“...พอเพียง มคี วามหมายกวา้ งขวางยง่ิ กว่าน้ีอกี คอื คำาว่าพอ กพ็ อเพยี งน้กี ็พอแค่น้ันเอง คนเราถา้ พอในความต้องการกม็ คี วามโลภน้อย เม่ือมีความโลภน้อยกเ็ บยี ดเบียนคนอน่ื นอ้ ย ถา้ ประเทศใดมีความคิดอนั นี้ มีความคิดวา่ ทาำ อะไรต้องพอเพยี ง หมายความวา่ พอประมาณ ซือ่ ตรง ไมโ่ ลภอยา่ งมาก คนเรากอ็ ยู่เปน็ สขุ พอเพยี งนอี้ าจมีมากอาจจะมีของหรูหรากไ็ ด้ แต่วา่ ต้องไมเ่ บียดเบยี นคนอ่นื ...” พระราชดาำ รสั เน่อื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลยั วนั ท่ี 4 ธนั วาคม 2551
คำ� น�ำ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไดจ้ ดั ทำ� หนงั สอื “๑๒๒ อาชพี เกษตรกรรม ทางเลอื ก” เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ในการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรมท่ี เหมาะสมในการดำ� เนนิ ชวี ติ และการพง่ึ พาตนเองตามแนวทางปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ซึ่งกองนโยบายเทคโนโลยีเพ่ือการเกษตรและเกษตรกรรมย่ังยืน สำ� นกั งานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไดด้ ำ� เนนิ การปรบั ปรงุ และจำ� แนก เนอ้ื หาในแต่ละอาชพี เพือ่ เผยแพร่ให้เกษตรกรและผู้ทส่ี นใจใช้เปน็ แนวทางใน การประกอบอาชพี ประกอบด้วย ทางเลอื กอาชพี ด้านการผลิตอาหารสตั ว์ ทางเลือกอาชีพด้านประมง ทางเลือกอาชีพด้านปศุสัตว์ ทางเลือกอาชีพ ด้านพืช ทางเลอื กอาชีพด้านการแปรรปู อาหาร ทางเลอื กอาชพี ด้านการผลติ อาหารสัตว์ ทางเลือกอาชีพด้านหม่อนไหม ทางเลือกอาชีพด้านการแปรรูป ผลิตภัณฑ์อืน่ ๆ และทางเลือกอาชีพสมุนไพรไทย ผลติ ภณั ฑ์ทางการเกษตรของไทยนนั้ มมี ากมายหลายชนดิ ทส่ี ามารถนำ� มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อย่างอื่นได้ เพ่ือใช้ประโยชน์ทางด้านอื่นๆ และยัง สามารถสร้างมูลค่าให้แก่ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและน�ำไปเป็นสินค้าเพ่ือ การจำ� หน่ายได้อกี ด้วย การจดั ทำ� หนงั สอื “ทางเลอื กอาชพี ดา้ นการแปรรปู ผลิตภัณฑ์อ่ืนๆ” เป็นการรวบรวมความรู้และข้อมูลเชิงวิชาการท่ีจ�ำเป็นใน การทำ� ผลติ ภณั ฑจ์ ากผลผลติ ทางการเกษตร อาทิ การผลติ กระดาษใยสบั ปะรด ปอสา การผลติ ผ้าทอมอื การผลติ หัตถกรรมจากผักตบชวา การผลิตน�ำ้ สกัด ชีวภาพ การผลิตน้�ำส้มควันไม้ เป็นต้น ส�ำหรับเผยแพร่ให้แก่เกษตรกรและ ผู้ทสี่ นใจได้นำ� ไปประยกุ ต์ใช้ให้เหมาะสม เพอ่ื เสรมิ สร้างความมน่ั คงทางอาชพี และรายได้ต่อไป ในการจดั ทำ� หนงั สอื “ทางเลอื กอาชพี ดา้ นการแปรรปู ผลติ ภณั ฑอ์ น่ื ๆ” เล่มนี้ ได้รับ ความอนุเคราะห์ข้อมูลเป็นอย่างดีจากหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ซึ่งกองนโยบายเทคโนโลยีเพ่ือการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน ส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ขอขอบคุณมา ณ โอกาสน้ีด้วย กองนโยบายเทคโนโลยเี พอ่ื การเกษตรและเกษตรกรรมย่งั ยนื มนี าคม 2556
สาสราบรัญบญั การผลติ กระดาษใยสับปะรด, ปอสา และผลติ ภัณฑ ์ 4 การผลติ ผา้ ทอมือและผลิตภณั ฑ ์ 8 การผลติ หตั ถกรรมจากผกั ตบชวา 14 ธุรกจิ โรงสีข้าวขนาดเล็ก (แปรรูปข้าวเปลอื กเปน็ ขา้ วสาร) 19 การผลิตนำ้� สกดั ชีวภาพ 23 การผลติ น�้ำสม้ ควนั ไม้ 27 การผลติ สารบำ� บดั นำ้� เสีย 33 การผลิตนำ้� มะพร้าวบริสุทธ ์ิ 36 sContent
การผลติ กระดาษใยสบั ปะรด, ปอสา, และผลติ ภณั ฑ์ เป็นทท่ี ราบกนั ดีว่าวัตถุดบิ หลักในการท�ำกระดาษ คือ ต้นไม้ และ ใยพชื ปจั จบุ นั วตั ถดุ บิ เหล่านล้ี ดนอ้ ยถอยลง ฉะนนั้ ในปหี นง่ึ ๆ รฐั จะต้อง สญู เสยี เงนิ ตราเปน็ จำ� นวนมากเพอ่ื ซอื้ เยอ่ื กระดาษจากต่างประเทศมา เป็นวัตถุดิบในการผลิตกระดาษใยสับปะรดและปอสา เป็นวัตถุดิบอีก ทางเลือกหน่ึงที่สามารถพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเป็นกระดาษที่มี คุณภาพสูง และกำ� ลังเป็นทส่ี นใจของตลาดท้งั ในและต่างประเทศ ด้วยคุณสมบัติพิเศษที่มีอยู่ในสับปะรดและปอสา จึงสามารถน�ำ มาผลติ เปน็ กระดาษไดอ้ ย่างดที งั้ ระบบอตุ สาหกรรมและระดบั ครวั เรอื น ประกอบกบั พน้ื ทกี่ ารเกษตรของประเทศไทยเปน็ พน้ื ทปี่ ลกู สบั ปะรดถงึ กว่า 1 ล้านไร่ กระจายอยู่ทุกภาคของประเทศ พื้นท่ีเก็บเกี่ยวกว่า 6 แสนไร่ ให้ผลผลติ ประมาณ 2 ล้านตนั ด้วยเหตดุ ังกล่าว ใยสับปะรด 4 ทางเลอื กอาชีพดา้ นแปรรูปผลิตภัณฑ์อืน่ ๆ
ทเี่ ปน็ วสั ดเุ หลอื ใช้จำ� นวนมากนสี้ ามารถนำ� มาผลติ เปน็ กระดาษรวมทงั้ สามารถเพ่ิมมูลค่าผลิตภัณฑ์ได้หลากหลาย อาทิ ประดิษฐ์เครื่องใช้ เครอื่ งตกแต่งบ้านเรอื น ส�ำนกั งาน วสั ดุ เครอ่ื งเขยี น เครอ่ื งใช้ ของท่ี ระลึก เป็นต้น การพฒั นาเทคโนโลยกี ารผลติ กระดาษใยสบั ปะรดและปอสาให้มี ประสทิ ธภิ าพสงู ขนึ้ และสามารถนำ� มาทำ� ผลติ ภณั ฑห์ ลากหลายรปู แบบ ให้ตรงตามความต้องการของตลาดสามารถสร้างความม่ันคงด้าน เศรษฐกิจและสงั คมได้อย่างย่ังยืน ปจั จยั ที่จำ� เป็นต้องใช้ อุปกรณก์ ารผลิตตอ่ 1 ชุด 1. บ่อซีเมนต์ขนาด 45 x 60 นิ้ว 2 บ่อ 4,000 บาท 2. เตา+เชอ้ื เพลงิ 2 ชดุ 4,000 บาท 3. เคร่ืองป่ันเย่ือกระดาษ 1 เครอื่ ง 3,500 บาท 4. กะละมังสแตนเลสขนาด 45 นิ้ว 1 ใบ 900 บาท 5. แผ่นตะแกรง 50 แผ่น 7,500 บาท 6. กระทะเหลก็ 60 นวิ้ 1 ใบ 800 บาท 7. สารฟอกขาว 20 กโิ ลกรัม 1,300 บาท 8. สีย้อมกระดาษ 10 กล่อง 1,500 บาท 9. โซดาไฟ 20 กิโลกรัม 1,000 บาท 10. อุปกรณ์การท�ำสิ่งประดิษฐ์ 1 ชุด 10,000 บาท หมายเหตุ : พัฒนาทกั ษะการผลติ กระดาษใยสบั ปะรด/ปอสา ทางเลอื กอาชพี ดา้ นแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์อน่ื ๆ 5
