรู ) ลกั ษณะคาประพนั ธ์ อินทรวเิ ชียรฉนั ท์ ๑๑ คานมสั การมาตาปิตุคุณ กลา่ วถึง มารดาบดิ าเป็นผ้มู ีพระคณุ แกเ่ ราเพราเป็นผู้ให้กาเนิดและเล้ยี งดเู รา โดยไมห่ วังผลตอบแทน คานมสั การอาจริยคุณ เนือ่ งด้วยครูอาจารย์เปน็ ผูม้ พี ระคุณแกเ่ ราเพราะเป็นผ้อู บรมสัง่ สอนและ ถ่ายทอดวชิ าความรู้ใหแ้ ก่เรา

วธิ สี ังเกตคาครุ คาลหุ คาครุ (อา่ นว่า คะ-รุ) คอื พยางค์ทอี่ อกเสยี งหนกั มวี ธิ ีการสังเกตดงั นี้ 1. พยางคท์ ม่ี ีมาตราตวั สะกดในทุกมาตรา (ได้แก่ แม่ กก กด กบ กง กน กม เกย และเกอว) เชน่ ไม้บรรทัด ขา้ วของ เล็กนอ้ ย 2. พยางค์ทป่ี ระสมด้วยสระเสียงยาวเทา่ นน้ั ไม่มีตัวสะกดกไ็ ด้ เช่น เวลา วารี ศาลา 3. พยางค์ท่ปี ระสมดว้ ย อา ไอ ใอ เอา จัดเปน็ คาครุเพราะมตี ัวสะกด เช่น ดา ให้ เขา คาลหุ (อา่ นวา่ ละ-ห)ุ คอื พยางค์ทอ่ี อกเสยี งเบา มีวธิ ีการสงั เกตดงั น้ี 1. พยางคท์ ี่ไมม่ เี สยี งพยัญชนะสะกด 2. พยางคท์ ป่ี ระสมด้วยสระเสยี งสั้นเทา่ นัน้ เช่น แพะ แกะ นะคะ ชชิ ะ 3. รวมถึง บ่ ณ ธ ก็ เพราะเป็นพยางคท์ ี่ออกเสยี งสน้ั และไมม่ เี สยี งพยัญชนะสะกด

ตัวอยา่ ง แม่รักลูกนะคะ กรงุ เทพมหานคร ลหุ ครุ ครุ ลหุ ลหุ ครุ ครุ ลหุ ลหุ ลหุ ครุ อยากไปเทยี่ วทะเลจงั วชิ าภาษาไทย ครุ ลหุ ครุ ลหุ ลหุ ครุ ลหุ ลหุ ลหุ ลหุ ครุ

เรอื่ งท่ี 3 นิทานเวตาล

ความเป็นมา นทิ านเวตาล ฉบบั นิพนธ์ พระราชวงศเ์ ธอ กรมหม่ืนพิทยาลงกรณ มีทม่ี าจาก วรรณกรรมสันสกฤตของอนิ เดีย โดยมีช่อื เดิมว่า “เวตาลปญั จวงิ ศติ” ประวตั ิผแู้ ตง่ พระราชวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ ใช้นามแฝงวา่ “น.ม.ส.” ซง่ึ ทรงเลือกจาก ตัวอักษรตัวหลงั พยางค์ของพระนาม (พระองค์เจ้า) “รชั นีแจม่ จรัส” ลกั ษณะคาประพนั ธ์ นิทานเวตาล แต่งเปน็ รอ้ ยแก้ว และไดร้ ับยกย่องเปน็ สานวนร้อยแกว้ ที่ใหม่ที่สุดในยุค นัน้ เรยี กวา่ “สานวน น.ม.ส.”

เรอ่ื งท่ี 4 การสอ่ื สาร (การฟงั และการดู)

ความสาคัญของการสอื่ สาร 1. การสือ่ สารเปน็ ปัจจยั สาคัญในการดารงชีวิตของมนุษย์ทกุ เพศ ทุกวยั ไม่มใี ครที่จะดารงชวี ิตไดโ้ ดย ปราศจากการสอ่ื สาร ทุกสาขาอาชีพกต็ ้องใชก้ ารสื่อสารในการปฏบิ ัติงาน 2. การสื่อสารกอ่ ใหเ้ กิดการประสานสัมพนั ธ์กนั ระหว่างบคุ คลและสงั คมชว่ ยเสริมสร้างความเข้าใจอนั ดรี ะหว่าง คนในสังคมช่วยสบื ทอดวฒั นธรรมประเพณี สะท้อนให้เห็นภาพความเจรญิ รุ่งเรือง วถิ ชี ีวิตของผูค้ น ชว่ ย ธารงสงั คมใหอ้ ยู่รว่ มกนั เป็นปกติสขุ และอยู่ร่วมกันอยา่ งสนั ติ 3. การสือ่ สารเปน็ ปัจจยั สาคัญในการพฒั นาความเจรญิ ก้าวหนา้ ท้ังตวั บคุ คลและสังคมการสือ่ สารเป็นเครือ่ งมือ ในการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตของมนษุ ยแ์ ละพัฒนาความเจริญก้าวหนา้ ในดา้ นต่าง ๆ