การพฒั นาทักษะการผลติ กระดาษใยสับปะรด/ปอสา 1. ภาคทฤษฎี การฟอก การย้อมสี ผลติ เย่อื กระดาษ 2. ฝึกปฏิบตั ิการย้อมฟอกสี ทำ� แผ่นกระดาษ 3. การถ่ายทอดเทคโนโลยีกระดาษใยสับปะรดและปอสา ระยะ เวลาฝึกอบรม 5 วนั (ทฤษฎีและปฏิบัต)ิ 1) กระบวนการฟอกย้อม 2) การท�ำเยื่อกระดาษ 3) การท�ำแผ่นกระดาษ 4) การท�ำผลติ ภัณฑ์กระดาษ วธิ ีท�ำ 1. ท�ำความสะอาดใบสบั ปะรด หนั่ ตามขวางของใบ 2. นำ� ใบสบั ปะรดจำ� นวน 300 กรมั โซดาไฟ 40-60 กรมั นำ�้ สะอาด 1 ลิตร ใส่หม้อเคลอื บ เทน้�ำต้มออก ใช้นำ้� สะอาดล้างใบสบั ปะรด 2-3 คร้ัง 3. น�ำเศษกระดาษจำ� นวน 30 กรัม แช่น้�ำสะอาดพอท่วม แล้วนำ� ไปปั่นจะละเอยี ด 4. นำ� คลอรนี 2 กรมั ละลายนำ้� สะอาดใสใ่ นใบสบั ปะรดทตี่ ม้ โซดาไฟ แล้วแช่ท้ิงไว้ 15 นาที (เพือ่ ฟอกขาวใยสบั ปะรด) 5. นำ� กระดาษปั่นผสมกับใยสบั ปะรด เทใส่กะละมังใบใหญ่ทมี่ ีนำ�้ 18 ลิตร หากต้องการสนี �ำลงผสมในกะละมงั คนให้เข้ากัน ใช้ตะแกรง ร่อนให้เป็นแผ่นเรียบเสมอกัน ความหนา ความบาง ตามต้องการ น�ำไปตากแดด พอแห้งแกะออกจากตะแกรง น�ำไปแปรรูปได้หลาย รปู แบบ 6 ทางเลือกอาชพี ด้านแปรรูปผลติ ภณั ฑ์อน่ื ๆ
ผลผลิต ตลาดและผลตอบแทน รายการลงทุน มูลค่าการลงทุน ปริมาณผลผลติ มูลคา่ ผลผลติ ผลกำ� ไร หมายเหตุ (บาท) (บาท) (บาท) - ปรบั ปรงุ โรงเรอื น 9,000 - บ่อบำ� บดั นำ้� เสีย 1. โรงเรือนการผลติ 100,000 ปรบั ปรงุ โรงเรือน 4,000 - ท่อระบายน�ำ้ 7,000 2. อุปกรณ์การผลิต 113,000 100 แผ่น 5,000 ราคาไม่รวม 3. วตั ถุดบิ กระดาษ 6,000 4,000 ค่าแรง และ ทางเลอื กอาชพี ด้านแปรรปู ผลติ ภัณฑอ์ ่นื ๆ 7 สีต่างๆ 2,000 100 แผ่น 15,000 4,000 ค่าวัสดคุ งที่ - กระดาษชนดิ หนา 5,000 100 แผ่น 6,000 7,000 - กระดาษชนิดบาง 7,000 100 กล่อง 12,000 5,000 - กลอ่ งรปู แบบต่างๆ 3,000 100 ช้ิน 12,000 - กรอบรปู ชนดิ ตา่ งๆ 5,000 100 เล่ม 7,000 - สมุดโน้ต/บันทึก 5,000 50 เล่ม 9,000 - อลั บม้ั เกบ็ ภาพ 7,000 50 อนั 2,000 - โคมไฟ 50 ชุด 12,000 - ชุดโต๊ะอาหาร
การผลติ ผา้ ทอมอื และผลติ ภัณฑ์ ผ้าทอและผลิตภัณฑ์ ผ้าทอเป็นอาชีพส�ำคัญรอง ลงมาจากอาชีพการเกษตรมาช้านาน ผ้ามีความ จ�ำเป็นต่อวิถีชีวิตประจ�ำวันของมนุษย์ ปจั จบุ นั ผา้ ทอมอื เปน็ ทส่ี นใจของ ตลาดผบู้ รโิ ภค นอกจากจำ� หนา่ ย เปน็ ผนื แลว้ ยงั สามารถสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ โดยการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ได้ หลากหลายชนดิ อาทิ ผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าส�ำเร็จรูป ผลิตภัณฑ์เครอื่ งใช้ เคหะภัณฑ์ ตกแต่งบ้านเรือน ตกแต่งส�ำนักงาน ตลอดจนใช้ในพิธกี าร ต่างๆ นอกจากน้ียังใช้เป็นของฝากของขวัญของก�ำนัลในโอกาสต่างๆ ได้เป็นอย่างดีอีกด้วย ผ้าฝ้าย ผ้าไหมทอด้วยมือ สืบทอดภูมิปัญญา วฒั นธรรมมากว่า 700 ปี มาปจั จุบันยง่ิ ได้รับการส่งเสรมิ และพฒั นา รูปแบบไปตามความต้องการของตลาด ท�ำให้ผ้าทอมือเป็นท่ีนิยมของ ตลาดผู้บริโภคอย่างกว้างขวางข้ึน ท้ังในประเทศและต่างประเทศและ อตุ สาหกรรมการท่องเท่ียว ผ้าทอและผลิตภัณฑ์ได้รับความนยิ มสูง การพฒั นาคณุ ภาพผา้ ทอและผลติ ภณั ฑผ์ า้ ทอจงึ ไดเ้ นน้ การถา่ ยทอด เทคโนโลยกี ารพฒั นาคณุ ภาพเสน้ ด้าย-ไหม การฟอกยอ้ ม การทอ และ ผลติ ภณั ฑผ์ ้าทอของกลมุ่ ผ้ผู ลติ ให้ไดม้ าตรฐานสากล และขยายผลการ ผลติ สู่กลุ่มเครือข่ายอย่างเปน็ ระบบเพอ่ื ความม่นั คงทางเศรษฐกิจและ สงั คมต่อไป 8 ทางเลอื กอาชพี ด้านแปรรูปผลิตภณั ฑอ์ น่ื ๆ
ปจั จัยทจ่ี ำ� เป็นตอ้ งใช้ ด้านการผลิตผืนผ้า หรอื ผลติ ภณั ฑ์ 1. สำ� รวจความต้องการของตลาด 2. จดั หาวัสดุอุปกรณ์ วัตถดุ บิ สี ฟอก ย้อม 3. ด�ำเนินการผลติ ผืน และกลุ่มเครือข่ายทำ� ผลติ ภัณฑ์ผ้า คา่ วสั ดอุ ปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการผลติ ผา้ ทอมอื ตอ่ 1 ชดุ ประกอบดว้ ย 1. ก่ี 1 หลัง 5,000 บาท 2. อุปกรณ์เดินด้าย 2,500 บาท 3. ม้าเดนิ ด้าย 5,000 บาท 4. ม้าก็อปปีด้ ้าย 1,500 บาท 5. ม้าม้วนด้าย 1,000 บาท 6. อปุ กรณ์มัดหม ่ี 3,000 บาท 7. อปุ กรณ์การย้อมสเี คมี 10,000 บาท 8. อุปกรณ์การย้อมสธี รรมชาติ 8,000 บาท 9. ด้ายยืน 5 ลูก 5,000 บาท 10. ด้ายพุ่ง 3 ลกู 3,000 บาท 11. ไหมยนื 3 กโิ ลกรัม 4,200 บาท 12. ไหมพุ่ง 7 กิโลกรัม 8,400 บาท 13. ฟืม 5 อัน 6,000 บาท 14. กระสวย 20 ลกู 2,400 บาท 15. หลักเปีย 2,500 บาท ทางเลือกอาชีพดา้ นแปรรปู ผลิตภณั ฑ์อน่ื ๆ 9
อุปกรณ์การผลติ ผ้าทอต่อ 1 ชุด 1. จักรอุตสาหกรรม 1 หลงั 2. อปุ กรณ์ตัดเยบ็ 1 ชดุ ขัน้ ตอนการด�ำเนินงาน จดั ประชมุ และฝึกอบรมเกษตรกรรวม 3 คร้งั ครงั้ ท่ี 1 ประชมุ ชแี้ จงโครงการการจดั ตงั้ กลุ่มคณะกรรมการ และ จดทะเบียนสมาชิก ครั้งที่ 2 ฝึกอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเกษตรกรเร่อื งการทอผ้าและ พัฒนาผลติ ภณั ฑ์ผ้าทอมอื การถ่ายทอดเทคโนโลยผี ้าทอมอื ระยะเวลาฝึกอบรม 5 วนั (ภาคทฤษฎแี ละปฏิบตั ิ) - กระบวนการฟอกย้อม - การมัดหมี่ - การทอ 10 ทางเลอื กอาชพี ดา้ นแปรรูปผลติ ภณั ฑอ์ ื่นๆ
การเช่อื มโยงเครอื ขา่ ย การผลิต การตลาด ครัง้ ท่ี 3 ประชุมวางแผนระดมทนุ วางระบบการผลิต การตลาด ผ้าทอ และผลิตภัณฑ์ทอมอื เชิงธุรกจิ ผลผลิต - ไหม วนั ละ 2 หลา ต่อคนต่อวัน - ฝ้าย วันละ 3 หลา ต่อคนต่อวัน ตลาดและผลตอบแทน วางแผนการตลาด - ตลาดท้องถนิ่ - ศนู ย์แสดงสนิ ค้าพื้นเมอื ง - สถานที่ท่องเที่ยวทางการเกษตร - ตลาดล่วงหน้าขายปลกี - ส่งในและต่างประเทศ - เชอ่ื มโยงเครอื ข่ายการตลาดในทุกภมู ิภาค การรณรงค์ประชาสมั พนั ธ์ การส่ง การจำ� หน่าย และการใช้ผ้าทอ ทางเลอื กอาชีพดา้ นแปรรปู ผลิตภณั ฑอ์ น่ื ๆ 11
12 ทางเลือกอาชพี ด้านแปรรปู ผลติ ภณั ฑอ์ น่ื ๆ งบประมาณการลงทนุ และผลตอบแทนตอ่ กล่มุ ผ้ผู ลิต 1 กลุ่ม (หน่วย : บาท) รายการลงทนุ มลู ค่าการลงทนุ ปรมิ าณผลผลิต มลู คา่ ผลผลิต ผลกำ� ไร หมายเหตุ ต่อหน่วย - ปรบั ปรงุ โรงเรอื น - บ่อบ�ำบดั น�้ำเสีย 1. ปรบั ปรงุ โรงเรอื น 100,000 1 โรงเรือน - ท่อระบายนำ้� 2. อุปกรณ์การทอผ้า 337,500 ก่ี 5 หลังพร้อม ราคาไม่รวม 3. จกั รอตุ สาหกรรมและ 50,000 อุปกรณ์ ค่าแรง และ เครอื่ งมอื อปุ กรณก์ าร ค่าวสั ดุคงที่ ตัดเย็บ 6,300 อุปกรณ์ 5 ชดุ 4. วัตถุดิบ 4,500 - ไหม 16,000 200 หลา 46,000 19,200 ด้ายพุ่ง 7 กโิ ลกรมั 720 250 หลา 20,000 11,420 ด้ายยนื 360 ค่าแรง + ต้นทุนคงที่ 7,500 - ฝ้าย ด้ายพุ่ง 8 กโิ ลกรมั ด้ายยนื 3 กโิ ลกรัม ค่าแรง + ต้นทนุ คงท่ี
รายการลงทุน มลู คา่ การลงทนุ ปรมิ ตา่อณหผนล่วยผลติ มลู คา่ ผลผลติ ผลก�ำไร หมายเหตุ วัตถดุ ิบ 13,000 10 ชดุ 25,000 12,000 ไม่รวมค่าแรง 1. เสอ้ื ผ้าส�ำเรจ็ รูปไหม 12,000 10 ชุด 25,000 13,000 และต้นทุนคงที่ - ชดุ ผ้าไหมสตรี 8,000 10 ตวั 15,000 7,000 - เสื้อบุรุษ 6,000 10 ตัว 15,000 9,000 - เส้อื สตรี 10,000 25 ผืน 22,500 12,500 - เสอ้ื วยั รุ่น 10,000 - ผ้าพนั คอ 10,000 20 ชดุ 27,000 17,000 ไม่รวมค่าแรง 2. เสอื้ ผา้ สำ� เรจ็ รปู ฝา้ ย 5,000 และต้นทนุ คงท่ี ทางเลอื กอาชพี ด้านแปรรปู ผลติ ภัณฑอ์ ื่นๆ 13 - ชุดผ้าฝ้ายสตรี 5,000 20 ตวั 21,000 11,100 - เสื้อบุรษุ 5,000 25 ตวั 10,100 5,100 - เส้อื สตรี 5,000 30 ตัว 12,000 7,000 - เสอ้ื วัยรุ่น 7,000 25 ชุด 12,000 7,000 - ชดุ ลำ� ลอง 5,000 ไม่รวมค่าแรง 3. เครื่องใช้ 10,000 10 ชุด 12,000 7,000 และต้นทนุ คงท่ี - ผ้าปโู ต๊ะชดุ อาหาร 10 ชดุ 15,000 8,000 - ชดุ เคร่ืองนอน 25 ผนื 12,000 7,000 - ผ้าม่าน 15 ผืน 25,000 15,000 - ผ้าคลุมเตียง หมายเหตุ : ราคาของวสั ดุอปุ กรณ์และวัตถดุ บิ อาจมีการเปลยี่ นแปลงตามสภาวะเศรษฐกิจ และแหล่งจดั ซื้อ ซ่ึงจะส่งผลต่อ ต้นทุนและผลตอบแทน
การผลติ หัตถกรรมจากผกั ตบชวา ผักตบชวา เป็นวัชพืชน�้ำที่ มีผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมชนิดหน่ึง ของประเทศทส่ี ามารถเจรญิ เตบิ โตไดท้ กุ ภาคของประเทศไทยทำ� ใหเ้ กดิ ปัญหาสิ่งแวดล้อมทางน�้ำ เพราะขัดขวางการไหลของน้�ำ การสัญจร ทางน้ำ� ท�ำให้แม่นำ้� ล�ำคลองตนื้ เขนิ เปน็ ปัญหาใหญ่ ก่อให้เกิดมลภาวะ ทางนำ้� ซงึ่ รฐั บาลต้องเสยี แรงงานและคา่ ใช้จา่ ยในการกำ� จดั ผกั ตบชวา อย่างมากมายในแต่ละปี แต่ผักตบชวาสามารถน�ำมาใช้ประโยชนไ์ ด้ หลายอยา่ ง เชน่ ทำ� ปยุ๋ เพาะเหด็ และสามารถนำ� มาทำ� เปน็ หตั ถกรรมได้ เช่น ทำ� เปน็ เครือ่ งใช้ เครอื่ งเรอื นต่างๆ ทีส่ วยงาม อกี ทงั้ ยงั มีศกั ยภาพ ในการพัฒนาเป็นอุตสาหกรรมเพ่ือการส่งออก ซึ่งปัจจุบันสินค้า ผักตบชวา ยงั ครองตลาดหตั ถกรรมท้งั ในและต่างประเทศ 14 ทางเลือกอาชพี ดา้ นแปรรูปผลิตภณั ฑ์อน่ื ๆ
ปัจจยั ท่จี ำ� เปน็ ต้องใช้ 1) อปุ กรณ์การผลติ ท่ีใช้ - ตู้อบก�ำมะถนั 1 ตู้ ขนาด 1.8 x 1.2 เมตร = 1,600 บาท - เคร่อื งชง่ั หยาบ 15 กโิ ลกรมั = 500 บาท - พลาสตกิ ขนาดใหญ่ = 1,000 บาท - มดี กรรไกร = 300 บาท - ถาดรองก้านและก�ำมะถนั = 300 บาท 2) เงินทุนหมุนเวียนค่าวัตถุดิบและบรรจภุ ัณฑ์ วัตถดุ ิบในการผลติ 100,000 บาท - กำ� มะถนั - ผกั ตบชวา - น�ำ้ มันวานชิ - กาวน้ำ� - ผ้าซบั ใน - กระดุม ซปิ ทใี่ ช้ในการผลิตกระเป๋าใบเลก็ กระเป๋าใบใหญ่ ตะกร้าเลก็ ตะกร้ากลาง ตะกร้าใหญ่ กล่องเทป แจกนั ใหญ่ แจกันเลก็ การถา่ ยทอดเทคโนโลยี ภาคทฤษฎี การคดั เลอื กวตั ถดุ บิ การเตรยี มวตั ถดุ บิ การเกบ็ รกั ษา การควบคมุ คุณภาพ การส่งเสรมิ การตลาด ภาคปฏบิ ตั ิ ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารเตรยี มวตั ถดุ บิ ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารทำ� ผลติ ภณั ฑ์ จากผักตบชวา ฝึกปฏิบตั ิส่งเสรมิ การขาย และการบรกิ ารลูกค้า ทางเลือกอาชพี ดา้ นแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์อืน่ ๆ 15
วิทยาการ - ศนู ย์บรกิ ารและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจ�ำตำ� บล - วทิ ยากรเกษตร - กรมส่งเสริมอตุ สาหกรรม ขนั้ ตอนการด�ำเนินการ จดั ประชมุ เกษตรกรโดยใชก้ ระบวนการกลมุ่ ยดึ หลกั การมสี ว่ นรว่ ม รายละเอยี ดดงั นี้ คร้ังที่ 1 ช้ีแจงรายละเอียดการด�ำเนินงานจัดตั้งกลุ่มเลือกต้ัง คณะกรรมการจดทะเบยี นสมาชกิ ครงั้ ที่ 2 ระดมความคดิ วางแผนการปฏบิ ตั แิ บง่ หนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ - ฝ่ายจัดหาวตั ถดุ ิบ และควบคุมคุณภาพ - ฝ่ายการผลติ และออกแบบ - ฝ่ายการตลาด การเงนิ บญั ชี ครัง้ ท่ี 3 ระดมหุ้น วางแผนการผลิต และการตลาด เตรยี มสถานทผ่ี ลติ - คดั เลอื กสถานทต่ี ง้ั กลุ่มผลติ ผลติ ภณั ฑ์จกั รสานจากผกั ตบชวา - คดั เลอื กสถานท่ีต้งั กลุ่มหตั ถกรรมจากผกั ตบชวา - เป็นศนู ย์กลางปฏิบตั งิ านของกลุ่ม - สะดวกต่อการประสานงานด้านการตลาด - โรงเรือนส�ำหรับอบก�ำมะถัน (จะต้องอยู่ห่างจากท่ีอยู่อาศัย และไม่มีกล่นิ รบกวน) กัน้ ห้องให้เป็นสดั ส่วนเพอื่ เกบ็ ผลิตภณั ฑ์ 16 ทางเลือกอาชพี ดา้ นแปรรูปผลิตภณั ฑอ์ นื่ ๆ
การส�ำรวจและประสานเรื่องวัตถดุ ิบและการตลาด - จดั หาเครื่องมือ อุปกรณ์ และตู้อบก�ำมะถัน - ดำ� เนนิ การผลิตเพื่อจ�ำหน่าย - กระเป๋า ขนาด 4 x 7 x 7 นวิ้ - กระเป๋า ขนาด 5 x 12 x 14 น้ิว - ตะกร้า ขนาด 8 x 6 นิว้ ตลาดและผลตอบแทน - การวางแผนการผลติ และการตลาด - การพัฒนาคณุ ภาพสินค้าและบรรจุภัณฑ์ของสนิ ค้า ทางเลือกอาชพี ดา้ นแปรรปู ผลิตภณั ฑอ์ น่ื ๆ 17