องค์ประกอบหลกั ในการส่อื สาร 1. ผสู้ ่งสาร หมายถงึ บุคคล หรือหนว่ ยงานที่เป็นผ้สู รา้ งสาร แล้วส่งสารไปยงั บคุ คลอน่ื หรือไปยัง หนว่ ยงานอื่นด้วยวิธใี ดวธิ ีการหนึ่ง หรือ อาจหลายวิธี เชน่ การพูด การเขียน การแสดงท่าทาง 2. สาร หมายถึง เรอื่ งราวหรือส่ิงต่างๆทอี่ าจอยู่ในรปู ของขอ้ มลู ความรู้ ความคิด ความรู้สกึ ที่ผสู้ ่งสารตอ้ งการสง่ ไปให้ผู้อ่นื ได้รับ และเกดิ การตอบสนอง 2.1 รหัสสาร ไดแ้ ก่ ภาษา สญั ลักษณ์ หรือสัญญาณที่มนษุ ยใ์ ชเ้ พื่อแสดงออกแทนความรู้ ความคิด อารมณ์ หรือความรสู้ กึ ตา่ ง ๆ 2.2 เนอื้ หาของสาร หมายถึง บรรดาความรู้ ความคดิ และประสบการณท์ ผี่ ูส้ ง่ สารต้องการจะ ถ่ายทอดเพอื่ การรบั รู้ร่วมกัน แลกเปลย่ี นเพอื่ ความเข้าใจร่วมกันหรือโตต้ อบกนั 2.3 การจัดสาร หมายถึง การรวบรวมเนอ้ื หาของสาร แลว้ นามาเรยี บเรียงให้เปน็ ไปอย่างมี ระบบเพอ่ื ใหไ้ ดใ้ จความตามเนื้อหา ท่ตี อ้ งการดว้ ยการเลอื ก ใช้รหัสสารทเี่ หมาะสม

3. สื่อและชอ่ งทาง คือ สง่ิ ท่ีเปน็ ตัวกลางทาใหส้ ารเคลอ่ื นตวั ออกไปจากผู้ส่งสาร มีท้งั สอื่ ที่อย่ตู ามธรรมชาติ เช่น อากาศ คล่นื แสง คลน่ื เสียง และส่ือทม่ี นุษยท์ าข้ึนหรอื ผลิตขึ้น เช่น โทรศัพท์ หนังสอื นิตยสาร facebook LINE IG twitter 4. ผูร้ ับสาร หมายถึง จดุ หมายปลายทางทสี่ ารจะสง่ ไปถงึ ผู้รบั สารอาจเป็นบคุ คลเดียว หรอื เป็นกลมุ่ กไ็ ด้ และแสดงปฏกิ ริ ยิ าตอบกลับต่อผ้สู ่งสาร **ข้อควรพิจารณาถงึ คณุ สมบัติของผ้รู บั ได้แก่ วัยของผ้รู บั เพศ การศกึ ษา ฐานะทางสงั คม และเศรษฐกจิ บรเิ วณท่อี ยู่อาศัย ศาสนา เชือ้ ชาติ และภาษาท่แี ตกต่างกันไป

หลักการฟงั และการดทู ี่ดี 1. ฟังและดูให้ตรงจดุ ประสงค์ จะทาใหผ้ รู้ ับสารรจู้ กั เลอื กฟงั หรือดูในส่ิงที่ต้องการและทาให้ตง้ั ใจรบั สาร เพ่อื ให้ได้ประโยชน์ตามจุดมุง่ หมายท่ี 2. ฟังและดูด้วยความพร้อม คือ ตอ้ งมคี วามพร้อมท้ังทางรา่ งกาย จติ ใจ และสติปญั ญา 3. ฟงั และดอู ยา่ งมีสมาธิ คือ มคี วามตง้ั ใจ จดจอ่ อยกู่ ับเรอ่ื งที่ฟงั หรอื ดู ไม่ฟงุ้ ซ่านหรอื คดิ ถึงเร่ืองอ่นื 4. ฟงั และดดู ้วยความกระตือรอื รน้ คอื มีความสนใจ เหน็ ประโยชน์หรอื คณุ ค่าของเรอ่ื งท่ีฟังหรือดู 5. ฟังและดูโดยไมม่ อี คติ คอื ไม่มคี วามลาเอยี ง ซ่ึงความลาเอียงเกิดจากความรกั ความโกรธ ความหลง 6. ฟังและดโู ดยใชว้ ิจารณญาณ จะนาสิ่งท่ีฟงั หรือดมู าประเมนิ วา่ มีประโยชนห์ รือนา่ เชอ่ื ถือมาก น้อยแค่ไหน

สารประเภทตา่ งๆ 1. สารที่ใหค้ วามรู้ มที ัง้ ความร้ทู ว่ั ไปทีไ่ ดย้ ินไดเ้ ห็นในชีวติ ประจาวัน การทางานจาก บคุ คลรอบขา้ ง ข่าวสาร สารคดี บทวิเคราะห์ข่าว 2. สารท่ใี ห้ความบนั เทิง จะไมเ่ นน้ ที่ความสาคญั ของเนื้อหาสาระ จะเนน้ ทคี่ วาม สนุกสนาน เพลดิ เพลินแกผ่ รู้ บั สาร 3. สารท่ีให้ความจรรโลงใจ ก่อให้เกิดสติปัญญา หรอื ช่วยยกระดบั จิตใจของผู้รับสาร ใหส้ งู ขน้ึ ผ้รู บั สารต้องมีวิจารณญาณท่ีเชอื่ หรือปฏบิ ัติในส่ิงท่ถี ูกต้อง 4. สารท่โี น้มน้าวใจ จะออกมาในลกั ษณะชกั ชวนให้เหน็ ดีเหน็ งามหรอื ให้โอนอ่อนตาม ให้เชอื่ หรอื ปฏิบตั ิตามในส่งิ ท่ีผู้ส่งสารต้องการ ผ้ฟู ังหรอื ผู้ดสู ารต้องมวี จิ ารณญาณใหร้ อบคอบ เช่น การดูโฆษณาสนิ ค้า

นกั เรียนสามารถศึกษาเน้อื หาไดจ้ ากคลิปนะคะ