18 ทางเลือกอาชพี ด้านแปรรปู ผลติ ภณั ฑอ์ น่ื ๆ ปริมาณการผลติ และผลตอบแทน รายการ ปริมาณ ราคาตอ่ หนว่ ย รายได้ ต้นทนุ กำ� ไร อัตราผลตอบแทน การผลติ (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) การลงทนุ (รอ้ ยละ) 1. กระเป๋า 300 100 30,000 13,500 16,500 122.2 ขนาด 4 x 7 x 7 150 180 27,000 11,750 15,250 129.7 ขนาด 4 x 12 x 14 167 60 10,020 5,845 4,175 71.4 125 80 10,000 6,250 3,750 60.0 2. ตะกร้า 77 130 10,010 4,630 5,380 116.1 ขนาด 8 x 6 223 45 10,035 4,495 5,540 123.2 ขนาด 8 x 10 188 80 15,040 5,477 9,563 174.6 ขนาด 8 x 12 112 180 20,160 5,200 14,960 284.6 3. กล่องเทป 4. แจกนั ขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ หมายเหตุ : ราคาของวัสดุอุปกรณ์และวัตถุดิบ อาจมีการเปลีย่ นแปลงตามสภาวะเศรษฐกจิ และแหล่งจัดซือ้ ซง่ึ จะส่งผลต่อ ต้นทุนและผลตอบแทน
ธุรกจิ โรงสขี า้ วขนาดเลก็ (แปรรูปข้าวเปลอื กเปน็ ข้าวสาร) ชาวนาในปัจจุบันมักต้องขายข้าวเปลือกราคาถูก แล้วกลับซื้อ ข้าวสารราคาแพงบริโภค เนื่องจากโรงสีขนาดใหญ่เคร่ืองสีข้าวที่มี ประสทิ ธภิ าพสูง (ท�ำให้ข้าวหักเพียง 5-10% และมีก�ำลงั การผลิตสงู ) ราคาแพงมาก (หลายล้านบาท) เกษตรกรจึงไม่สามารถเป็นเจ้าของ โรงสขี า้ วได้ ชาวนาจงึ นยิ มขายขา้ วเปลอื กเขา้ โรงสขี า้ วขนาดใหญ่ แลว้ ซอ้ื ขา้ วสารราคาแพงมาบรโิ ภค โรงสขี า้ วขนาดเลก็ ทม่ี อี ยทู่ วั่ ไปราคาไมแ่ พง แต่เปอร์เซ็นข้าวหักสูงมาก ท�ำให้ข้าวสารเต็มเมล็ดเดิมประมาณ 10-20 บาท ตอ่ กโิ ลกรมั แตเ่ มอ่ื เปน็ ขา้ วสารหกั (ปลายขา้ ว) ราคาจะเหลอื เพียง 2 บาทต่อกิโลกรัม โรงสีข้าวขนาดเล็กจะสีข้าวไม่คิดค่าจ้างสี แต่จะขอปลายข้าว และร�ำข้าวแทนค่าจ้าง จึงขัดสีข้าวจนเป็นผลให้ วิตามินและเกลือแร่สูญเสียไปกับร�ำขา้ ว ซ่ึงจะมีผลกระทบต่อสุขภาพ ของคนไทย โดยส่วนรวมกรมส่งเสริมการเกษตรได้ศึกษาและค้นหา ทางเลอื กอาชีพดา้ นแปรรปู ผลติ ภณั ฑอ์ ื่นๆ 19
โรงสีข้าวขนาดเล็กท่ีมีประสิทธิภาพสูง และพบว่าโรงสีข้าวขนาดเล็ก ของอำ� เภอชนแดน จงั หวดั เพชรบรู ณ์ มคี วามสามารถและขอ้ ดใี กลเ้ คยี ง โรงสีข้าวขนาดใหญ่ ราคาหลายล้านบาท คือ มีราคาเพียง 1-2 แสนบาท ต่อเครอ่ื ง แต่มปี ระสทิ ธภิ าพดี คอื ข้าวหกั เพยี ง 5-10% เท่ากบั โรงสขี ้าวขนาดใหญ่และมีก�ำลงั สขี ้าวได้ 1 ตันต่อชวั่ โมง (4 ตนั ต่อวันต่อ 8 ชว่ั โมง) ซง่ึ แม่บ้านเกษตรกรหรอื ผู้หญงิ ก็สามารถดำ� เนนิ ธุรกิจโรงสีข้าวขนาดเล็กได้เพราะมีอุปกรณ์ทุ่นแรงมีกระพ้อตักข้าว อัตโนมัติ รวมทั้งเสียค่าไฟฟ้าถูกมาก ดังนั้น เกษตรกรผู้พักช�ำระหน้ี อย่างน้อย 30 คน (ควรมสี มาชกิ สมทบอีกประมาณ 200 คน) มารวม กนั เปน็ กลมุ่ โดยนำ� ข้าวเปลอื กมารวมกนั เปน็ คา่ หนุ้ และเงนิ ทนุ หมนุ เวยี น ก็สามารถร่วมกันเป็นเถ้าแก่โรงสีข้าวได้เพราะทุกครอบครัวต้องซ้ือ ข้าวสารบรโิ ภคกนั อยู่แล้ว ดงั น้ัน ผู้ท่มี ีอาชีพทำ� นา สามารถรวมกลุ่ม ท�ำธรุ กจิ โรงสีข้าวขนาดเล็กในทกุ ต�ำบลๆ ละ 1-3 จดุ ปัจจยั ทจี่ �ำเปน็ ต้องใช้ 1. วางแผนการผลติ และการตลาด - ร้านขายข้าว/ร้านอาหาร - ห้างสรรพสนิ ค้า/ร้านค้า - ขายให้พ่อค้าคนกลาง/ห้างร้าน - สมาชกิ รบั ไปจ�ำหน่าย - ตลาดนดั ทัว่ ไป/ตลาดนัดรมิ ทาง - สถานท่ีท่องเทย่ี ว/ผู้บริโภคทว่ั ไป - ส�ำรวจประสานงานผู้รับซื้อ - ดูแลการจ�ำหน่าย - ประชาสัมพนั ธ์ตามโอกาสและส่อื ต่างๆ 20 ทางเลือกอาชพี ด้านแปรรูปผลติ ภณั ฑ์อนื่ ๆ
2. พัฒนาคุณภาพสินค้าและบรรจุภัณฑ์ของสินค้าเครื่องบรรจุ สญู ญากาศ พร้อมถุงพลาสติกสญู ญากาศ ข้ันตอนการด�ำเนนิ งาน การติดตั้งโรงสีขนาดเล็กประสิทธิภาพสูง ต่อแปรรูปข้าวเปลือก เปน็ ข้าวสารดงั นี้ 1. เครอ่ื งสขี า้ วขนาดเลก็ (ขนาด 10 แรงมา้ ) เปน็ เงนิ 200,000 บาท ตอ่ เครอื่ ง ซงึ่ สขี า้ วไดท้ งั้ ขา้ วกลอ้ ง และขา้ วสารขาว (เครอื่ งสขี า้ วกลอ้ ง อย่างเดียวไม่ขัดขาว ราคาเพยี งเคร่ืองละ 100,000 บาท) 2. เครอ่ื งชง่ั นำ้� หนกั ขนาด 500 กโิ ลกรมั เปน็ เงนิ 5,000 บาทตอ่ เครอ่ื ง 3. เครอ่ื งชง่ั นำ�้ หนกั ขนาด 15 กโิ ลกรมั เปน็ เงนิ 1,000 บาทตอ่ เครอ่ื ง 4. เครอ่ื งปิดผนึกถุงพลาสตกิ เปน็ เงิน 4,500 บาทต่อเครอื่ ง 5. ถงุ พลาสตกิ บรรจุข้าวสารแบบธรรมดา (ถงุ เย็น) จำ� นวน 100 กโิ ลกรัมๆ ละ 80 บาท เป็นเงนิ 8,000 บาท 6. กระสอบป่าน 1,000 ใบๆ ละ 25 บาท เป็นเงนิ 25,000 บาท ผลผลติ กรณี 1 การผลิตข้าวสารกล้อง ลงทุน 7,510 บาท ต่อ ข้าวเปลอื ก 1 ตนั รายละเอยี ดตน้ ทนุ ผนั แปร การผลติ ขา้ วสารกลอ้ ง ตอ่ ขา้ วสารขาว จากข้าวเปลอื กหอมมะลหิ นกั 1,000 กโิ ลกรมั มมี ลู ค่าการลงทนุ เท่ากนั คอื 7,510 บาท ดังรายละเอียดดงั น้ี 1. ข้าวเปลือกหอมมะลิ ราคา 6,500 บาทต่อตัน 2. ค่าแรงงานใส่กระสอบ และค่ารถ 500 บาทต่อตนั 3. ค่าแรงงานสำ� หรบั สขี ้าว 100 บาทต่อตนั 4. ค่าแรงงานบรรจถุ ุง 100 บาทต่อตนั 5. ค่าถุงพลาสติกธรรมดา 260 บาท ต่อ ข้าวสารหนัก 1 ตนั 6. ค่าพลงั งาน และอ่นื ๆ 20-50 บาทต่อตนั ทางเลอื กอาชีพดา้ นแปรรปู ผลิตภณั ฑ์อ่ืนๆ 21
กรณี 2 การผลติ ข้าวสาร จากข้าวเปลือก 1 ตัน จะได้ผลผลิต ดงั น้ี 1. ได้ข้าวสารประมาณ 600 กโิ ลกรมั 2. ได้ปลายข้าวและร�ำประมาณ 130 กิโลกรมั ตลาดและผลตอบแทน กรณี 1 การผลิตข้าวสารกล้อง 1 ตัน จะได้ดังนี้ (ค่าผลผลติ -ค่าลงทนุ ) = 10,560-7,510 บาท ก�ำไร = 3,050 บาท กรณี 2 การผลิตข้าวสารขาว 9,260-7,510 บาท ก�ำไร = 1,750 บาท หมายเหตุ : ราคาของวสั ดอุ ปุ กรณแ์ ละวตั ถดุ บิ อาจมกี ารเปลยี่ นแปลง ตามสภาวะเศรษฐกิจและแหล่งจัดซ้ือซึ่งจะส่งผลต่อต้นทุนและ ผลตอบแทน 22 ทางเลอื กอาชีพดา้ นแปรรูปผลิตภณั ฑอ์ ื่นๆ
การผลิตน�ำ้ สกัดชีวภาพ น้�ำสกัดชีวภาพ เป็น นำ้� สกดั ทไ่ี ดจ้ าการยอ่ ยสลาย เศษวสั ดเุ หลอื ใชจ้ ากสว่ นตา่ งๆ ของพืชหรือสัตว์ โดยผ่าน กระบวนการหมักในสภาพท่ี ไม่มีออกซิเจน มีจุลินทรีย์ ท�ำหน้าท่ีเป็นตัวย่อยสลาย เศษซากพืชและซากสัตว์ เหลา่ นนั้ ใหก้ ลายเปน็ สารละลาย รวมถึงการใช้เอนไซม์ที่ เกดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาตหิ รอื มีการเติมเอนไซม์เพ่ือเร่ง การย่อยสลายได้อย่างรวดเรว็ ยิง่ ข้นึ ประโยชน์ที่ได้จากน�ำ้ สกัดชวี ภาพ คือ เป็นปุ๋ยเสริมให้แก่พืช (เสริมธาตุอาหารให้พืชในขณะที่พืชก�ำลัง เจรญิ เตบิ โต) โดยนำ�้ สกดั ชวี ภาพจะใหท้ ง้ั ธาตอุ าหารและจลุ นิ ทรยี ท์ เ่ี ปน็ ประโยชน์ต่อพชื ปัจจัยทจ่ี �ำเป็นต้องใช้ ซากพชื ซากสตั ว์ต่างๆ เช่น ต้นหญ้า ต้นถว่ั รำ� ข้าว มูลสตั ว์ และ เชอ้ื จุลินทรีย์ ทางเลอื กอาชพี ด้านแปรรปู ผลิตภณั ฑอ์ ่นื ๆ 23
ตวั อย่างการท�ำน�้ำสกดั ชีวภาพจากร�ำข้าวและมูลไกไ่ ข่ ต้องใช้วัสดุดงั นี้ - รำ� ละเอยี ด 60 กโิ ลกรมั - มูลไก่ไข่ 40 กิโลกรัม - เชื้อ พด. 1 จ�ำนวน 1 ซอง (ขอรบั ได้ทหี่ น่วยพัฒนาที่ดนิ หรือ หารไม่มไี ม่จำ� เป็นต้องใช้) ขั้นตอนการด�ำเนินงาน วิธกี ารทำ� 1. นำ� ร�ำละเอียดและมลู ไก่ไข่มาผสมคลกุ เคล้าให้เข้ากัน 2. เตรียมเชื้อจุลินทรีย์โดยน�ำเช้ือ พด.1 เทใส่ในน้�ำ 20 ลิตร คนอย่างสมำ�่ เสมอ เป็นเวลา 15-20 นาที 3. เทเชื้อ พด.1 ที่เตรียมไว้ลงไปที่กองร�ำ และมูลไก่ไข่ท่ีผสมกัน ไว้แล้ว พร้อมท้ังพรมน�้ำเพื่อให้ความช้ืนแก่กองปุ๋ย ใช้พลั่วคลุกเคล้า กองปุ๋ยจนวสั ดุต่างๆ ผสมกันดีและมีความช้ืนประมาณ 40% 4. ทดสอบความชื้นในกอง โดยใช้มือก�ำวัสดุแล้วคลายมือออก ก้อนวัสดกุ ็ยังไม่แตก จากนัน้ ใช้กระสอบป่านคลุมกองไว้ 5. การดแู ลกองปยุ๋ ใหก้ ลบั กองปยุ๋ ทกุ วนั เปน็ เวลา 7 วนั โดยทกุ ครงั้ ทกี่ ลบั กองแลว้ ใหค้ ลมุ กองปยุ๋ ดว้ ยกระสอบปา่ นไวอ้ ยา่ งเดมิ (ในระหวา่ ง 7 วัน จะสังเกตเห็นเชอ้ื ราสีขาวข้ึนที่ส่วนผิวนอกกองปุ๋ยก่อนแล้วค่อยๆ ลกุ ลามเข้ามาในกองปุ๋ย) เมื่อครบ 7 วนั แล้ว ผึ่งในร่มจนแห้ง 6. หลงั จากผงึ่ ในรม่ จนแหง้ แลว้ ควรเกบ็ ใสถ่ งุ กระดาษ หรอื กระสอบ ทม่ี กี ารระบายอากาศไดเ้ พอื่ ใหเ้ กบ็ ไวใ้ ชน้ านๆ ควรเกบ็ ในทร่ี ม่ ไมต่ ากแดด ตากฝน และมกี ารถ่ายเทอากาศดี 24 ทางเลอื กอาชพี ด้านแปรรูปผลิตภัณฑ์อน่ื ๆ
7. เตรยี มนำ้� สกดั ชวี ภาพ โดยใชป้ ยุ๋ แหง้ 1 กโิ ลกรมั ผสมนำ้� 20 ลติ ร ใส่ลงในถงั หรือโอ่ง แล้วปมั๊ อากาศเข้าไปหรือใช้ไม้คนบ่อยๆ อย่างน้อย วนั ละ 3-4 ครงั้ เปน็ เวลา 5-7 วนั จะได้นำ�้ สกัดชวี ภาพท่เี ข้มข้น หมายเหตุ ก่อนนำ� ไปใช้จะต้องผสมน�ำ้ 20-40 เท่า (ปุ๋ยแห้ง 1 กโิ ลกรัม จะทำ� เปน็ น�้ำสกัดชีวภาพได้ 400-8,000 ลติ ร) ผลผลิต น้ำ� สกดั ชวี ภาพให้กับต้นพชื ได้ 3 วธิ ี วิธีท่ี 1 รดท่ีโคนหรือปล่อยตามร่อง โดยใช้ทุกๆ 3 วัน ส�ำหรับ ผักอายุส้นั เช่น ผกั บุ้งใช้ทกุ ๆ 7 วัน หรอื สำ� หรับผกั ทว่ั ไป ใช้เดือนละ 1 ครัง้ ส�ำหรับไม้ผล วธิ ที ี่ 2 ใช้อดั ลงดิน โดยใช้หัวอัดต่อกับรถไถเดนิ ตาม วิธนี ีจ้ ะช่วย นำ� นำ�้ สกดั ชีวภาพไปสู่บริเวณรากพืช และแรงอดั จะช่วยให้ดนิ โปร่งขน้ึ ถ้าใช้วิธีอัดลงดนิ ควรท�ำทกุ ๆ 15-20 วัน วิธที ี่ 3 ใช้ฉดี พ่นใบ โดยอาจผสมกับยาสมุนไพรฉีดพร้อมกันเลย ก็ได้ หมายเหตุ ผลลพั ธท์ ไ่ี ดจ้ ากการใช้นำ้� สกดั ชวี ภาพจะมคี วามไม่แน่นอน เพราะ พื้นท่ีที่ผลิตแต่ละแห่งมีปัจจัยในเรื่องสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันท้ัง เรอ่ื งของดนิ สภาพความเปน็ กรด-ด่าง ดงั นน้ั บางพน้ื ทอ่ี าจได้ผลดแี ละ บางพื้นท่ีอาจไม่ได้ผลจึงควรใช้ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ชนิดอื่นๆ โดยใช้ นำ้� สกัดชีวภาพเปน็ การเสรมิ ธาตุอาหารให้กับพชื ทางเลือกอาชพี ดา้ นแปรรูปผลิตภณั ฑ์อนื่ ๆ 25
เนอ่ื งจากรำ� ในประเทศไทยมรี าคาแพง สามารถลดสดั ส่วนของรำ� ลงได้ หรืออาจท�ำน้�ำสกัดชีวภาพจากวัสดุที่แตกต่างไป เช่น น�้ำสกัด ชวี ภาพจากถ่ัวพร้าสดๆ ตลาดและผลตอบแทน จำ� หน่ายในชอ่ื นำ�้ สกดั ชวี ภาพ หรอื ป๋ยุ นำ�้ ชวี ภาพ หรอื อาหารเสรมิ ชวี ภาพ ในราคาตงั้ แต่ 250-1,000 บาท แหล่งข้อมูล : กรมสง่ เสริมการเกษตร 26 ทางเลอื กอาชพี ด้านแปรรูปผลติ ภณั ฑ์อน่ื ๆ
การผลติ น้�ำส้มควันไม้ น้ำ� สม้ ควันไม้ คอื ควันทีเ่ กดิ จากการเผาถ่านในช่วงท่กี �ำลัง เปลยี่ นเปน็ ถา่ น เมอื่ ทำ� ใหเ้ ยน็ ลงจนควบแนน่ และกลน่ั ตวั เปน็ หยดนำ้� ของเหลวที่ได้เรียกว่า “น�้ำส้มควันไม้” น�้ำส้มควันไม้ ได้จาก การดักเก็บควันอยู่ในช่วงของการเผาถ่านอุณหภูมิปากปล่อง ประมาณ 80-150 องศาเซลเซยี ส หรอื สงั เกตจากควนั ทป่ี ากปลอ่ ง จะมีสีขาวขุ่น กล่ินฉุนหรือใช้กระเบ้ืองแผ่นเรียบสีขาวอังบน ปากปลอ่ งทงิ้ ไวส้ กั ครู่ แล้วนำ� แผน่ กระเบอื้ งมาดหู ยดนำ้� ทเ่ี กาะบน กระเบอื้ งจะใสและหรือมสี ีเหลืองปนน้�ำตาล ประโยชน์ของนำ�้ สม้ ควนั ไม้ น�้ำส้มควันไม้มีสารประกอบต่างๆ มากมาย เมื่อน�ำไปใช้ ประโยชน์ทางการเกษตร จะมีคุณสมบตั ติ ่างๆ ดงั นีค้ อื เป็นสาร ปรบั ปรงุ ดนิ สารปอ้ งกนั กำ� จดั ศตั รพู ชื และสารเรง่ การเตบิ โตของพชื บริเวณส่วนราก ลำ� ต้น หัว ใบและดอกผลของพชื บางชนิด การใช้ ทางเลือกอาชีพดา้ นแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์อื่นๆ 27
น�้ำส้มควันไม้ราดในดินปลูกพืช จะช่วย เร่งการเจริญเติบโตของพืชและควบคุม โรคพืชที่มีสาเหตุมาจากไส้เดือนฝอย เช้ือรา นอกจากนั้นน้�ำส้มควันไม้ ยังมี คุณสมบัติเป็นฮอร์โมนพืช และใน บางกรณีเป็นตัวยับยั้งการเจริญเติบโต ส่วนต่างๆ ของพืชเมื่อใช้น้�ำส้มควันไม้ ในอัตราส่วนท่ีมากน้อยต่างกันไป น้�ำส้มควันไม้จะมีพิษต่อพืชสูงเมื่อราด ลงดนิ ในปรมิ าณมาก หรอื นำ� ไปใชก้ บั พชื โดยไม่ผสมน�้ำให้เจือจางจะเกิดผลเสีย เช่นกัน นอกจากนี้ มีการน�ำนำ�้ ส้มควันไม้ ไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรม เชน่ ใชผ้ ลติ สารดบั กลน่ิ ตวั ผลติ สารปรบั ผวิ นมุ่ ผลติ ยารกั ษาโรคผวิ หนงั เปน็ ต้น และเน่อื งจากนำ้� ส้มควันไม้มคี วามเปน็ กรดสงู ดงั นนั้ ก่อนท่ีจะ น�ำไปใช้ควรจะน�ำมาเจือจางให้เกิดสภาวะท่ีเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ ของการใช้งาน ดังน้ี การผลติ นำ้� ส้มควนั ไม้ มหี ลายตำ� ราทกี่ ลา่ วถงึ การทำ� นำ้� ส้มควนั ไม้ ซงึ่ กไ็ ม่แตกตา่ งกนั ใน เรื่องผลลัพธ์หากแต่วิธีการจะแตกต่างกัน ซ่ึงในเอกสารน้ีขอน�ำวิธี การผลิตน�้ำส้มควันไม้ของศูนย์การศึกษาพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน อันเนอื่ งมาจากพระราชด�ำรมิ าถ่ายทอด การผลติ น้�ำส้มควันไม้จากการเผาถ่านด้วยเตาเผาถ่าน 200 ลติ ร เตาเผาถ่าน 200 ลิตร เปน็ เตาทีม่ ีประสิทธิภาพสงู เตาประเภทนีอ้ าศัย 28 ทางเลือกอาชพี ด้านแปรรูปผลิตภณั ฑอ์ ่ืนๆ
ความรอ้ นไลค่ วามชนื้ ในเนอ้ื ไมท้ มี่ อี ยใู่ นเตา ท�ำให้ไม้กลายเป็นถ่านหรือเรียกว่า กระบวนการคาร์บอนไนเซชนั่ นอกจากนี้ โครงสรา้ งลกั ษณะปดิ ทำ� ใหส้ ามารถควบคมุ อากาศได้ จึงไม่มีการลุกติดของเนื้อไม้ ผลผลติ ทไี่ ดจ้ งึ เปน็ ถา่ นทคี่ ณุ ภาพ ขเี้ ถา้ นอ้ ย และผลพลอยได้จากกระบวนการเผาถ่าน อีกอย่างหน่ึงคือ น�้ำส้มควันไม้ท่ีสามารถ น�ำไปใช้ประโยชน์ในด้านการเกษตรได้ อตั ราส่วน 1 : 20 (ผสมน�ำ้ 20 เท่า) พ่นลงดนิ เพ่อื ฆ่าเชือ้ จุลินทรีย์ที่ ไมเ่ ปน็ ประโยชนแ์ ละแมลงในดนิ ซงึ่ ควรทำ� กอ่ นการ เพาะปลูก 10 วัน อัตราส่วน 1 : 50 (ผสมนำ้� 50 เท่า) พ่นลงดนิ เพอื่ ฆ่าเชือ้ จลุ นิ ทรยี ์ที่ ทำ� ลายพชื หากใช้ความเข้มข้นทม่ี ากกว่าน้ี รากพชื อาจได้รบั อันตรายได้ อตั ราสว่ น 1 : 100 (ผสมนำ�้ 100 เท่า) ราดโคนต้นไม้รักษาโรครา และ โรคเน่า รวมทง้ั ป้องกนั แมลงมาวางไข่ อตั ราสว่ น 1 : 200 (ผสมนำ้� 200 เท่า) พ่นใบไม้รวมทงั้ พ้นื ดนิ รอบๆ ต้นพืช ทุกๆ 7-15 วนั เพ่อื ขบั ไล่แมลงและป้องกนั เชอ้ื รา และรดโคนต้นไม้เพือ่ เร่งการเจริญเติบโต อตั ราสว่ น 1 : 500 (ผสมนำ�้ 500 เท่า) พ่นผลอ่อน หลังจากติดผลแล้ว 15 วัน ช่วยขยายผลให้โตข้ึนและพ่นอีกคร้ัง ก่อน เก็บเกยี่ ว 20 วัน เพ่ือเพม่ิ น้�ำตาลในผลไม้ อัตราส่วน 1 : (ผสมน�ำ้ 1,000 เท่า) เปน็ สารจบั ใบ เนอื่ งจากสาร 1,000 เคมสี ามารถออกฤทธ์ไิ ด้ดีในสารละลาย ทางเลอื กอาชพี ด้านแปรรูปผลติ ภัณฑอ์ ่ืนๆ 29
ขนั้ ตอนการนำ� ไม้เขา้ เตาเผาถ่าน น�ำไม้ที่ต้องการเผาถ่าน มาจัดแยก กล่มุ ตามขนาดเส้นผ่าศนู ยก์ ลางของไม้เปน็ 3 กลุ่ม ได้แก่ ขนาดเลก็ ขนาดกลาง และ ขนาดใหญ่ เรยี งไม้ทม่ี ขี นาดเล็กไว้ด้านล่าง ของเตา ขนาดใหญ่ไว้ด้านบนโดยวางทบั ไม้ หมอนยาวประมาณ 30-40 เซนติเมตร การเรียงไม้นมี้ ีความส�ำคัญมาก เนือ่ งจาก อณุ หภมู ิในเตาขณะเผาถ่านไม่เท่ากนั โดย อณุ หภมู ิด้านล่างเตาจะตำ่� ส่วนอุณหภูมิที่ อยู่ด้านบนเตาจะสูงกว่า ขัน้ ตอนการเผาถ่าน ช่วงที่ 1 ไล่ความช้ืน หรือคายความร้อน เรมิ่ จดุ ไฟเตา บรเิ วณทอ่ี ยหู่ นา้ เตา ใสเ่ ชอื้ เพลงิ ใหค้ วามรอ้ นกระจาย เข้าส่เู ตาเพอื่ ไล่อากาศเยน็ และความชน้ื ทอ่ี ย่ใู นเตาและในเนอ้ื ไม้ ควนั ท่ี ออกมาจากปลอ่ งควนั จะเปน็ สขี าว ควนั จะมกี ลน่ิ เหมน็ ซง่ึ เปน็ กลน่ิ ของ กรดท่ีอยู่ในเน้ือไม้ อุณหภูมิบริเวณปากปล่องควันประมาณ 70-75 องศาเซลเซียส อุณหภูมิภายในเตา ประมาณ 150 องศาเซลเซียส ใส่เช้ือเพลิงต่อไป ควันสีขาวตรงปล่องควันจะเพิ่มข้ึนอุณหภูมิบริเวณ ปากปล่องควันประมาณ 70-75 องศาเซลเซียส อุณหภูมิภายในเตา ประมาณ 200-250 องศาเซลเซยี ส ควันมีกลิ่นเหม็นฉุน ช่วงท่ี 2 เมื่อไม้กลายเป็นถ่าน หรือ ปฏิกิรยิ าคลายความร้อน เมื่อเผาไปอีกระยะหน่ึง ควันสีขาวจะเริ่มบางลง และเปลี่ยนเป็น สเี ทา อุณหภมู บิ รเิ วณปากปล่องควนั ประมาณ 80-85 องศาเซลเซยี ส อุณหภมู ิภายในเตาประมาณ 300-400 องศาเซลเซยี ส ไม้ทอ่ี ยู่ในเตา จะคายความรอ้ นทส่ี ะสมเอาไวเ้ พยี งพอทจี่ ะทำ� ใหอ้ ณุ หภมู ใิ นเตาจะเพมิ่ 30 ทางเลือกอาชพี ดา้ นแปรรูปผลิตภณั ฑอ์ ื่นๆ
สูงขน้ึ ในช่วงนี้ค่อยๆ ลดการป้อนเช้ือเพลิง หน้าเตาจนหยุดการป้อนเช้ือเพลิงหน้าเตา จะต้องควบคุมอากาศโดยการหร่ีหน้าเตา หรือลดพื้นท่ีหน้าเตาลงให้เหลือช่องพ้ืนท่ี หนา้ เตา ประมาณ 20-30 ตารางเซนตเิ มตร ส�ำหรับให้อากาศเข้าเพื่อรักษาระดับของ อณุ หภมู ใิ นเตาไว้ให้นานที่สุด และยดื ระยะ เวลาการเกบ็ นำ�้ ส้มควนั ไม้ให้นานทส่ี ดุ โดย ชว่ งทเ่ี หมาะสมกบั การเกบ็ นำ�้ สม้ ควนั ไมค้ วร มอี ณุ หภมู บิ รเิ วณปากปล่องควนั ประมาณ 85-120 องศาเซลเซยี ส เนอื่ งจากเปน็ ชว่ งท่ี สารในเน้ือไม้ถูกขับออกมา จากน้ันควันก็ เปล่ียนจากควันสีเทาเป็นสีน้�ำเงิน จึงหยุดเก็บน�้ำส้มควันไม้ อุณหภูมิ บริเวณปากปล่องควันประมาณ 100-200 องศาเซลเซียส อุณหภูมิ ภายในเตาประมาณ 400-450 องศาเซลเซยี ส การเกบ็ รกั ษานำ้� สม้ ควันไม้ น�้ำส้มควันไม้ที่ได้จากการดักเก็บจะไม่น�ำไปใช้ประโยชน์ทันที เนอ่ื งจากการเปลย่ี นจากไม้เปน็ ถ่านไม่ได้เกดิ ขนึ้ พร้อมกนั ทง้ั เตา ดงั นน้ั ควันทเี่ กดิ ข้ึนจงึ เปน็ ควนั ที่ผสมกันระหว่างควนั ทีอ่ ุณหภมู ิต�่ำและสูง ซง่ึ จะมนี ำ้� มนั ดนิ และสารระเหยปนออกมาด้วย นำ้� มนั ดนิ ทล่ี ะลายนำ้� ไม่ได้ จะน�ำไปใช้ประโยชน์ในการเกษตรไม่ได้เพราะจะไปปิดปากใบของพืช และเกาะติดรากพืชท�ำให้พืชเติบโตช้าหรือตายได้ นอกจากน้ีหากเท ลงพื้นดินจะท�ำให้ดินแข็งเป็นดาน รากพืชไม่สามารถไชลงดินได้ จึง แนะน�ำว่า เมื่อเก็บน้�ำส้มควันไม้แล้วต้องท้ิงช่วงและมีการท�ำให้น�้ำส้ม ควนั ไม้บรสิ ทุ ธก์ิ ่อนนำ� ไปใช้ประโยชน์อย่างน้อย 3 เดอื น โดยการเกบ็ ใน ท่ีเย็นร่ม หรือเกบ็ ไว้ในภาชนะทึบแสงและไม่มีสิง่ รบกวน หากเกบ็ ไว้ที่ ทางเลือกอาชีพด้านแปรรูปผลิตภัณฑอ์ นื่ ๆ 31
โล่งแจง้ นำ�้ ส้มควนั ไมจ้ ะทำ� ปฎกิ ริ ยิ ากบั อากาศ และรงั สอี ลุ ตรา้ ไวโอเลต ในแสงอาทิตย์กลายเป็นน้�ำมันดินซึ่งในน�้ำมันดินจะมีสารก่อมะเร็ง และหากน�ำไปใช้กับพืช น�้ำมันจะจับกับใบไม้ท�ำให้ต้นไม้ไม่สามารถ สังเคราะห์แสงได้ดี ข้อควรระวงั ในการใช้นำ�้ ส้มควันไม้ 1. ก่อนน�ำน้�ำส้มควันไม้ไปใช้ต้องทิ้งไว้จากการกักเก็บก่อนอย่าง น้อย 3 เดอื น 2. เนื่องจากน้�ำส้มควันไม้มีความเป็นกรดสูง ควรระวังอย่าให้ เข้าตาอาจท�ำให้ตาบอดได้ 3. น�้ำส้มควันไม้ไม่ใช้ปุ๋ยแต่เป็นตัวเร่งปฎิกิริยา ดังน้นั การนำ� ไปใช้ ทางการเกษตรจะเปน็ ตัวเสรมิ ประสทิ ธภิ าพ ให้กับพืชแต่ไม่สามารถใช้ แทนปุ๋ยได้ 4. การใช้เพ่ือฆ่าเชื้อจุลินทรีย์และแมลงในดิน ควรท�ำก่อนก่อน เพาะปลกู อย่างน้อย 10 วัน 5. การนำ� นำ้� สม้ ควนั ไมไ้ ปใชต้ อ้ งผสมนำ้� ใหเ้ จอื จางตามความเหมาะสม ทีจ่ ะน�ำไปใช้ 6. การฉีดพ่นน�้ำส้มควันไม้ เพอ่ื ให้ดอกติดผล ควรพ่นก่อนทด่ี อก จะบาน หากฉีดพ่นหลังจากดอกบานแมลงจะไม่เข้าผสมเกสรเพราะ กลน่ิ ฉนุ ของน�ำ้ ส้มควนั ไม้และดอกจะร่วงง่าย แหล่งข้อมูลและสอบถามข้อมูลไดท้ ี่ 1. กรมส่งเสรมิ การเกษตร 2. ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาอา่ วคงุ้ กระเบนอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ โทรศัพท์ 0-3983-8116-8 โทรสาร 0-3938-8119 32 ทางเลือกอาชีพดา้ นแปรรูปผลิตภณั ฑอ์ ่ืนๆ
การผลติ สารบ�ำบัดน้�ำเสีย คุณสมบตั ขิ องสารบำ� บัดน้ำ� เสีย พด.6 และแนวทางการน�ำไป ใช้ให้มปี ระสิทธิภาพ โดยกรมพฒั นาทดี่ นิ กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ สารบ�ำบดั นำ�้ เสยี พด.6 เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการย่อยสลายขยะสด ประกอบด้วยวัสดุ อนิ ทรยี จ์ ากเศษอาหาร ผกั ผลไมแ้ ละเนอ้ื สตั ว์ โดยกจิ กรรมของจลุ นิ ทรยี ์ จากสารเร่ง พด. 6 ในสภาพท่ีไม่มีออกซิเจน ได้ของเหลวสีน้�ำตาล ซ่ึงมีคุณสมบัติในการท�ำความสะอาดคอกสัตว์บ�ำบัดน�้ำเสีย และขจัด กลิ่นเหม็นส�ำหรับท�ำความสะอาดคอกสัตว์บ�ำบัดน�้ำเสียและขจัดกล่ิน เหม็นตามท่อระบายน้�ำ สารเรง่ พด.6 เป็นเชื้อจุลินทรีย์ที่มีคุณสมบัติในการเพิ่มประสิทธิภาพหมักเศษ อาหารในสภาพที่ไม่มีออกซิเจนเพ่ือผลิตสารบ�ำบัดน้�ำเสียและขจัด กล่ินเหม็นส�ำหรับท�ำความสะอาดคอกสัตว์ บ�ำบัดน�้ำเสียและขจัด กลิน่ เหม็นตามท่อระบายนำ้� ชนดิ ของจลุ นิ ทรีย์ในสารเร่ง พด. 6 ประกอบดว้ ย 1. ยีสต์ ทำ� หน้าท่ีผลิตแอลกอฮอล์ ช่วยรักษาความสะอาด 2. แลคโตบาซลิ ลสั ทำ� หน้าทผี่ ลติ กรดแลคตกิ ชว่ ยลดการปนเปอ้ื น จลุ ินทรีย์ 3. แบคทีเรียสลายโปรตีน ท�ำหน้าท่ีผลิตน�้ำย่อยโปรตีนเอส ช่วยย่อยสลายซากสตั ว์ได้เรว็ ข้ึน ทางเลอื กอาชีพด้านแปรรปู ผลิตภัณฑอ์ น่ื ๆ 33
4. แบคทเี รยี ยอ่ ยสลายไขมนั ทำ� หนา้ ทผ่ี ลติ นำ�้ ยอ่ ยไลเปส ชว่ ยยอ่ ย สลายไขมนั ได้เรว็ ขึ้น สว่ นประกอบส�ำหรบั ผลติ สารบำ� บดั นำ้� เสีย พด.6 จำ� นวน 50 ลติ ร 1. วสั ดุอินทรยี ์ 5 กโิ ลกรัม 2. น�้ำตาล 10 กิโลกรมั 3. น�้ำ 50 ลติ ร 4. สารเร่ง พด.6 1 ซอง วธิ ที ำ� 1. น�ำน้�ำและน้�ำตาลผสมลงในถังหมัก กวนให้เป็นสารละลาย เดยี วกัน 2. ใส่สารเร่ง พด. 6 ลงในถงั หมักคนส่วนผสมให้เข้ากัน 3. จากนน้ั ใสว่ สั ดอุ นิ ทรยี ์สดแลว้ คนส่วนผสมใหเ้ ข้ากนั อกี ครง้ั และ ปิดฝาไม่ต้องสนทิ 4. ในระหว่างการหมกั ควรกวนสว่ นผสมทกุ 2 วนั โดยใชร้ ะยะเวลา หมกั 5-7 วัน จึงนำ� ไปใช้ได้ต่อไป สารบำ� บดั น้�ำเสีย พด.6 ทีผ่ ลิตได้มลี ักษณะดงั นี้ 1. ปรากฏฝ้าขาวของจุลินทรยี ์มากขึ้น 2. มกี ลนิ่ เปรีย้ วมากขึ้น 3. มกี ลน่ิ แอลกฮอล์เล็กน้อย 34 ทางเลือกอาชีพดา้ นแปรรูปผลิตภัณฑ์อ่ืนๆ
คณุ สมบตั ขิ องสารบ�ำบัดนำ้� เสยี พด.6 1. มีจ�ำนวนจุลินทรีย์ พด.6 ขยายปริมาณมากข้ึน 2. มีน้�ำย่อยหลายชนิดเพิ่มมากขึ้น ได้แก่ น�้ำย่อยสลายโปรตีน ไขมัน และเศษพืช 3. มีกรดอินทรยี ์หลายชนดิ เพิ่มข้ึน ได้แก่ กรดแลคตกิ เป็นต้น 4. มีค่าเป็นกรดสงู ระหว่าง 3-4 อัตราและวิธีการนำ� ไปใช้ ทำ� การฉดี พ่นสารบำ� บดั นำ�้ เสยี 1 ลติ รต่อนำ้� เสยี 10 ลกู บาศก์เมตร โดยการฉีดให้กระจายท่วั ๆ ท้งั นี้น้ำ� เสยี ท่ฉี ีดควรจะเปน็ น้�ำนิ่งขงั ไม่ไหล และถ้าหลงั จากใส่แก้ว 7-10 วนั ยงั มกี ล่นิ ไม่หาย สามารถใส่ซ้�ำได้อีก ในอัตราส่วนเท่าเดมิ (1 : 10 ลบ.ม.) สรรพคณุ ของสารบำ� บดั น�้ำเสีย พด.6 - ช่วยบ�ำบัดน้�ำเสียและขจัดกลิ่นเหม็นตามท่อระบายน�้ำหรือ นำ�้ ท่วมขงั - ท�ำความสะอาดคอกสัตว์และขจดั กลิน่ เหมน็ - ช่วยลดกจิ กรรมของจุลนิ ทรยี ์ทที่ �ำให้เกิดการเน่าเสียและ ย่อยสลายสิง่ ปฎกิ ลู ในนำ้� ท่วมขงั ได้เร็วขนึ้ - ช่วยรักษาส่งิ แวดล้อมและบ�ำบัดน�ำ้ อปุ โภคให้ดขี ้นึ ทางเลอื กอาชพี ด้านแปรรปู ผลิตภัณฑอ์ ื่นๆ 35
การผลติ นำ้� มันมะพร้าวบรสิ ุทธ์ิ ในอดีตน้�ำมันมะพร้าวเป็นน�้ำมันพืชเป็นท่ีนิยมในการปรุงอาหาร หรือบำ� รุงความงาม เช่น ทาผวิ หมักผม เปน็ ต้น แต่ภายหลังความนยิ ม ในการบริโภคน้อยลงเน่ืองจากมีกรดไขมันอิ่มตัวสูงที่ท�ำให้เกิดไขมัน สะสม ปจั จบุ นั ไดม้ กี ระบวนการผลติ นำ�้ มนั มะพรา้ วในรปู แบบ ทเี่ รยี กวา่ Virgin Coconut Oil ซ่ึงผ่านกระบวนการหีบเย็น คือใช้วิธีการปั่น บบี นำ�้ มนั ออกมาโดยตรง หรอื การแยกหมกั ดว้ ยแบคทเี รยี เพอื่ แยกนำ้� มนั ซึ่งช่วยลดความอ้วนและไม่ตกค้างในร่างกาย น�้ำมันมะพร้าวบริสุทธ์ิ มอี งค์ประกอบของกรดไขมันทีม่ ีประโยชน์ 36 ทางเลือกอาชพี ด้านแปรรปู ผลติ ภณั ฑอ์ ่ืนๆ
ปจั จัยจ�ำเปน็ ต้องใช้ 1. ขวดโหลแก้ว หรอื ไห หรอื ภาชนะอน่ื ส�ำหรับหมัก 2. กะละมงั 3. ผ้าขาวบาง หรอื ตะแกรงลวดตาถี่ 4. สายยาง สำ� หรับดูดน้�ำมันออกจากภาชนะหมัก 5. เน้อื มะพร้าวสดขดู 2 กโิ ลกรมั 6. นำ้� อุ่น 2 ลิตร วธิ ีท�ำ 1. น�ำเน้ือมะพร้าวสดขูดใส่กะละมัง แล้วเติมน้�ำอุ่นคั้นน้�ำกะทิใน กะละมัง แล้วกรองกากมะพร้าวทงิ้ ไป 2. นำ� น�้ำกะททิ ี่คั้นได้ ใส่ขวดโหลหรอื ไห หรือภาชนะอน่ื ท่ีมที รงสูง (หากใส่ขวดโหลแก้ว จะท�ำให้เห็นชั้นหรือระดับของน้�ำมันแยกตัวออก จากน�้ำ) ปิดฝาท้ิงไว้ 24 ชัว่ โมง น้ำ� มนั จะเรม่ิ แยกตัวออกจากน�ำ้ ลอยขึ้น ส่ดู ้านบนของภาชนะ นำ�้ ซง่ึ หนกั กว่านำ�้ มนั จะอยดู่ ้านล่างของภาชนะปน อยู่กบั กากและตะกอน 3. หลงั จากตงั้ ทง้ิ ไว้ 2 วนั นำ�้ มนั มะพรา้ วจะลอยตวั อย่ดู ้านบนของ ภาชนะ ให้ใช้สายยางดูดออกมาหรือใช้กระบวยตักน�้ำมันออก แล้ว กรองด้วยผ้าขาวบางจะได้น้ำ� มนั มะพร้าวบริสุทธ์ิ (Virgin Coconut Oil) จากนน้ั นำ� ไปบรรจขุ วดทม่ี ีฝาปิด ขวดควรเป็นสีน้�ำตาลหรอื สเี ขยี วหรอื นำ�้ เงนิ สามารถเก็บไว้ได้นานเป็นปีโดยไม่เสอื่ มคณุ ภาพ กระบวนการและวิธีการหมัก 1. หลงั จากค้ันได้น้�ำกะทิ เม่ือน�ำไปใส่ในภาชนะต้องใส่ให้เต็ม อย่า ให้มพี นื้ ทวี่ า่ งหรอื ชอ่ งอากาศมฉิ ะนน้ั จะเกดิ กระบวนการหมกั ทท่ี ำ� ให้นำ้� กะทบิ ูดได้ 2. ทง้ิ ไว้ 48 ชว่ั โมง หรอื 2 วนั นำ�้ มนั มะพร้าวจะแยกตวั อย่ใู นระดบั สมบูรณ์แล้ว ไม่ควรทิง้ ไว้นานเกินไป อาจทำ� ให้เกิดกลิ่นได้ ทางเลอื กอาชีพด้านแปรรปู ผลติ ภัณฑอ์ ่ืนๆ 37
3. หลงั จากกรองไดน้ ำ�้ มะพรา้ วบรสิ ทุ ธแิ์ ลว้ หากยงั ไมใ่ สเหมอื นนำ้� ทง้ิ ให้ตกตะกอนประมาณ 1-2 วนั 4. หลงั จากทง้ิ ไว้ 48 ชั่วโมง หรือ 2 วนั เมอ่ื น้�ำมันมะพร้าวแยกตัว แลว้ ใหน้ ำ� ภาชนะไปแช่ตเู้ ยน็ สว่ นทเ่ี ปน็ นำ�้ มนั แขง็ ตวั จงึ นำ� เอานำ้� มนั สว่ น ทีแ่ ขง็ มาทิ้งไว้ภายนอกให้ละลายแล้วนำ� ไปกรอง 5. ภาชนะทุกอย่างท่ที ำ� ควรฆ่าเชอ้ื ด้วยนำ้� ร้อนก่อน หมายเหตุ : มะพร้าวขูด 2 กิโลกรัม จะได้น้�ำมันมะพร้าวประมาณ 200-300 ซซี .ี วธิ กี ารใช้นำ�้ มะพร้าว 1. เพอื่ ท�ำ Oil pulling เป็นการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพระบบคุ้มกัน (เม็ด เลอื ดขาว) ให้แขง็ แรงเนือ่ งจากน�้ำมนั มะพร้าวช่วยก�ำจดั เช้ือโรค รกั ษา โรคในช่องปาก กลิ่นปาก แผลในปาก เหงือกอักเสบ หินปูน ลดการ เสยี วฟนั และเลอื ดออกตามไรฟนั ตน่ื นอนก่อนการดม่ื นำ�้ และแปรงฟนั ให้อมน�้ำมันมะพร้าวประมาณ 1 ช้อนโต๊ะ กลัว้ ปากให้ทัว่ 15-20 นาที บ้วนท้ิงแล้วแปรงฟนั 2. เพือ่ ลดความอ้วน หลังจากทำ� Oil pulling ในตอนเช้าแล้วให้ดมื่ นำ้� อุ่น 1 แก้ว พร้อมน้ำ� มันมะพร้าว 1-2 ช้อนโต๊ะ ให้ทานก่อนอาหารทกุ ม้ือที่ต้องการจะช่วยท�ำให้ขับถ่ายดีข้ึน ท�ำให้เซลล์ไขมันเปล่ียนเป็น พลังงานและช่วยลดนำ้� หนัก ให้ทานน้ำ� มันมะพร้าว 1-2 ช้อนโต๊ะ (ผสม หรือตามด้วยน�้ำอุ่นจะช่วยขับถ่าย) ถ้าต้องการลดน�้ำหนักให้ทาน ก่อนอาหาร 20 นาที ใน 1 วนั ควรทานเฉล่ยี ในปริมาณ 3 ช้อนโต๊ะ ผู้เร่ิมต้นควรทานในปริมาณที่น้อยก่อนสามารถทานได้ทุกวัย ตั้งแต่ ทารก (1 ช้อนชาต่อวัน) จนถึงผู้สูงอายุ 38 ทางเลอื กอาชพี ด้านแปรรูปผลิตภณั ฑอ์ ่นื ๆ
3. ใช้ทาผิวและเส้นผม เพ่ือบ�ำรุงให้ชุ่มช่ืน ลดผลกระทบจาก รงั สี UV ลดรอยเห่ยี วย่น ฝ้า กระ ช่วยรักษาโรค หนงั แขง็ สะเก็ดเงิน ควบคมุ รงั แค และบำ� รงุ เสน้ ผม เปน็ ตน้ ใชท้ าผวิ หลงั อาบนำ�้ ชว่ ยบำ� รงุ ผวิ ไดด้ ี ใช้หมักผมประมาณ 30 นาที ก่อนการสระผมจะท�ำให้ผมมีสุขภาพดี ป้องกันรังแค ประโยชน์ของน�้ำมันมะพร้าวบรสิ ุทธิ์ 1. โลชนั่ ทาผิวหนงั ทามอื ทาแขนขา ปอ้ งกนั ผวิ แหง้ ผวิ แตก ในฤดหู นาว ใชท้ าผวิ เมอื่ เกดิ อาหารแพท้ ผ่ี วิ หนงั เชน่ โดดแดดเผา หรอื อากาศแหง้ นำ�้ มนั มะพรา้ ว จะซมึ ผา่ นผวิ หนงั อยา่ งรวดเรว็ ไมเ่ หนยี วเนอะหนะ ใช้ปรมิ าณไม่มาก แต่ยงั จะคงอยู่ได้นาน 2. น�้ำมันตวั พา ใช้เป็นน้�ำมันตัวพา (Carrier) ผสมกับ นำ้� มันหอมระเหย (Essential Oil) เปน็ ตวั ทนี่ �ำพา นำ�้ มนั หอมระเหยแทรกซมึ เข้าส่รู ่างกาย เพอ่ื ให้สมั ฤทธผ์ิ ลในการบำ� บดั เพราะน�้ำมันหอมระเหยมีความเข้มข้นสูง ดังนั้น เม่ือจะใช้กับผิวหนัง โดยตรงจึงต้องทำ� ให้เจอื จางด้วยการผสมกบั ตัวน�ำพาก่อน 3. รักษาโรคกระดกู ช�ำ้ บวม เคลด็ คัดยอก ใชใ้ นการรกั ษาความชำ�้ จากการถกู กระแทกจากของแขง็ การชำ�้ อักเสบท่ีเกิดจากหกล้ม กระดูกเคลื่อน กระดูกเดาะ กระดูกหัก คณุ สมบตั เิ ด่นของน้ำ� มนั มะพร้าว คือ สามารถซึมเข้าไปรักษาเน้ือเยื่อ ใต้ผิวหนังแก้อาการบอบช�้ำได้ดี แล้วยังซึมเขา้ ไปช่วยเช่ือมกระดูกให้ ประสานกันเช่นเดิม ทางเลอื กอาชีพด้านแปรรูปผลติ ภัณฑ์อื่นๆ 39
4. รักษาแผลไฟไหมน้ ำ�้ รอ้ นลวก ใช้น�ำ้ มนั มะพร้าวกบั น�ำ้ ด่างที่ทำ� จากนำ้� ปูนใสผสมกัน กวนหรือ เขย่าให้เข้ากนั กลายเป็นครีมขาว โดยน้�ำด่างจะรวมตวั กบั น�ำ้ มันได้ ซง่ึ น�้ำธรรมดาทำ� ไม่ได้ หรืออาจผสมตัวยาท่ีสำ� คัญ เช่น ชันตเุ คียน หรือ ชันสน ดินสอพองท่ีสะตุ พิมเสม บดเติมลงไป กวนให้เข้ากันเก็บไว้ใช้ ทาป้องกนั รักษาแผลไฟไหม้นำ�้ ร้อนลวกได้ดมี าก 5. นำ้� มันใส่ผม น้�ำมันมะพร้าวจะช่วยให้ผมดก เงางาม ไม่แตกปลาย โดยใช้ น�้ำมนั มะพร้าวผสมกบั ขผี้ งึ้ แท้ 6. สบกู่ อ้ น สบูเ่ หลว หากน�ำไปผสมกบั โซเดยี มไฮดรอกไซด์ (โซดาไฟ) จะได้สบู่ก้อน และหากน�ำไปผสมกบั โปตัสเซียมไฮดรอกไซด จะได้สบู่เหลว ทมี่ า : ศนู ย์กสกิ รรมธรรมชาติตุ้มโฮม จังหวดั นครพนม 40 ทางเลอื กอาชีพด้านแปรรูปผลิตภณั ฑ์อ่นื ๆ
Search
Read the Text Version
- 1 - 40
Pages: